แผนผังความคิดการบริหารสถานศึกษา

You might also like

You are on page 1of 11

บริหารสถานศึกษาแบบแผนผังความคิด (Mind Map and Management)

กระบวนการเรียนรูของมนุษยนั้นมีสมองเปนอุปกรณในการเรียนรู สมองมีทั้งซีกซายและขวา สมอง


ซีกซาย จะทําหนาที่ในการวิเคราะหคํา ภาษา สัญลักษณ ระบบ ลําดับ ความเปนเหตุผล ตรรกวิทยา สวน
สมองซีกขวาทําหนาที่ สังเคราะห คิดสรางสรรค จินตนาการ ความงามศิลปะ จังหวะ โดยมีแถบเสนประสาท
คอรปสคอโลซั่มเสมือนสะพานเชื่อม Tony Buzan (1960s ; อางถึงในทวีศักดิ์, 22-27)

ความหมายของแผนที่ความคิด แผนที่ความคิด (Mind Mapping) เปนการนําเอาเทคนิค


ประกอบการนําเสนอความรูในแบบรูปภาพ โดยแตละองคความรูจะเชื่อมโยงเปนเครือขาย โดยแตละ
เครือขายจะประกอบดวยจุดเชื่อมตอ (node) และเสนเชื่อมโยง (arcs/ edges) จุดเชื่อมตอแลวเสนเชื่อมเปน
ตัวแทนความสัมพันธขององคความรู กับแนวความคิด

ความเปนมาของ Mind Mapping โทนี่ บูซาน เปนชาวอังกฤษเปนผูริเริ่มพยายามนําเอาความรู


เรื่องสมองมาปรับใชกับการ เรียนรู โดยพัฒนาการจากการจดบันทึกเปนลายลักษณอักษรเปนบรรทัด ๆ
เปนแถว ๆ ใชปากกา หรือดินสอสีเดียวมาเปนการบันทึก ดวยคํา ภาพ สัญลักษณ แบบแผรัศมีออกรอบ ๆ
ศูนยกลาง เหมือนกับการแตกกิ่งไม โดยใชสีสัน ตอมาก็พบวาวิธีการที่เขาใชนั้น สามารถนําไปใชกับ
กิจกรรม อื่นในชีวิต สวนตัว และชีวิตการงานไดดวย เชน ใชในการวางแผน การตัดสินใจ การชวยจํา เปน
ตน ซึ่งโทนี่ ไดเขียนหนังสือ Use your Head (ใชหัวคิด) และ Get Ahead (ใชหัวลุย) รวมกับแวนดา นอรธ
(Vanda North) และนายธัญญา ผลอนันต ผูแปลเปน ฉบับภาษาไทย ซึ่งเปนผูที่นําแนวคิดนี้ เขามาเผยแพร
ในประเทศไทย ผูเขียนไดมีโอกาสไดศึกษาเรื่องนี้กับ คุณธัญญา ผลอนันต และ พบวาวิธีการของ Mind
Map นั้นสามารถนําไปใชไดทั้งชีวิตสวนตัว และการงานจริง และเห็นวาถา นําแนวคิดเทคนิค วิธีการนี้ขยาย
ผลทางการศึกษา นาจะเปนประโยชนอยางยิ่งกับผูที่มีหนาที่จัดการ เรียนรูเริ่มตั้งแตการจัดการเรียนรูการจัด
กิจกรรมตาง ๆ ในการเรียนรู สําหรับผูเรียนนั้นจะสามารถ พัฒนาทักษะในการเรียนรูในดานตางๆ ไดอยางมี
ประสิทธิภาพมากขึ้น (ทวีศักดิ :  23-27)
หลักการทําแผนที่ความคิด (Mind Map)
1. เริ่มดวยภาพสีตรงกลางกระดาษ ภาพ ๆ เดียวมีคามากกวาคําพันคํายังชวยใหเกิด ความคิด
สรางสรรค และเพิ่มความจํามากขึ้น
2. ใชภาพใหมากที่สุดใน Mind Map ของคุณตรงไหนที่ใชภาพไดใหใชกอนคําสําคัญ หรือ รหัส เปน
การชวยการทํางานของสมอง ดึงดูดสายตาและชวยจํา
3. การเขียนคําสําคัญบรรจงใหญ ๆ ถาเปนภาษาอังกฤษใหใชตัวพิมพใหญ เพื่อที่วายอนหลังมา
ยอนหลังมาอานใหมจะใหภาพที่ชัดเจน สะดุดตาอานงาย และกอผลกระทบตอความคิด มากกวา การใช
เวลาเพิ่มเล็กอีกเล็กนอยในการเขียนตัวใหญ อานงายชัดเจน จะชวยใหสามารถประหยัดเวลา เมื่อยอนกลับ
มาใหมอีกครั้ง
4. เขียนคําสําคัญเหนือเสนและเสนแตละเสนตอเชื่อมกับเสนอื่น ๆ เพื่อให Mind Map มี โครงสราง
พื้นฐานรองรับ
5. คําสําคัญควรมีลักษณะเปน “หนวย” โดยคําสําคัญ 1 คําตอหนึ่งเสน คําละเสนเพราะจะ ชวยให
แตละคําเชื่อมโยงกับคําอื่นๆ ไดอยางอิสระเปดทางให Mind Map คลองตัวและยืดหยุน มากขึ้น
6. ระบายสีใหทั่ว Mind Map เพราะสีชวยยกระดับความจําเพลนิ ตา กระตุน สมองซีกขวา
7. เพื่อใหเกิดความสรางสรรคใหม ๆ ควรปลอยใหหัวคิดมีอิสระมากที่สุดเทาที่จะเปน ไปได อยามัว
คิดวาลงตรงไหนดีหรือ วาจะใสหรือไมใสอะไรลงไปเพราะลวนแตจะทําใหงาน ลาชา

วิธีการเขียนแผนที่คามคิด (Mind Map)


จุดมุงหมายของการเขียนแผนที่ความคิด (Mind Map) ก็คือการบันทึกเรื่องราวหรือความ ทรงจํา
ตางๆ โดยใชคํากุญแจและใหเห็นในภาพรวมของเรื่องราวทั้งหมด การเขียนแผนที่ความคิด ควรเริ่มจากการ
นั่งทบทวนความรูเกาๆ สรางสมาธิ กําจัดความคิด ฟุงซาน และเตรียมพรอมดาน ความคิด โดยขั้นตอน
ตางๆ ของการเขียนแผนที่ความคิด อาจเริ่มดังนี้ (ธัญญา, 2541)
1. หา กระดาษเปลา (ไมมีเสน) ขนาด A4 ถาจะใหดีใชกระดาษวาดเขียน วางกระดาษตาม
แนวนอน
2. เริ่มตนที่กึ่งกลางหนากระดาษ
3. วาดภาพสีสดใสใหเปนตัวแทนของเรื่องที่คิดทํา Mind Map โดยใหเขียนเปนลักษณะ หนวย หรือ
เปนคําสําคัญ (key word) สั้น ๆ ที่มีความหมายชัดเจน บนเสนซึ่งเสนแตละเสนจะตอง แตกออกมาจาก
ศูนยกลาง เสนไมขาด สวนที่ออกจากศูนยกลางหนาแลวเรียวลง
4. จากหัวเรื่องสําคัญ ก็แตกออกเปนกิ่ง
5. เสริมความคิดระดับสองเขาไปในแตละกิ่ง
6. จากกิ่งก็แตกกานระดับสาม และใบระดับสี่ออกไปตามความคิดที่ไหลหลั่งออกมา

ภาพที่ 1 ภาพแผนที่ความคิด แสดงการแตกกิ่ง และ การเชื่อมโยงของความคิด

ขอเสนอแนะในการเขียนแผนที่ความคิด
1. การสรางภาพศูนยกลาง การทําภาพใหนาสนใจดังนี้
1.1 ภาพควรมีสีไมนอยกวา 3 สี
1.2 ขนาดของภาพไมควรมีขนาดใหญเกินไป ขนาดพอเหมาะประมาณ 2 ตารางนิ้ว
1.3 ภาพไมจําเปนตองมีภาพเดียว
1.4 ถาเปนภาพที่มีลักษณะเคลื่อนไหวก็จะดี
1.5 ไมควรใสกรอบภาพศูนยกลาง เพราะกรอบอาจเปนสิ่งที่สกัดกั้นการไหลของความคิด

2. การหาคําสําคัญ (key word) คําสําคัญควรมีลักษณะดังนี้


2.1 ควรเปนคําเดียว วลี หรือ ขอความสั้น ๆ
2.2ควรเปนคําที่สื่อความหมายไดดีแสดงถึงจุดเนนกระตุนความสนใจงายแกการจํา
3. การหาความคิดรองหรือการแตกกิ่ง ควรทําดังนี้
3.1 เปนคําสําคัญที่รองลงไป หรือ เปนสวนประกอบที่เกี่ยวของกับคําสําคัญ/ คํา กุญแจเพื่อเปนการลง
รายละเอียด
3.2 ควรเขียนบทเสนที่ตอออกไป แตเสนจะเรียวลงไปเรื่อย ๆ
3.3 ถาตองการเนนอาจทําใหเดน เชน การลอมกรอบ ใสกลอง หรือขีดเสนใต เปนตน
3.4 คํา/ ภาพ/ เสน บนสาขาเดียวกันควรใชสีเดียวกัน 3.5 การแตกกิ่งไมควรใหเอียงไปขางใดขางหนึ่งควร
แตกกิ่งเพื่อใหไดภาพ MindMap ที่สมดุล
3.6 การแตกกิ่งควรแตกทิศเฉียงมากกวาแตกบน-ลาง

จากการนําเสนอแผนที่ความคิดดังกลาวขางตน จะพบวา แผนที่ความคิดมีประโยชน มากมายทั้งใน


การการดําเนินชีวิต และการทํางาน ไมวาเปนเดก็ หรือ ผูใหญ ก็สามารถทําไดเชนกัน การมองเรื่องราวตาง
ๆ ในภาพรวมแลวแตกกิ่ง ออกเปนสวนยอย ๆ ตาง เปนการสงเสริมใหการ ดําเนินชีวิต หรือ การทํางานนั้น
กอประสิทธิภาพของการทํางานใหคิดไดอยางรอบคอบ

ดานการเรียนการสอนการทําใหผูเรียนไดเห็น ภาพรวมของรายวิชาในการเรียน และการ ใหอิสระ


กับผูเรียนในการสรางกระบวนการคิดอยางตอเนื่องเปนลําดับขั้นตอน เปนแนววิธีการ สอนที่เพิ่มศักยภาพ
ดานความคิด การสรางสรรคใหกับผูเรียนไดดีขึ้น ซึ่งสมควรอยางยิ่งที่ควรจะ นําไปประยุกตใชประโยชนใน
การจัดกิจกรรมการเรียนรูตอไป

แผนที่จิตทัศนนี้ไดรับการพัฒนาโดย โทนี บูซาน (Tony Buzan) ในป ค.ศ. 1970 ในหนังสือที่เขา


แตง ชื่อ The Mind Map Book ไดเขียนถึงวิธีการทําแผนที่จิตทัศน วาวิธีการทํางานคลายกับการทํางาน
ของสมอง ดังนั้นจึงสามารถชวยในการคิด การจํา การวางแผน การคิดสรางสรรค แผนที่จิตทัศนจะ ชวย
สนับสนุนเกี่ยวกับกระบวนการคิดในเรื่องยอยและรายละเอียดจะแตกสาขาออกมา(ธัญญา,2541)

ความสําคัญของการบริหารสถานศึกษาโดยใชแผนที่ความคิด (Mind Mapping)


แผนที่ความคิด หรือ แผนที่จิตทัศน (mind mapping) เปนเทคนิคสําคัญอยางหนึ่งในการ พัฒนา
ความคิดสรางสรรค (creative thinking) จะชวยใหคิดคลอง และคิดยืดหยุน (หลากหลาย)
สมองมนุษยมีความแตกตางจากเครื่องคอมพิวเตอร จะเปนแบบเชิงเสนตรงซึ่งจะตองอาศัยการทํางานอยาง
เปนลําดับ สวนสมองจะทํางานในลักษณะที่ซับซอนรวมกันระหวางการทํางานอยางเปนลําดับ การ
เปรียบเทียบ ผสมผสานและสังเคราะหทําใหเขาใจรายละเอียดไดงายขึ้น

ภาพที่ 2 ภาพแผนที่ความคิดแสดงกระบวนการคิดของสมอง วิธีการทําแผนที่จิตทัศนที่ดีควรใชสีแตกตาง


กัน อาจใสมิติลงไปในภาพ เชน เสนทึบสามมิติ ขนาดของอักษรที่แตกตางกัน พยายามเขียนเปนคําหลัก
(Key Word) สั้น ๆ ความคิด หลักมักจะอยูตรงกลาง เวนระยะ ใหเหมาะสม เทคนิค คือ
1. เนน
2. เชื่อม
3. ทําใหชัด
4. พัฒนาตามแนวทางของเรา (Style)
นอกจากนี้ ยังมีรายละเอียดปลีก ยอยอีกไดแกการเรียงลําดับชั้น เรียงเลข การใชลูกศรในการเชื่อม การ
เขียนภาษาอังกฤษพยายามใชตัวพิมพ ใชคําอธิบาย

ภาพที่ 3 ภาพแผนที่ความคิด แสดงการนําไปใชกับงานอื่นๆ

ลักษณะสําคัญของเทคโนโลยีการทําแผนที่ความคิด
การทําแผนที่ความคิดกําหนดใหเกี่ยวของกับสังคมวัฒนธรรมเชิงแอนาลอกและดิจิทัล
แลวเปนสิ่งสําคัญมากที่จะตอง กําหนดลักษณะสําคัญ ของระบบการทําแผนที่ความคิดอยางมี ประสิทธิผล
ของทั้งสองประเภทดังกลาว การอภิปรายตอไปนี้จะสรางรายการลักษณะดังกลาวซึ่ง มีวิวัฒนาการมาจาก
ผลงานของผูเขียนรวมกับศาสตราจารย Robert Wright สรุปไดวาลักษณะ สําคัญ 4 ประการ ในการ
ปรับเปลี่ยนเพื่อสรางสิ่งที่สามารถใช เพื่อวัดผลหรือประเมินในการ ปฏิบัติการไดของเครื่องมือ หรือระบบทํา
แผนที่ความคิดที่กําหนด ไดดังนี้

1. การสนับสนุนจุนเจือได (sustainable) การสรางสรรคเชนนี้วัดระดับระบบการทําแผน ที่ความคิด วาเปน


ดําเนิน การอยูในระดับใด ระบบการดําเนิน การตนเองเปนการสนับสนุนจุนเจือที่ กวางไกลมาก ระบบที่
ตองการ การตรวจสอบผลและควบคุมภายนอก
2. ความเปดเผย (open) การสรางสรรคเชนนี้วัดความชัดเจนแนนอนของระบบตอผูใชและยังเกี่ยวของกับ
ความลุมลึกของความรูที่บรรจุไว ดวยเหตุผลวาเปนไปไดมีความชัดเจนแนนอนระบบตามอุดมคติตอง
เปดเผยอยางสมบูรณ ภายในขอจํากัดของสิทธิสวนบุคคลจนถึงความเปนสวนตัวและความไววางใจได
3. การเขาถึงได  (accessible) การสรางสรรค เชนนี้วัดผลจากวิธีการและกระบวนการทําแผนที่ความคิดให
สะดวกตอการเชื่อมโยง เชื่อมประสานภาษาธรรมชาติ เกี่ยวของกับฮารดแวรที่ไมมีกรรมสิทธิ์ สามารถจัดหา
ได
4. มีความแกรง (robust) การสรางสรรคเชนนี้วัดผลการปรับใชของระบบในทุกประเด็น ระบบความแกรง
ตามอุดมคติควรทําใหผูใชตามความสามารถไมคํานึงถึงภูมิหลัง ความลําเอียงหรือแนวทัศนะเพื่อเขารวมใน
ระบบ ใหสอดคลองกับประสบการณของผูใชไดเทคโนโลยีไมควรเปนตัวถวงผูใชที่มี ความรูระดับพื้น ฐาน

ประโยชนของแผนที่ความคิด
1. สําหรับขอมูลที่ซับซอน หากเขียนดวย Mind Mapping นี้ จะชวยใหเกิด ความรวดเร็วมากกวาการเขียน
เปนคํา หรือ เปนประโยค
2. เนื่องจาก Mind Mapping เปนวิธีการคิด ที่ตองใชสมองทั้งสองขางซึ่งสมองซีกซายจําทําหนาที่ในการ
วิเคราะหคํา ภาษา สัญลักษณ ระบบ ลําดับ ความเปน เหตุผล ตรรกวิทยา สวนสมองซีกขวาจําทําหนาที่
สังเคราะห คือสรางสรรค จินตนาการ ความงาม ศิลปะ จังหวะ โดยมีแถบเสนประสาทคอรปสคอโลชั่มเปน
เสมือนสะพานเชื่อม
3. ชวยทําใหระลึกถึง ขาวสารที่เคยคิด วาดไวไดงาย เพราะแผนที่ขอมูลไดถูกบันทึกในความทรงจําอยางมี
โครงสรางและเปนระบบ
4. ชวยจัดการกับขาวสารตาง ๆ ในรูปแบบของโครงสรางความสัมพันธ
5. สมองดานขวาที่เกี่ยวของกับความคิดริเริ่มสรางสรรค หรือ แนวคิดใหม ๆ จะถูกพัฒนาและใชงานมากขึ้น
ภาวะผูนําและบทบาทการบริหารสถานศึกษาโดยใชแผนผังความคิด Mind Mapping มีความสําคัญ
ในดานการจัดกระบวนการเรียนรูแบบมีสวนรวม
ปจจุบันกระบวนการเรียนรูแบบมีสวนรวมกําลังไดรับความนิยม จากหนวยงานตางๆ โดยเฉพาะ
กระบวนการเรียนรูแบบมีสวนรวมเขาใชกันวา Participatory Learning Process - PLP มุมมองการ
ประยุกตใชเทคนิคการเขียนแผนที่ความคิด เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรูแบบมีสวนรวม แตกอนอื่นตองดู
กันกอนวา ขั้นตอนของการเรียนรูแบบมีสวนรวมมีกี่ขั้นตอน เพื่อจะไดเขาใจตรงกันและ สามารถปรับ
ประยุกตใช Mind Map ไดถูกกับแตละบริบทของขั้นตอนตางๆ
Mind Mapจะชวยใหการจัดหมวดหมูความคิด รวมทั้งการเชื่อมโยงประเด็นสําคัญๆ ซึ่งจะชวยให
การจัดกระบวนการเรียนรู แบบมีสวนรวมเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ บรรลุเปาหมายที่ตั้งไวได

ขั้นตอนการจัดกระบวนการเรียนรู
ขั้นตอนที่ 1 ประเมินปญหาความตองการของผูเขารวม (Need Assesment)
ขั้นตอนที่ 2 กําหนดวัตถุประสงค (Objectives define)
ขั้นตอนที่ 3 เลือกกําหนดเนื้อหาและจัดลําดับเนื้อหา (Content and Priority setting)
ขั้นตอนที่ 4 เลือกวิธีการในการจัดการเรียนรู (Technique selection)
ขั้นตอนที่ 5 จัดทําโครงการจัดการเรียนรู (Project setting)
ขั้นตอนที่ 6 การออกแบบจัดทําหลักสูตรกระบวนการจัดการเรียนรู (course outline for PLP)
ขั้นตอนที่ 7 จัดกระบวนการเรียนรู (PLP-conduct)
ขั้นตอนที่ 8-9 ประเมินผลและติดตามสนับสนุน (Evaluation and Monitoring)
จากขั้นตอนทั้ง 9 ขั้นตอน เพื่อใหเปนภาพรวมที่เขาใจกันงายขึ้นเราสามารถสรุปเปนแผนที่ความคิด
(Mind Map ) ที่สวยงาม ไดดังภาพ ซึ่งเปนการแตกแขนง และแยกรายละเอียดใหลึกมากขึ้น

การประยุกตใช Mind Map กับแตละขั้นตอนของ PLP (Apply Mind Map for each step of PLP)

ขั้นตอนที่ 1 ประเมินปญหาความตองการของผูเขารวม
ขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนแรกเริ่มที่สําคัญของการจัดกระบวนการเรียนรูแบบมีสวนรวม ขอมูลที่เราได
จากการประเมินปญหาความตองการของผูเขารวมจะเปนขอมูล สําคัญในการใชออกแบบกระบวนการที่
เขาถึงความสนใจ และลักษณะของการเรียนรูของผูเขารวม ในขั้นนี้เราจําเปนตองดําเนินการเพื่อใหไดขอมูล
พื้นฐาน (background) ของผูเขารวม ประสบการณการทํางาน ความสนใจ หรือปญหา และควรศึกษาถึง
ธรรมชาติ หรือลักษณะการเรียนรูของผูเขารวมเพื่อใชประกอบ การพิจารณาออกแบบกระบวน
การที่สอดคลองเหมาะสม
ขั้นตอนที่ 2 กําหนดวัตถุประสงค
ในการจัดการเรียนรูแตละครั้งไมสามารถแกปญหาหรือตอบสนองความตองการทุกอยางของ
ผูเขารวมได การกําหนดความชัดเจนของสิ่งที่ตองการใหเกิดขึ้น ในการจัดการเรียนรูแตละครั้งจึงเปน
สิ่งจําเปนที่จะชวยกําหนดขอบเขตของการเรียนรูครั้งนั้นๆ ใหสอดคลองกับปญหาความตองการในสวนที่ถูก
วิเคราะหรวมกัน วาเปนความจําเปนของการจัดการเรียนรูวาตองการใหเกิดอะไรบางในเวลาและเงื่อนไข
ตางๆ ที่มีอยู

ขั้นตอนที่ 3 เลือกกําหนดเนื้อหาและจัดลําดับเนื้อหา เนื้อหาของการจัดการเรียนรูจะเลือกและ


กําหนดขึ้นจากวัตถุประสงคของการเรียนรูครั้งนั้นๆ ในแตละวัตถุประสงคจะนํามาวิเคราะห กําหนดเนื้อหา
ของการเรียนรู และมักไดเนื้อหาหลายประเด็น ซึ่งควรมีการเลือกกําหนดเนื้อหาที่สําคัญและจัดเรียงลําดับ
ใหสอดคลองตอกลุมผูเขารวม ตามเวลาและเงื่อนไขตางๆ ที่มีอยู
ขั้นตอนที่ 4 เลือกวิธีการในการจัดการเรียนรู วิธีการจัดการเรียนรูเปนสิ่งสําคัญที่จะนําไปสูผล
การเรียนรูที่ดี โดยเฉพาะการเรียนรูแบบมีสวนรวม ที่เนนการเรียนรูจากประสบการณ มีความจําเปนอยาง
ยิ่ง ที่ผูจัดกระบวนการเรียนรูควรใหความสําคัญและพิจารณาเลือกวิธีการที่คํานึงถึงการมีสวนรวมและการได
ลงมือทําเองของผูเขารวมเปนสําคัญ
ขั้นตอนที่ 5 จัดทําโครงการจัดการเรียนรู หลังจากที่เราไดขอมูลตางๆ ตามขั้นตอนการวางแผน
ออกแบบกระบวนการทั้งหมดแลว ขั้นตอนของการเตรียมการที่สําคัญ คือ การจัดทําเปนโครงการจัดการ
เรียนรู โดยการนําเสนอขอมูลตางๆ มาเรียบเรียงเปนโครงการ ซึ่งควรประกอบดวยขอมูลที่ไดจากขั้นตอนที่
1-4 รวมทั้งแผนงานในชวงจัดกระบวนการและแผนการติดตาม สนับสนุน และประเมินผลหลังกระบวนการ
ตลอดจนรายละเอียด งบประมาณที่ตองใชในโครงการ
ขั้นตอนที่ 6 การออกแบบจัดทําหลักสูตรกระบวนการจัดการเรียนรู การออกแบบและจัดทํา
แผนหลักสูตรกระบวนการจัดการเรียนรู

(Session Design) เปนขั้นตอนสําคัญที่เปรียบเสมือนเข็มทิศและแผนที่การเดินทาง ที่จะพาการเรียนรู ครั้ง


นั้นใหเปนไปตามสิ่งที่ตั้งเปาหมายไวโดยการออกแบบรายละเอียดของกระบวนการ แตละเนื้อหา ใหเห็นถึง
ขั้นตอน วิธีการ เวลา เครื่องมือ สื่อตางๆ ตลอดจนการแบงบทบาท ของทีมงาน ซึ่งจําเปนตองใหผูเขารวม
ไดมีสวนรวม
ขั้นตอนที่ 7 จัดกระบวนการเรียนรู ในขั้นตอนนี้เปนชวงที่ตองดําเนินการจัดกระบวนการเรียนรู
ซึ่งเปนบทบาทสําคัญของทีมงาน ผูจัดกระบวนการเรียนรู ที่ตองทํางานเปนทีมและแบงบทบาทตางๆ ในการ
จัดการเรียนรู ทักษะและคุณลักษณะที่ดีของผูจัดกระบวนการเรียนรู ตลอดจนกิจกรรมที่สําคัญของ
กระบวนการ
ขั้นที่ 8-9 ประเมินและติดตามสนับสนุน ในการขัดการเรียนรูจะมีการประเมินผล กอน-ระหวาง-
สิ้นสุด และหลังกระบวนการผานไประยะหนึ่งที่กําหนดไว รวมทั้งเมื่อสิ้นสุดกระบวนการเรียนรูแลว ควรมี
การติดตามผล และการสนับสนุนใหผูเขารวมไดนําผลจากการเรียนรูไปใชอยางตอเนื่อง

โดยสรุปแลว การใช Mind Mapping คือ การถายทอดความคิด หรือขอมูลตาง ๆ ที่มีอยูใน


สมองลงกระดาษ โดยการใชภาพ สี เสน และการโยงใย แทนการจดยอแบบเดิมที่เปนบรรทัด ๆ
เรียงจากบนลงลาง ขณะเดียวกันมันก็ชวยเปนสื่อนําขอมูลจากภายนอก เชน หนังสือ คําบรรยาย
การประชุม สงเขาสมองใหเก็บรักษาไวไดดีกวาเดิม ซ้ํายังชวยใหเกิดความคิดสรางสรรคไดงายเขา
เนื่องจะเห็นเปนภาพรวม และเปดโอกาสใหสมองใหเชื่อมโยงตอขอมูลหรือความคิดตาง ๆ เขาหา
กันไดงายกวา “ใชแสดงการเชื่อมโยงขอมูลเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งระหวางความคิดหลัก
ความคิดรอง และความคิดยอยที่เกี่ยวของสัมพันธกัน ” โดยสามารถใชกับงานทุกดานไมวาจะเปน
ดานบริหาร วิชาการ งบประมาณ และบุคลากร

--------------------------------------------------------------------
อางอิง

th.wikipedia.org/wiki/ thaifreewaredownload.blogspot.com/.../mindmanager.html –
www.tlcthai.com/.../view_topic.php?...

You might also like