You are on page 1of 13

พิษภัยจากแบตเตอรี่

พิษภัยจากแบตเตอรี่

   แบตเตอรี่ เป็ นผลิตภัณฑ์ที่ใช้กนั อย่างกว้างขวางทั้งในวงการอุตสาหกรรมและในชีวิตประจำวันที่เห็นได้ชดั คือถ่านไฟฉาย         แบตเตอรี่ ที่


ใช้ในรถยนต์รวมทั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ในวงการวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม นอกจากนี้นบั ตั้งแต่วิทยุรับส่ งชนิดมือถือและโทรศัพท์มือถือได้เข้า
มามีบทบาทในชีวิตประจำวันและนิยมใช้กนั อย่างแพร่ หลาย ในแวดวงโทรคมนาคม

ประเภทของแบตเตอรี่
 

    1. ถ่านไฟฉายทัว่ ไป ถ่านประเภทนี้เป็ นถ่ายแบบเก่า ประเภทใช้แล้วทิ้ง ไม่สามารถอัดประจุใหม่ได้ มีส่วนประกอบที่สำคัญคือแมงกานีส


ออกไซด์รวมทั้งตัวกลางที่ช่วยทำให้เกิดปฏิกิริยาทางไฟฟ้ า-เคมีอื่น ๆ เช่น เกลือแอมโมเนีย ถ่านไฟฉายประเภทนี้นบั เป็ นอันตรายอย่างหนึ่งซึ่ ง
ไม่สามารถทิ้งรวมกับขยะทัว่ ไปอื่น ๆ ได้

    2. ถ่านอัลคาไลน์ ถ่านประเภทนี้ไม่สามารถนำกลับมาอัดไฟใช้ได้อีกแต่จำเป็ นต้องทิ้งไปเมื่อเสื่ อมหรื อหมดอายุ ขนาดที่ใช้โดยทัว่ ไปมี


ตั้งแต่ขนาด AAA, AA, A, C, D และ 9 โวลต์ ขึ้นอยูก่ บั อุปกรณ์ที่นำไปใช้ เช่น ของเด็กเล่น ไฟฉายหรื ออุปกรณ์ไฟฟ้ าที่ใช้ตามบ้าน
เรื อนโดยทัว่ ไป ปัจจุบนั จึงนิยมนำมาใช้แทนถ่านไฟฉายแบบเก่ามากขึ้น

    3. ถ่านกระดุม ถ่านประเภทนี้มกั ใช้ทวั่ ไปกับนาฬิกาข้อมือ เครื่ องคิดเลข เครื่ องช่วยฟัง กล้องถ่ายรู ปและเครื่ องใช้ไฟฟ้ าขนาดเล็กอื่น ๆ ส่ วน
ประกอบที่สำคัญของถ่านประเภทนี้คือ ปรอทซิ ลเวอร์ออกไซด์ แคดเมี่ยม หรื อลิเธียม การจำแนกชนิดจึงมักเรี ยกตามเซลล์ที่เป็ นส่ วนประกอบ
ซึ่ งดูได้จากหี บห่อที่บรรจุ เช่น ชนิดปรอท/สังกะสี ชนิดคาร์บอน/สังกะสี ชนิดซิ ลเวอร์ออกไซด์ และสังกะสี /อากาศ เป็ นต้น ถ่านประเภทนี้เมื่อ
หมดอายุตอ้ งแยกทิ้งหรื อรวบรวมขายคืนให้กบั บริ ษทั ผูผ้ ลิต โดยสามารถดูรายละเอียดได้จากหี บห่อที่บรรจุ

    4. แบตเตอรี่ ชนิดตะกัว่ -กรด เป็ นแบตเตอรี่ ซ่ ึ งใช้ในรถยนต์และรถมอเตอร์ไซด์ โดยมีปริ มาณตะกัว่ บรรจุไว้ตามกำหนด และมีกรดกำมะถัน
เป็ นตัวช่วยในการเกิดปฏิกิริยาไฟฟ้ าเคมี ส่ วนใหญ่แบตเตอรี่ ประเภทนี้สามารถนำมาอัดประจุไฟไหม้ได้ แต่เมื่อหมดอายุควรนำกากแบตเตอรี่ ที่
ใช้แล้วไปรี ไซเคิล

    5. แบตเตอรี่ ชนิดนิเกล-แคดเมียม เป็ นแบตเตอรี่ ที่นำมาอัดไฟใช้ใหม่ได้ซ้ำแล้วซ้ำอีก โดยมากใช้กบั วิทยุมือถือ โทรศัพท์มือถือ อุปกรณ์
ไฟฟ้ า และของเล่นเด็ก ถ่านประเภทนี้จะมีแคดเมียมและนิเกลเป็ นส่ วนประกอบที่สำคัญซึ่ งถือว่าเป็ นวัตถุอนั ตรายที่ตอ้ งกำจัดหรื อทิ้งอย่างถูกวิธี
โดยทัว่ ไปแล้วบริ ษทั ผูร้ ับซื้ อกลับคืนเพื่อนำไปกำจัดให้ถูกต้อง

 
พิษภัยและอันตรายจากแบตเตอรี่
 

    พิษภัยและอันตรายจากแบตเตอรี่ มาจากสารที่ใช้ในการทำแบตเตอรี่ ที่สำคัญคือสารตะกัว่ สารแมงกานีส สารแคดเมียม สารนิเกิล สารปรอท


และสารเคมีที่ใช้ในการทำปฏิกิริยา เช่น กรดซัลฟูริก เป็ นต้น สารพิษต่าง ๆ เหล่านี้หากไม่ได้รับการจัดการอย่างถูกวิธีโอกาสที่จะเกิดการปน
เปื้ อนต่อแหล่งน้ำ ผิวดิน พื้นดิน และบรรยากาศแล้วแพร่ ไปสู่ คน พืช และสัตว์กม็ ีสูง ลักษณะของผลกระทบที่เกิดขึ้นมีดงั นี้

    1. ทำให้เกิดการเจ็บป่ วยอย่างเฉี ยบพลัน หรื ออย่างเรื้ อรัง สื บเนื่องมาจากการสัมผัสกับสารพิษหรื อกากแบตเตอรี่ ใช้แล้วที่มีสารพิษเป็ นส่ วน
ประกอบอยู่ ซึ่ งมักพบในคนงานที่ประกอบการในโรงงานทำไฟฉายและแบตเตอรี่ หรื อคนงานเก็บขยะมูลฝอยและชาวบ้านที่มาขุดคุย้ ขยะ
โดยสารพิษเหล่านี้สามารถเข้าสู่ ร่างกายโดยการหายใจเอาฝุ่ นและไอระเหยเข้าไป และโดยการกินอาหารที่มีสารดังกล่าวปนเปื้ อน นอกจากนี้ยงั
คงดูดซึ มผ่านทางผิวหนังได้อีกด้วย

    2. ทำให้เกิดการปนเปื้ อนต่อดิน น้ำใต้ดิน และแหล่งน้ำผิวดินใกล้เคียงที่ใช้เป็ นแหล่งน้ำอุปโภคริ โภคในครัวเรื อน ส่ วนใหญ่มาจากการทิ้ง


แบตเตอรี่ ที่เหลือใช้แล้ว ทำให้สารพิษดังกล่าวปนเปื้ อนลงในดิน น้ำก็จะชะสารพิษที่ปนเปื้ อนแล้วซึ มผ่านชั้นดินและแหล่งน้ำส่ งผ่านต่อมายังพืช
และสิ่ งมีชีวิตอื่น ๆ ต่อไป

    3. ทำให้เกิดภาวะมลพิษทางอากาศจากการแพร่ กระจายของไอสารเคมี หรื อฝุ่ นละอองจากการเผาขยะมูลฝอยที่มีกากแบตเตอรี่ ทิ้งปะปนอยู่


มลพิษทางอากาศอาจถูกสู ดหายใจเข้าสู่ ร่างกายโดยเฉพาะคนงานที่เก็บขยะมูลฝอย ชาวบ้านที่มาขุดคุย้ แยกขยะมูลฝอยและประชาชนที่อาศัยอยู่
รอบ ๆ สถานที่กำจดขยะ

 
การป้องกันปัญหามลพิษจากแบตเตอรี่
 

1. สำหรับประชาชนทัว่ ไป

1. ไม่ควรนำกากแบตเตอรี่ ที่ใช้แล้วนำกลับมาใช้อีกโดยเด็ดขาด
2. ไม่ท้ิงกากแบตเตอรี่ รวมทั้งถ่านไฟฉายที่ใช้แล้วลงสู่ แหล่งน้ำ ท่อระบายน้ำ ฯลฯ
3. ห้ามนำกากแบตเตอรี่ รวมทั้งถ่านไฟฉายไปเผาโดยเด็ดขาด
4. หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับกากแบตเตอรี่ ที่ใช้แล้วโดยตรงรวมทั้งถ่านไฟฉายใช้แล้วที่แตกรั่ว ควรสวมถุงมือป้ องกัน
 

2. สำหรับผูป้ ระกอบการและคนงาน

1. คนงาน ควรสวมเครื่ องป้ องกันอันตรายส่ วนบุคคล เช่น หน้ากากกรองฝุ่ น ถุงมือ ในขณะปฏิบตั ิงาน
2. คนงาน ควรระมัดระวังในเรื่ องสุ ขอนามัย เช่น ไม่ควรรับประทานอาหาร ดื่มน้ำ สู บบุหรี่ ในบริ เวณและขณะทำงาน
3. ผูป้ ระกอบการต้องจัดให้มีระบบระบายอากาศและกำจัดมลพิษในบริ เวณที่ทำงาน
4. จัดให้มีบริ การตรวจสุ ขภาพคนงานเป็ นพิเศษโดยเฉพาะการตรวจเลือด และปั สสาวะเพื่อดูปริ มาณสารพิษเหล่านั้น
5. ห้ามนำกากแบตเตอรี่ ที่ใช้แล้วไปทิ้งในที่สาธารณะ ทางโรงงานจะต้องปฏิบตั ิตามประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม ฉบับ
ที่ 1 (พ.ศ.2531) เรื่ องกำหนดวิธีการเก็บทำลายฤทธิ์ กำจัด ฝัง ทิ้ง เคลื่อนย้าย และการขนสิ่ งปฏิกลู หรื อวัสดุที่ไม่ใช้
แล้ว เช่น การใช้ปูนขาวทำลายฤทธิ์และนำไปทิ้งในหลุมที่ปูดว้ ยวัสดุกนั ซึ ม หรื อบดอัดด้วยดินเหนียวตามมาตรฐานที่
กำหนด
 

    ซึ่ งถ้าท่านสงสัยหรื อเกิดการผิดปกติทางร่ างกายตามที่กล่าวมาโดยเฉพาะผูท้ ี่ประกอบการหรื อคนงานที่เกี่ยวข้องสามารถโทรปรึ กษาหรื อมา


ตรวจเลือดหาสารพิษเหล่านี้ได้ที่ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ ชลบุรี

พิษจากโลหะตะกัว่

 กุลธิดา ถาวรกิจการ
 กิจชัย ศิริวฒั น์
 
      ตะกัว่ เป็ นโลหะอ่อน สี เทาเงินหรื อแกมน้ำเงิน มีจุดหลอมเหลว 327 องศาเซลเซี ยส แต่ในการเชื่อมบัดกรี ใช้ผสมกับดีบุก ทำให้
จุดหลอมเหลวลดลงเหลือ 200 องศาเซลเซี ยส พบได้ทวั่ ไปทั้งในดิน หิ น น้ำ พืช และอากาศ โดยเฉลี่ยในหิ นจะมีตะกัว่ อยู่ 13 มิลลิกรัมต่อหิ น
1 กิโลกรัม (13 พีพีเอ็ม) เช่น ในหิ นอัคนีพบประมาณ 10 - 20 พีพีเอ็ม ในหิ นตะกอนพบประมาณ 10 - 70 พีพีเอ็ม แร่ ที่มีตะกัว่ ผสมอยู่
ได้แก่ แร่ กาลีนา (Galena, Pbs) แร่ เซอรัสไซท์ (Cerrussite, PbCO3) แร่ อะไนลีไซท์ (Anylesite, PbSO4) ในดินพบ
คล้ายในหิ น คือประมาณ 5 - 25 มิลลิกรัม ต่อดิน 1 กิโลกรัม (5-25 พีพีเอ็ม) ในน้ำ โดยเฉพาะน้ำบาดาล พบในอนุภาคขนาดเล็ก ประมาณ
1-60 พีพีเอ็ม ในทะเลสาบ และ แม่น้ำ พบประมาณ 1-10 พีพีเอ็ม แต่ในน้ำทะเลพบตะกัว่ น้อยกว่าน้ำจืด โดยพบ 0.08 - 0.04 พีพีเอ็ม
ในอากาศบริ เวณห่างไกลชุมชนพบประมาณ 0.0006 ไมโครกรัม ต่ออากาศ 1 ลูกบาศก์เมตร (ลบ.ม.)แต่บริ เวณชุมชนพบมากถึง 0.001
ไมโครกรัมต่ออากาศ 1 ลบ.ม. ในพืชโดยทัว่ ไปพืชขนาดใหญ่ พบประมาณ 1.0 พีพีเอ็ม (ของเนื้อไม้แห้ง) ในพืชผัก พบประมาณ 0.1 -
1.0 พีพีเอ็ม (ของพืชแห้ง)

ผลิตผลของตะกัว่
      ประเทศที่ผลิตตะกัว่ ที่สำคัญได้แก่ สหรัฐอเมริ กา รัสเซี ย ออสเตรเลีย แคนาดา ส่ วนในประเทศไทยพบได้เล็กน้อยบริ เวณจังหวัดกาญจนบุรี
ผลิตผลของตะกัว่ ใช้มากในประเทศอุตสาหกรรม เช่น เยอรมัน ฝรั่งเศส อังกฤษ สหรัฐอเมริ กา และญี่ปุ่น ใช้ในอุตสาหกรรมสี แบตเตอรี่ เป็ นต้น

พิษของตะกัว่
      ในบรรดาโลหะในโลก ตะกัว่ เป็ นโลหะที่มนุษย์สนใจ กับความเป็ นพิษของมันมากที่สุด เนื่องจากการใช้ประโยชน์อย่างมากมาย โดย
เฉพาะในอุตสาหกรรม แบตเตอรี่ รถยนต์ เรื อดำน้ำ ใช้ตะกัว่ เกือบร้อยละ 50 ของผลิตผลตะกัว่ ทั้งหมด และยังใช้ในรู ปตะกัว่ อินทรี ย ์ (Alkyl
lead) เป็ นสารเคมีที่ใช้ เติมในน้ำมันเบนซิ น เพื่อป้ องกันเครื่ องยนต์เดินสะดุด แต่ปัจจุบนั ได้หนั มาใช้สารชนิดอื่นทดแทน
      ในอุตสาหกรรมสี และสารเคมี ใช้สารประกอบตะกัว่ มาก เช่น สี แด ของตะกัว่ ออกไซด์ (Red lead) สี เหลือง จากตะกัว่ โครเมต
(Lead chromate) สี ขาว จากตะกัว่ คาร์บอเนต (Lead carbonate) และ ตะกัว่ ซัลเฟต (Lead sulfate) สารฆ่าแมลงจาก
ตะกัว่ อาร์เซนเนทใช้ผสมสี ทาอาคาร ซึ่ งสี ที่มีตะกัว่ เหล่านี้ อาจผสมในสี ของเล่นสำหรับเด็ก สี วาดภาพ สี ที่ใช้พิมพ์ในวารสาร หนังสื อพิมพ์ ซึ่ ง
เป็ นสี ซ่ ึ งต้องสัมผัสเสมอในชีวิตประจำวัน ทำให้บุคคลที่สมั ผัส มีโอกาสได้รับสารตะกัว่ เข้าสู่ ร่างกายได้สูง ประโยชน์ของตะกัว่ มีมาก แต่กม็ ี
โทษมากเช่นกัน
      นอกจากนี้ ยังมีการนำตะกัว่ ออกไซด์ าใช้เป็ นเครื่ องสำอางด้วย กองพิษวิทยา เคยตรวจพบแป้ งโรยตัวเด็ก เป็ นผงสี ขาว และ สี แดงอ่อน มี
ตะกัว่ ปนอยูร่ ้อยละ 74 ซึ่งอันตรายต่อเด็กมาก เนื่องจากผิวหนังเด็กดูดซึ มตะกัว่ ได้ดีกว่าผูใ้ หญ่

ตารางที่1 แสดงข้ อมูลแสดงอาชีพที่บุคคลมีโอกาสได้ รับตะกัว่ เข้ าสู่ ร่างกาย


อาชีพที่โอกาสได้รับตะกัว่ สูง อาชีพที่โอกาสได้รับตะกัว่ ปานกลาง
หลอมตะกัว่ เหมืองตะกัว่
หลอมโลหะที่ทาสี กนั สนิม ทำสายไฟ
ตัดโลหะจากเรื อเก่า ประกอบเครื่ องเสี ยงวิทยุโทรทัศน์
โรงงานแบตเตอรี่ โรงงานลูกปื น
โรงงานสี ที่มีตะกัว่ ผสมอยู่ ซ่อมเครื่ องยนต์
โรงงานสี ชนิดฉีดพ่น ประกอบรถยนต์
โรงงาน PVC Stabilizer ทำเครื่ องปั้ น เครื่ องแก้ว

      *โอกาสที่บุคคลทัว่ ไปได้รับสารตะกัว่ ที่เกิดจากท่อไอเสี ยรถยนต์ (Alkyl lead) แล้วยังได้รับจากอาหาร น้ำ และสิ่ งแวดล้อมอื่นๆ
ตะกัว่ เป็ นโลหะที่ไม่จำเป็ นในขบวนการดำรงชีวิตของมนุษย์อย่างโลหะอื่นๆ เช่น โซเดียม แคลเซี ยม หรื อ เหล็ก จึงมีการกำหนดมาตราฐาน เพื่อ
ป้ องกันสารตะกัว่ ปนเปื้ อนในอากาศ อาหาร และ น้ำ เพื่อความปลอดภัยขึ้นในหลายประเทศ รวมทั้งไทยด้วย
 
      สำหรับบุคคลทัว่ ไป ตะกัว่ เข้าสู่ ร่างกายได้ ทางปากโดยรับประทานอาหาร และ น้ำดื่มที่ปนเปื้ อนตะกัว่ ทางการหายใจ โดยเฉพาะจากไอ
เสี ยรถยนต์ ส่ วนการดูดซึ มทางผิวหนัง ส่ วนมากเกิดกับ บุคคลที่มีอาชีพ เกี่ยวข้องกับตะกัว่ เป็ นส่ วนใหญ่ โดยตะกัว่ อินทรี ย ์ ถูกดูดซึ มเข้าผิวหนัง
ได้ดี เคยมีการสำรวจดิน และฝุ่ นบริ เวณริ มถนน ที่เป็ นชุมชนหนาแน่น พบว่ามีปริ มาณตะกัว่ สู งถึง 7,500 พีพีเอ็ม ขณะที่ค่าเฉลี่ยของผิวดิน
โลกเพียง 5-25 พีพีเอ็ม

      2. พิษเรื้อรัง (Chronic toxicity or poisoning)


      พิษเรื้ อรังของตะกัว่ คือ ค่อยๆแสดงอาการออกมา ภายหลังจากได้รับสารตะกัว่ ทีละน้อย เข้าสู่ ของเหลว ในร่ างกาย และ ค่อยๆสะสม ใน
ร่ างกาย จนถึงระยะเวลาหนึ่ง อาจนานเป็ นปี จึงแสดงอาการ ส่ วนมาก เกิดกับบุคคลที่มีอาชีพที่สมั ผัสกับตะกัว่ ตะกัว่ เมื่อเข้าสู่ ร่างกาย ไม่วา่ ทาง
ใด จะถูกดูดซึ มเข้าสู่ ระบบไหลเวียนโลหิ ต ไปจับกับเม็ดเลือดแดง แทนที่เหล็ก (Fe+2) ซึ่งเป็ นโลหะที่จำเป็ น ในการสร้างเม็ดเลือดแดง ทำให้
เกิดอาการโลหิ ตจาง (Anaemia) และมีผลให้ ปริ มาณเหล็กในน้ำเหลือง เพิ่มขึ้นผิดปกติ ตะกัว่ บางส่ วน ไปสะสมในกระดูก ตะกัว่ (Pb+2)
จะเข้าไปแทนที่ แคลเซี ยม (Ca+2) ซึ่งเป็ นโลหะ ที่จำเป็ นในการสร้างกระดูก และฟัน ทำให้มีอาการปวดตามข้อ กระดูกผุ และหักง่าย ถ้าไป
สะสมที่รากฟัน ทำให้เห็นสี ม่วง หรื อสี ดำบริ เวณเหงือก บางครั้งเรี ยกว่า เส้นตะกัว่ (Lead line) ฟันหลุดได้ง่าย มีผวู้ ิจยั พบว่าตะกัว่
สามารถเกาะกับกระดูกในร่ างกาย ได้นานถึง 32 ปี และยังสะสมในไขมัน ระบบประสาท สมอง ระบบน้ำเหลือง ตับ และไต อาการพิษเรื้ อรังที่
พบบ่อย คือ อาการของระบบย่อยอาหาร จะเกิดการปวดท้อง น้ำหนักลด เบื่ออาหารคลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก อาการพิษทางประสาท และสมอง
ทำให้ทรงตัวไม่อยู่ เกิดอาการประสาทหลอน ซึ มไม่รู้สึกตัว ชัก มือและเท้าตก เป็ นอัมพาต สลบ และอาจตายได้

การตรวจหาปริมาณตะกัว่ ในร่ างกาย


      การตรวจหาปริ มารตะกัว่ ในร่ างกาย ทำได้โดยตรวจหา ระดับตะกัว่ ใน เลือด และปั สสาวะ หรื อ ตรวจปริ มาณ delta-ALA และ
Coproporphyrin ในปั สสาวะ โดยเทียบกับระดับมาตราฐานของบุคคลปกติ

การตรวจหาปริมาณตะกัว่ ในร่ างกาย


      การตรวจหาปริ มารตะกัว่ ในร่ างกาย ทำได้โดยตรวจหา ระดับตะกัว่ ใน เลือด และปั สสาวะ หรื อ ตรวจปริ มาณ delta-ALA และ
Coproporphyrin ในปั สสาวะ โดยเทียบกับระดับมาตราฐานของบุคคลปกติ

ตารางที่2 แสดงระดับปกติและระดับที่เป็ นพิษของตะกัว่ ในเลือด และปัสสาวะ


ระดับเริ่ มเป็ นพิษ (ยังไม่แสดงอาการทางค ระดับแสดงอาการพิษ (แสดงอาการทางค
ระดับตะกัว่ ระดับปกติ
ลินิค) ลินิค)
ระดับตะกัว่ ในเลือด (หน่วย µg/100 ml) 10-20 40 70
ระดับตะกัว่ ในปัสสาวะ (หน่วย µg/ลิตร) 10-70 100 200-400
coproporphyrin (หน่วย /µg) 80 /ปริ มาณปัสสาวะ 1 200 /ปัสสาวะ 1 ลิตร 600 /ปัสสาวะ 1 ลิตร
วัน
delta-ALA (หน่วย mg/ปริ มาณปัสสาวะ 1 2-3 5-10 10-20
วัน)
 
การรักษา
      อาการพิษเฉี ยบพลัน จากสารตะกัว่ ส่ วนมากเกิดจากการรับประทาน ฉะนั้นแพทย์จะต้องล้างท้อง โดยใช้สารละลาย 3 เปอร์เซ็นต์โซเดียม
หรื อ แมกนีเซี ยมซัลเฟต และหรื อให้ผงถ่าน (Activated charcoal) เพื่อป้ องกันการดูดซึ ม แล้วรักษาตามอาการ อาการพิษเรื้ อรัง อาการ
เริ่ มแรกของพิษตะกัว่ สังเกตค่อนข้างยาก เช่น อาการปวดหัว กระสับกระส่ าย ซึ่งมีหลายสาเหตุ จึงมักใช้ผลวิเคราะห์ทางเคมีในเลือด และ
ปั สสาวะ เป็ นข้อบ่งชี้ ร่ วมกับสังเกตอาการทางคลินิค การรักษาทั้งในเด็กและผูใ้ หญ่ แพทย์ใช้หลักการเดียวกันคือพยายามเร่ งการขับตะกัว่ ออก
จากร่ างกาย โดยการให้สารเคมีเกาะ แล้วดึงตะกัว่ ออกจากร่ างกายทางปั สสาวะ (Chelating agent) ส่ วนมากใช้แคลเซี ยมโซเดียม เอดีเตด
(CaNa2 EDETATE) ฉี ดเข้าเส้นเลือดดำ 1 - 2 กรัม ต่อวัน

ที่มา : ความรู้เกี่ยวกับสิ่ งเป็ นพิษ ตอนที่ 5 พ.ศ.2532 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข หน้าที่1-8.


โรคพิษตะกว่ ั (Lead Poisoning) โดย นายแพทย์ณรงค์ [ดูภาพทัง้ หมดในเรือ
่ งนี้]
ั ์ อ ังคะสุวพลา และคนอืน
ศกดิ ่ ๆ
          ปัจจุบนั ประเทศไทยมีการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจและสังคมอย่างมากและรวดเร็ ว โดยเฉพาะมีอุตสาหกรรม
ใหม่ๆ และมีการใช้เทคโนโลยีที่ทนั สมัยมากมาย ผลจากการพัฒนานี้ทำให้มีการปนเปื้ อนและสะสมของสารพิษ ทั้งใน
สิ่ งแวดล้อมและในสิ่ งมีชีวิต
          ตะกัว่ เป็ นโลหะหนักที่ผลิตและใช้มาตั้งแต่๖,๐๐๐ ปี ก่อน ในแถบ Asia Minor และพิษจากสารตะกัว่
เป็ นที่รู้จกั กันมานานในหมู่ชาวกรี กและโรมัน ฮิปโปคราเตส (Hippocrates, ๓๗๐ ปี ก่อนคริ สตกาล) ได้บรรยาย
ถึงอาการปวดท้องอย่างรุ นแรงในคนงานสกัดโลหะตะกัว่ ซึ่งเป็ นอาการปวดเกร็ งของพิษตะกัว่ สำหรับประเทศไทยมี
รายงานอุบตั ิการณ์ของโรคพิษตะกัว่ ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๕ และมีรายงานผูป้ ่ วยโรคพิษตะกัว่ มาตลอด โดยมีแนว
โน้มจำนวนเพิ่มขึ้น

ห ัวข้อ

 คุณสมบัตโิ ดยทั่วไปของสารตะกัว่
 การใชตะกั ้ ว่ ในวงการอุตสาหกรรม
 การดูดซม ึ ของตะกัว่ เข ้าสูร่ า่ งกาย
 การกระจายของตะกัว่ ในร่างกาย
 การสะสมของตะกัว่ ในร่างกาย
 การขับถ่ายตะกัว่ ออกจากร่างกาย
 กลุม ี่ งต่อการเกิดโรคพิษตะกัว่
่ ผู ้เสย
 พิษของตะกัว่ ต่อร่างกาย
 อาการโรคพิษตะกัว่

คุณสมบ ัติโดยทวไปของสารตะก
่ั ว่ ั
          ตะกัว่ เป็ นโลหะหนัก มีเลขอะตอมิก ๘๒โดยเป็ นธาตุที่ ๕ ของหมู่ ๔ A ในตารางธาตุ น้ำหนัก
อะตอมเท่ากับ ๒๐๗.๑๙ จุดหลอมเหลว๓๒๗.๕ องศาเซลเซี ยส จุดเดือด ๑,๗๔๐ องศาเซลเซียส
ความถ่วงจำเพาะ ๑๑.๓๔ วาเลนซี (Valency) ๐, +๒ และ +๔ ตะกัว่ ในธรรมชาติอยูใ่ นรู ปของแร่
กาลีนา คีรูไซต์ และแอนกลีไซต์
          ตะกัว่ บริ สุทธิ์ มีลกั ษณะเป็ นของแข็ง สี เทาปนขาว สามารถแปรรู ปได้โดยการทุบ รี ด หล่อหลอม
ได้ง่าย สามารถผสมเข้ากับโลหะต่างๆ ได้ดี รวมทั้งการทำปฏิกิริยาเกิดเป็ นเกลือของตะกัว่ ต่างๆ
ล ักษณะสารตะกว่ ั ทีไ่ ด้จากโรงหลอม
ตะกว่ ั

[กลับหัวข ้อหลัก]
ดูภาพทัง้ หมดในเรือ
[ ่ งนี้]
้ ะกว่ ั ในวงการอุตสาหกรรม
การใชต
          แบ่งเป็ น ๒ ประเภท คือ
          ๑. สารประกอบอนินทรีย์ตะกัว ่ เช่น
                    ๑.๑ โลหะตะกัว่ ใช้ผสมในแท่งโลหะผสมหรื อผงเชื่อมบัดกรี โลหะนำมาทำเป็ นแผ่น
หรื อท่อโลหะใช้ในอุตสาหกรรมเคมีเพื่อป้ องกันการกัดกร่ อน  แผ่นกรองในอุตสาหกรรมรถยนต์ ทำลูกปื น
ฉากกั้นสารกัมมันตรังสี
                    ๑.๒ ออกไซด์ของตะกัว่ ได้แก่
่ มบ ัดกรีโลหะ
การใช้ตะกว่ ั ในงานเชือ
                    - ตะกัว่ มอนอกไซด์ (Lead monoxide)ใช้ในอุตสาหกรรมสี โดยใช้เป็ นสารสี
เหลืองผสมสี ทาบ้าน
                    - ตะกัว่ ไดออกไซด์ (Lead dioxide) ใช้ทำเป็ นขั้วอิเล็กโทรดของแบตเตอรี่
รถยนต์ และเครื่ องจักร
                    - ตะกัว่ ออกไซด์ หรื อตะกัว่ แดง (Leadred oxide) ใช้ในอุตสาหกรรม
แบตเตอรี่ สี ทาโลหะเพื่อกันสนิม เครื่ องแก้ว ยาง และเครื่ องเคลือบ
                    ๑.๓ สารประกอบของเกลือตะกัว่ คุณสมบัติมีสีต่างๆ กัน จึงนิยมใช้เป็ นแม่สี หรื อสี
ผสมในอุตสาหกรรมสี เช่น
                    - ตะกัว่ เหลือง (Lead cromate) ตะกัว่ ขาว(Lead carbonate)
                    - ตะกัว่ ซัลเฟต (Lead sulfate) ใช้ในอุตสาหกรรมสี และหมึกพิมพ์
                    - ตะกัว่ แอซิ เตต (Lead acetate) ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่ องสำอาง ครี มใส่ ผม
                    - ตะกัว่ ซิลิเกต (Lead silicate) ใช้ในอุตสาหกรรมกระเบื้ อง  และเครื่ อง
เคลือบเซรามิกเพื่อให้ผลิตภัณฑ์มีผิวเรี ยบ เงางาม ่ ัมผ ัสก ับหมึกพิมพ์
ล ักษณะงานทีส
                    - ตะกัว่ ไนเทรต (Lead nitrate) ใช้ในอุตสาหกรรมพลาสติก  และยาง
                    - ตะกัว่ อาร์ ซิเนต (Lead arsenate) ใช้ในอุตสาหกรรมผลิตสารป้ องกันและ
กำจัดศัตรู พืช [ดูภาพทัง้ หมดในเรือ
่ งนี้]
          ๒. สารประกอบอินทรีย์ของตะกัว ่ ได้แก่
                    - เททระเอทิลเบด (Tetraethyl lead) และเททระเมทิลเลด
(Tetramethyl lead) โดยใช้เป็ น"สารกันน็อก" หรื อสารป้ องกันการกระตุกของเครื่ องยนต์เวลา
ทำงาน โดยใช้ผสมในน้ำมันเบนซินเพื่อให้เชื้ อเพลิงมีค่าออกเทนสู งขึ้น สารนี้มีสีแดงดังนั้นน้ำมันชนิดพิเศษ
ทั้งหลายจึงมีสีแดง สารประกอบอินทรี ยข์ องตะกัว่ ค่อนข้างจะเป็ นพิษมากกว่าตะกัว่ อนินทรี ย ์ เนื่องจาก
สามารถแพร่ กระจายในอากาศได้ดี สำหรับตะกัว่ ที่ออกมาจากท่อไอเสี ยรถยนต์จะอยูใ่ นรู ปของตะกัว่
ออกไซด์ชนิดต่างๆ ซึ่งจะเป็ นตะกัว่ อนินทรี ย ์ ปั จจุบนั ไม่ใช้ผสมในน้ำมันเบนซิ นแล้ว

[กลับหัวข ้อหลัก]
ึ ของตะกว่ ั เข้าสูร
การดูดซม ่ า
่ งกาย
         ตะกัว่ สามารถเข้าสู่ ร่างกายได้ ๓ ทาง คือ
         ๑. การดูดซึมจากระบบทางเดินอาหาร แหล่งสำคัญ คือ การปนเปื้ อนของตะกัว่
ในอาหาร น้ำ เครื่ องดื่ม ยาสมุนไพรแผนโบราณและภาชนะเครื่ องใช้ที่มีตะกัว่ ปนเปื้ อน พบว่าร้อยละ
๗๐-๘๕ ของตะกัว่ ที่เข้าสู่ ร่างกายคนปกติได้จากอาหาร  โดยเฉลี่ยผูใ้ หญ่สามารถดูดซึ มตะกัว่ จากอาหารได้
ประมาณร้อยละ ๑๐ ของปริ มาณตะกัว่ ในอาหารและเด็กสามารถดูดซึ มได้มากถึงร้อยละ ๔๐-๕๐ ของ
ปริ มาณตะกัว่ ในอาหารตะกัว่ ที่เข้าไปกับอาหารจะดูดซึ มเข้าสู่ กระแสเลือดที่ลำไส้เล็กส่วนต้น จากลำไส้เล็ก
จะเข้าสู่ ตบั โดยผ่านทางเส้นเลือดดำใหญ่เข้าสู่กระแสเลือดการดูดซึ มตะกัว่ ในทางเดินอาหารนั้นขึ้นอยูก่ บั
ต ัวอย่างการเพิม ่ โอกาสการร ับสาร
ปัจจัยหลายอย่าง เช่น อายุ และภาวะโภชนาการโดยในภาวะที่ทอ้ งว่างหรื อได้รับอาหารที่ขาดธาตุแคลเซี ยม ตะกว่ ั เข้าสูร่ า่ งกาย
เหล็ก และทองแดง  หรื อมีสารฟอสเฟตต่ำจะทำให้ตะกัว่ ถูกดูดซึ มเข้าสู่ ร่างกายได้ดีข้ ึน
         ๒. การดูดซึมจากระบบทางเดินหายใจ การหายใจเอาควัน หรื อฟูมของตะกัว่
ที่หลอมเหลวเข้าไป เช่น จากการหลอมตะกัว่ หรื อเชื่อมโลหะ ซึ่งเป็ นทางเข้าสู่ ร่างกายอันดับแรกของผู ้
ประกอบอาชีพที่สัมผัสตะกัว่ เช่น คนงานในโรงงานหลอมตะกัว่ แบตเตอรี่   โรงงานผลิตสี ฯลฯ ตะกัว่
สามารถดูดซึมผ่านถุงลมปอดเข้าสู่ กระแสเลือดได้  โดยการดูดซึ มจะเร็ วมาก แต่ถา้ หายใจเอาอนุภาคของ
ตะกัว่ ที่มีขนาดเล็กกว่า ๐.๗๕ไมครอน เข้าไป เช่น จากสี เก่าที่หลุดออกมา การดูดซึ มเข้าสู่ ร่างกายจะช้ากว่า
โดยทัว่ ไปร้อยละ๓๕-๕๐ ของตะกัว่ จะดูดซึมเข้าสู่ กระแสเลือดโดยวิธี ฟาโกไซโตซิ ส
(Phagocytosis : คือ กระบวนการทำลายสิ่ งแปลกปลอมโดยเม็ดเลือดขาว) อาการที่เกิดขึ้นมักจะ
รวดเร็ วและรุ นแรง การหายใจเอาอากาศที่มีไอหรื ออนุภาคตะกัว่ ปริ มาณ ๑ ไมครอนต่อลูกบาศก์เมตรของ
อากาศ  จะเพิ่มปริ มาณตะกัว่ ในเลือดได้ ๑-๒ มิลลิกรัมต่อปริ มาณเลือด ๑๐๐มิลลิเมตร ได้มีการกำหนด
ความเข้มของตะกัว่ ที่ให้มีได้ในอากาศโดยไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อร่ างกาย คือ ในบริ เวณทำงานไม่ควรเกิน
๐.๒มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตรของอากาศ สำหรับผูท้ ี่ทำงาน ๘ ชัว่ โมงต่อวัน หรื อ ๔๐-๔๒ ชัว่ โมงต่อ คนงานทีทำ
่ งานอยูใ่ นโรงงานผลิต
สัปดาห์  นอกจากนี้ก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ปริ มาณสู งๆ ในอากาศ จะช่วยให้การดูดซึ มของตะกัว่ ในปอด แบตเตอรีก ่ งต่อการได้ร ับพิษตะกว่ ั
่ ็เสีย
เข้าสู่ ร่างกายเพิ่มขึ้น
         ๓. การดูดซึมทางผิวหนัง เกิดเฉพาะตะกัว่ อินทรี ยเ์ ท่านั้น ผูท้ ี่มีโอกาสได้รับตะกัว่
ทางผิวหนัง ได้แก่ คนงานที่ทำงานในปั๊ มน้ำมัน ช่างซ่อมเครื่ องยนต์ เนื่องจากในอุตสาหกรรมน้ำมันมีการ [ดูภาพทัง้ หมดในเรือ
่ งนี้]
เติม เททระเอทิลเบด(Tetraethyl lead) หรื อเททระเมททิลเลด(Tetramethyl lead)
ผสมในน้ำมันเบนซิ น ดังนั้นเมื่อคนงานถูกน้ำมันหกรดผิวหนัง หรื อใช้น ้ำมันเบนซินล้างมือ เททระเอทิล
สามารถละลายชั้นไขมันของผิวหนังได้ ตะกัว่ จึงสามารถซึมผ่านผิวหนังและเข้าสู่ ระบบไหลเวียนเลือดของ
ร่ างกายไปสู่ ตบั และจะเปลี่ยนเป็ นไทรเอทิลเลด (Triethyllead) ได้ชา้ มาก โดยมีค่าครึ่ งชีวิตเท่ากับ
๒๐๐-๓๕๐วัน ตะกัว่ จึงสามารถสะสมอยูใ่ นร่ างกายได้เป็ นเวลานาน

[กลับหัวข ้อหลัก]
การกระจายของตะกว่ ั ในร่างกาย ดูภาพทัง้ หมดในเรือ
[ ่ งนี้]
          หลังจากตะกัว่ ดูดซึ มจากลำไส้แล้ว ตะกัว่ จะเข้าสู่ ตบั โดยผ่านทางเส้นเลือดดำ บางส่ วนจะถูกขับออกทางน้ำดี
และอุจจาระ ถ้าหากตะกัว่ เข้าไปในปอดจะเข้าสู่กระแสเลือดโดยตรงได้เลยกระแสเลือดจะพาตะกัว่ ไปทัว่ ร่ างกาย โดยใช้
เวลาประมาณ ๑๔ วินาที ตะกัว่ ที่ถกู ดูดซึ มเข้าสู่ ร่างกายระยะแรกจะอยูใ่ นสภาวะเลดไดฟอสเฟต
(leaddiphosphate) ซึ่งจะกระจายไปอยูท่ ี่เส้นผมและตามเนื้ อเยือ่ อ่อน (Soft tissue) เช่น สมอง ปอด
ม้าม ตับ และไต จากนั้นบางส่ วนจะถูกส่ งไปสะสมที่กระดูกยาวในสภาวะเลดไทรฟอสเฟตโดยร้อยละ ๓๐ ของตะกัว่ ใน
ร่ างกายจะเก็บไว้ที่เนื้อเยือ่ อ่อน และร้อยละ ๗๐ จะเก็บไว้ที่กระดูกยาวระดับตะกัว่ ในกระดูกค่อนข้างคงที่ แต่ปัจจัยสำคัญ
ที่ทำให้ตะกัว่ ถูกปล่อยออกจากกระดูก คือสภาวะที่ร่างกายมีภาวะเครี ยดเกิดขึ้นเช่น มีไข้ภาวะความเป็ นกรด-ด่าง ของ
ร่ างกายผิดปกติการลดระดับแคลเซี ยมในร่ างกาย หรื อลดระดับแคลเซียมในเลือด ตะกัว่ จะกลับออกจากกระดูกเข้าสู่
กระแสเลือด และไปอยูท่ ี่เนื้อเยือ่ อ่อนดังกล่าวมากขึ้น ทำให้ผปู ้ ่ วยซึ่งเดิมไม่มีอาการจะเกิดอาการโรคพิษตะกัว่ เฉี ยบพลัน
ได้

[กลับหัวข ้อหลัก]
การสะสมของตะกว่ ั ในร่างกาย ดูภาพทัง้ หมดในเรือ
[ ่ งนี้]
          ๑. ในกระแสเลือด โดยกว่าร้อยละ ๙๐ จะรวมตัวกับเม็ดเลือดแดง และส่ วนที่เหลือจะอยูใ่ นน้ำเลือด ค่าครึ่ ง
ชีวิตของตะกัว่ ในเลือดประมาณ๒-๔ สัปดาห์
          ๒. ในเนื้อเยือ่ อ่อน ที่สำคัญ คือ ตับ และไตมีค่าครึ่ งชีวิตประมาณ ๔ สัปดาห์
          ๓. ในกระดูก โดยร้อยละ ๙๐ ของตะกัว่ ที่สะสมอยูใ่ นร่ างกายจะอยูใ่ นกระดูก ซึ่ งอยูค่ ่อนข้างมีเสถียรภาพ
และมีค่าครึ่ งชีวิตประมาณ ๑๖-๒๐ปี ยกเว้นในเด็ก ซึ่งประมาณร้อยละ ๗๐ เท่านั้นที่สะสมอยูใ่ นกระดูก
[กลับหัวข ้อหลัก]
การข ับถ่ายตะกว่ ั ออกจากร่างกาย ดูภาพทัง้ หมดในเรือ
[ ่ งนี้]
          ร่ างกายคนเราสามารถขับตะกัว่ ออกได้เต็มที่ประมาณ๒ มิลลิกรัมต่อวัน โดยขับออกทางปั สสาวะร้อยละ 
๗๕-๘๐ โดยผ่านกระบวนการกรองของไตนอกจากนี้ถกู ขับออกทางเหงื่อ น้ำดี น้ำนม และขับออกทางอุจจาระ ประมาณ
ร้อยละ ๑๕
[กลับหัวข ้อหลัก]
กลุม ี่ งต่อการเกิดโรคพิษตะกว่ ั
่ ผูเ้ สย
          กลุ่มผูเ้ สี่ ยงต่อการเกิดโรคพิษตะกัว่ ได้แก่ 

          ๑. คนงานที่ประกอบอาชีพสั มผัสสารตะกัว ่ ได้แก่


          ๑. คนงานทำเหมืองตะกัว่
          ๒. คนงานโรงงานถลุงแร่ ตะกัว่
          ๓. คนงานโรงงานอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่ วนอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์
          ๔. คนงานโรงงานผลิตแบตเตอรี่
          ๕. คนงานโรงงานผลิตสี
          ๖. คนงานโรงงานชุบโลหะ
          ๗. คนงานโรงงานทำเครื่ องปั้ นดินเผา/เซรามิก
          ๘. คนงานโรงงานทำเครื่ องประดับโลหะ ่ งต่อการได้ร ับพิษ
อาชีพซ่อมรถยนต์ก็เสีย
          ๙. คนงานโรงงานทำลูกปื น ตะกว่ ั
          ๑๐. คนงานบัดกรี ตะกัว่
          ๑๑. คนงานเรี ยงพิมพ์ และหล่อตัวพิมพ์
          ๑๒. คนงานโรงงานผลิตและบรรจุสารกำจัดศัตรู พืช
          ๑๓. คนงานทา หรื อพ่นสี กนั สนิม และสี ทาบ้าน
          ๑๔. คนงานโรงงานผลิตแก้ว
          ๑๕. คนงานที่ทำงานเกี่ยวข้องกับน้ำมันเบนซิ นที่ผสมสารตะกัว่ (ตะกัว่ อินทรี ย)์ เช่น
เด็กสถานีบริ การน้ำมัน ช่างซ่อมเครื่ องยนต์
          ๑๖. อาชีพอื่นๆ เช่น ตำรวจจราจร ฯลฯ
  
          ๒. บุคคลทั่วไป ได้แก่บุคคลที่อาศัยอยูใ่ กล้บริ เวณโรงงานหลอมตะกัว่ หรื อใกล้
โรงงานที่มีการใช้สารตะกัว่ บุคคลที่อาศัยอยูใ่ นบริ เวณที่มีการจราจรหนาแน่น หรื ออยูใ่ กล้ถนน 
และผูใ้ ช้รถใช้ถนนที่ตอ้ งติดอยูใ่ นการจราจรที่แน่นขนัด เขตทีม
่ ก
ี ารจราจรหนาแน่นม ักมีปญ
ั หา
มลพิษทางสิง่ แวดล้อม
          ๓. เด็ก เนื่องจากพฤติกรรมของเด็กที่ชอบหยิบสิ่ งของใส่ ปาก ซึ่ งบางครั้งของที่
หยิบใส่ ปากนั้นมีสารตะกัว่ ปนเปื้ อนอยู่ เช่น ของเล่นที่มีคุณภาพต่ำจะมีสารตะกัว่ ปนเปื้ อน
[ดูภาพทัง้ หมดในเรือ
่ งนี้]
          ๔. บุคคลในครอบครัวของคนงานที่ประกอบอาชีพสั มผัส
ตะกัว่ เนื่องจากฝุ่ นตะกัว่ สามารถติดอยูต่ ามเสื้ อผ้าผิวหนัง และผมของคนงาน  ทำให้ตะกัว่
สามารถติดจากที่ทำงานไปสู่บา้ นได้

          ๕. ทารกและเด็กที่ดม ื่ นมแม่ เนื่องจากในหญิงมีครรภ์ ตะกัว่ สามารถซึม


ผ่านรกไปสู ทารกในครรภ์ได้  โดยระดับตะกัว่ ในสายสะดือมีค่าเท่ากับระดับตะกัว่ ในเลือดของ

มารดาและหญิงให้นมบุตรที่มีระดับตะกัว่ ในร่ างกายสู งตะกัว่ สามารถผ่านทางน้ำนมสู่ ทารกที่ดื่ม
นมแม่ได้
[กลับหัวข ้อหลัก]
พิษของตะกว่ ั ต่อร่างกาย

พิษตะกัว่ ในผู้ใหญ่
          เมื่อตะกัว่ เข้าสู่ ร่างกายโดยวิธีใดก็ตามหากมีการสะสมจนถึงระดับอันตรายก็จะแสดงอาการให้เห็น
ดังนี้
          ๑. อาการทางระบบทางเดินอาการ พบได้บอ่ ยในผูใ้ หญ่ โดยเริ่ มจากมีอาการเบื่อ
อาหารคลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก บางรายมีอาการท้องเสี ยอาการที่สำคัญคือ ปวดท้องอย่างรุ นแรงมาก ที่เรี ยกว่า
"โคลิก" เป็ นเหตุให้ผปู ้ ่ วยมาโรงพยาบาลผูป้ ่ วยอาจปวดท้องจนดิ้นตัวงอ อาการปวดท้องนี้อาจทำให้แพทย์ ต ัวอย่างผูป
้ ่ วยด้วยโรคพิษตะกว่ ั
วินิจฉัยโรคผิดว่าเป็ นอาการปวดท้องเนื่องจากสาเหตุทางศัลยกรรมได้ เช่น ไส้ติ่งอักเสบนอกจากนี้การดื่มสุ รา
หรื อภาวะเจ็บป่ วยอื่นๆ จะเป็ นตัวกระตุน้ ทำให้เกิดการเคลื่อนที่ของตะกัว่ จากที่เก็บสะสมไว้ออกมาในเลือด
ทำให้ผปู ้ ่ วยมีอาการปวดท้องมากขึ้น นอกจากนี้อาจตรวจพบแนวเส้นตะกัว่ บริ เวณเหงือก (lead line) มี
ลักษณะเป็ นเส้นสี น ้ำเงิน-ดำ จับอยูท่ ี่ขอบเหงือกต่อกับฟันห่ างจากฟันประมาณ ๑ มิลลิเมตร พบบ่อยบริ เวณ
ฟันหน้ากราม และฟันกราม
          ๒. อาการทางระบบประสาทส่ วนปลาย ผูป้ ่ วยจะมีอาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้ อ
แขนและขาบางครั้งมีอาการปวดตามกล้ามเนื้ อ และข้อต่อต่างๆถ้าร่ างกายได้รับตะกัว่ ปริ มาณมากๆ เป็ นเวลา
นานอาจทำให้เกิดอัมพาตของกล้ามเนื้ อได้ ซึ่งมักจะเกิดกับกล้ามเนื้อกลุ่มที่ทำหน้าที่เหยียด เช่น กล้ามเนื้อที่
ใช้เหยียดข้อมืออ่อนแรง ทำให้เกิดอาการที่เรี ยกว่า ข้อมือตก หรื อข้อเท้าตก การเป็ นอัมพาตมักจะไม่ทำให้
ประสาทความรู ้สึกเสี ยส่ วนมากมักจะเป็ นเฉพาะกล้ามเนื้ อข้างใดข้างหนึ่งของแขนหรื อขาเท่านั้น และมักจะมี
อาการข้างที่ถนัดก่อน
โรคพิษตะกว่ ั ในเด็ก
          ๓. อาการทางสมอง เป็ นอาการแสดงที่พบว่ารุ นแรงที่สุด มักพบในเด็กที่ได้รับตะกัว่ เข้าสู่
ร่ างกายในปริ มาณค่อนข้างสู ง เช่น กินตะกัว่ อนินทรี ย ์ หรื อสู ดเอาไอและละอองฝุ่ นตะกัว่ เข้าไปมาก สำหรับ
ผูใ้ หญ่พบได้นอ้ ย โดยมากเกิดจากตะกัว่ อินทรี ย ์ เช่น คนงานในโรงงานอุตสาหกรรมกลัน่ น้ำมัน มักมีอาการ
เริ่ มต้นจากตื่นเต้น นอนไม่หลับ ฝันร้าย อารมณ์ฉุนเฉี ยว ปฏิกิริยาสะท้อนไวกว่าปกติ สติคุม้ ดีคุม้ ร้าย ในที่สุด [ดูภาพทัง้ หมดในเรือ
่ งนี้]
อาจชัก หมดสติ และถึงแก่กรรมได้
          ๔. อาการทางโลหิต ผูป้ ่ วยมักจะมีอาการซี ดเลือดจาง อ่อนเพลีย นอกจากอาการดังกล่าว
แล้วผูป้ ่ วยมักมีอาการปวดศีรษะ มึนงง ในรายที่เป็ นเรื้ อรัง พบว่ามีอาการตัวเหลือง ตาเหลือง ได้ดว้ ย

พิษตะกัว่ ในเด็ก
          ๑. ระบบประสาท โดยตะกัว่ จะทำลายทั้งระบบประสาทส่ วนกลาง และระบบประสาทส่ วน
ปลาย ยิง่ อายุนอ้ ยระบบประสาทยิง่ ถูกทำลายมาก ดังนั้นในเด็กเล็กจึงเป็ นอันตรายอย่างยิง่ นอกจากนี้ระดับ
ตะกัว่ ในเลือด ๓๕ ไมโครกรัมต่อเดซิ ลิตรขึ้นไป อาจมีอาการผิดปกติทางจิตประสาทได้ดว้ ย
          ๒. ระบบทางเดินปัสสาวะ ตะกัว่ ทำลายไตโดยตรง ทำให้เกิดการฝ่ อลีบของบริ เวณที่
กรองปั สสาวะ
          ๓. ระบบเลือด นอกจากจะทำให้เม็ดเลือดแดงแตกง่ายแล้ว ตะกัว่ ยังขัดขวางการสร้างฮีม
ทำให้มีอาการซี ด โลหิ ตจางได้
          ๔. พิษต่ อหัวใจ ทำให้เกิดกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
          ๕. ระบบทางเดินอาหาร ทำให้กล้ามเนื้อเรี ยบมีการเกร็ ง เกิดอาการปวดท้องมาก
          ๖. นอกจากนีร
้ ะดับตะกัว่ ในเลือด ตั้งแต่ ๒๕ ไมโครกรัมต่ อเดซิลติ ร
ขึน้ ไป มีผลกระทบต่อการเจริ ญเติบโต ทำให้การเจริ ญเติบโตไม่สมอายุ
[กลับหัวข ้อหลัก]
อาการโรคพิษตะกว่ ั
           อาการโรคพิษตะกัว่ แบ่งได้เป็ นระยะเฉี ยบพลันและเรื้ อรัง
           ๑. พิษตะกัว ่ เฉียบพลัน อาการสำคัญที่พบ คือ อาการของโรคเนื้อสมองเสื่อมเฉียบพลันมักเกิดเมื่อระดับตะกัว่ ในเลือดสูงเกิน ๑๒๐ ไมโครกรัมต่อเดซิลิตร
และมักพบในเด็กอายุต ่ำกว่า๓ ปี อาการอาจเริ่ มด้วยชักและหมดสติ หรื อมีอาการอื่นร่ วม เช่น เบื่ออาหาร ซี ด กระวนกระวาย ซึ ม เล่นน้อยลง  กระสับกระส่ าย เสี ยกิริยาประสาน
งาน อาเจียน มีอาการทักษะเสื่ อมถอย โดยเฉพาะการพูด อาการจะมากขึ้นเรื่ อยๆ ใน ๓-๖ สัปดาห์จากนั้นจึงมีอาการของโรคสมองเสื่ อมตามมาใน ๒-๕วัน เริ่ มด้วยอาการเดินเซ
อาเจียนมาก ซึ ม หมดสติและชักที่ควบคุมลำบาก แต่จะไม่พบอาการปลายประสาทเสื่ อม
           ๒. พิษตะกัว ่ เรื้อรัง อาการแสดงทางคลินิกที่พบในระบบต่างๆ มีดงั นี้
                      ๒.๑ ระบบประสาทส่ วนกลาง และประสาทสมอง อาการสำคัญที่พบ คือ สมองเสื่ อมจากพิษตะกัว่ พบในเด็กมากกว่าผูใ้ หญ่ มีอาการหงุดหงิดง่าย 
กระวนกระวาย ซึ ม เวียนศีรษะ เดินเซหกล้มง่าย นอนไม่หลับ บุคลิกภาพเปลี่ยนแปลงความจำเสื่ อม  ในรายที่เป็ นรุ นแรงอาจมีอาการสั่นเวลาเคลื่อนไหว ชัก หมดสติ และเสี ยชีวิต
ได้ ซึ่งโรคพิษตะกัว่ ในเด็ก      เป็ นผลจากตะกัว่ เข้าไปทำลายเซลล์ประสาททำให้เนื้อเยือ่ สมองเกิดอาการบวม มีน ้ำและสารต่างๆ ในเซลล์เพิ่มขึ้น เมื่อสมองถูกกดมากๆทำให้เนื้อ
สมองถูกทำลาย ผูป้ ่ วยที่มีอาการทางระบบประสาทส่ วนกลางมีอตั ราตายประมาณร้อยละ๒๕ สำหรับผูท้ ี่รอดชีวิต ภายหลังการรักษาจะพบว่ามีความผิดปกติตามมาได้ ส่ วนอาการ
ทางประสาทสมอง พบว่าประสาทตาฝ่ อและมีความผิดปกติในการทำงานของกล่องเสี ยง
                      ๒.๒ ระบบประสาทส่วนปลายและกล้ามเนื้ อ พบมีอาการปวดตามกล้ามเนื้ อและข้อต่างๆ กล้ามเนื้อที่ใช้บ่อยมีอาการอ่อนแรง หรื อเป็ นอัมพาต เช่น กล้าม
เนื้อที่ใช้เหยียดข้อมือ ข้อเท้า อ่อนแรง ทำให้เกิดอาการข้อมือตก ข้อเท้าตกอาจเป็ นข้างเดียว หรื อสองข้างก็ได้ อาการของระบบประสาทส่ วนปลายพบมีอาการชา  ปลายประสาท
อักเสบ
                      ๒.๓ ระบบทางเดินอาหาร เป็ นอาการที่พบได้บ่อยที่สุด ผูป้ ่ วยมีอาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน โดยเริ่ มแรกมักมีอาการท้องผูก แต่บางรายอาจมีอาการ
ท้องเดิน น้ำหนักลด รู ้สึกลิน้ รับรสของโลหะ เมื่อภาวะเป็ นพิษเพิ่มมากขึ้น กล้ามเนื้อหน้าท้องบีบเกร็ ง และกดเจ็บ ทำให้มีอาการปวดท้องมาก เรี ยกว่า "โคลิก" นอกจากนี้อาจ
ตรวจพบเส้นสี น ้ำเงิน-ดำที่เหงือก ซึ่งเกิดจากปฏิกิริยาระหว่างไฮโดรเจนซัลไฟด์ของแบคทีเรี ยในช่องปากกับตะกัว่ โดยอาจพบได้ถึงร้อยละ ๘๐ ของผูป้ ่ วยที่ได้รับตะกัว่ สะสมมา
เป็ นเวลานานๆ
                      ๒.๔ ระบบโลหิ ต มักพบมีอาการซี ดโดยทัว่ ๆ ไปจะมีลกั ษณะซี ดจากการขาดธาตุเหล็กเนื่องจากตะกัว่ จะเข้าไปยับยั้งกระบวนการสังเคราะห์ฮีมใน
ไขกระดูก โดยขัดขวางการใช้เหล็ก และการสร้างโกลบินในไขกระดูก นอกจากนี้ยงั มีผลให้เม็ดเลือดแดงมีลกั ษณะต่างจากปกติมีจุดสี น ้ำเงินกระจายอยูภ่ ายใน (basophilic
stippling) เม็ดเลือดแดงมีขนาดเล็ก และแตกง่าย อายุส้ นั กว่าปกติความเป็ นพิษต่อระบบโลหิ ตนี้มีผลต่อเด็กมากกว่าผูใ้ หญ่
                      ๒.๕ ระบบทางเดินปั สสาวะ ผูป้ ่ วยที่ได้รับตะกัว่ เป็ นเวลานานๆ อาจเกิดภาวะไตวายเรื้ อรังเนื่องจากตะกัว่ มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงรู ปร่ างและหน้าที่ของไต
โดยทำให้เซลล์ที่บุส่วนต้นของท่อภายในไตเกิดสารประกอบของตะกัว่ กับโปรตีนซึ่ งมีผลต่อกระบวนการสร้างพลังงานของไต โดยจะตรวจพบน้ำตาล  กรดอะมิโน และฟอสเฟต
ในปั สสาวะสูง รวมทั้งฟอสเฟตในเลือดต่ำเนื่องจากการดูดกลับลดลง ทำให้ความแข็งแรงของกระดูกลดลง จากการที่ร่างกายดึงฟอสเฟตจากกระดูกมาใช้และในรายที่เป็ นเรื้ อรัง
ไตจะมีขนาดเล็กลง เส้นเลือดแข็ง และผูป้ ่ วยอาจเสี ยชีวิต เนื่องจากภาวะไตวาย นอกจากนี้ผปู ้ ่ วยอาจเกิดภาวะกรดยูริกคัง่ ในร่ างกาย เกิดอาการของโรคเกาต์ได้
                      ๒.๖ ระบบโครงสร้าง ตะกัว่ จะไปสะสมที่กระดูก โดยเฉพาะที่ส่วนปลายของกระดูกยาวเมื่อเอกซเรย์ดูจะพบรอยหนาทึบของตะกัว่ ฟอสเฟตพบได้ในเด็ก
ถ้าร่ างกายขาดแคลเซี ยมจะทำให้ร่างกายดึงแคลเซี ยมจากกระดูกมาใช้ เป็ นผลให้ตะกัว่ กลับเข้าสู่ กระแสเลือดด้วย
                      ๒.๗ ระบบสื บพันธุ์ ผูท้ ี่ได้รับตะกัว่ ติดต่อกันเป็ นเวลานาน อาจพบอาการเป็ นหมันได้ท้ งั ชายและหญิง โดยเพศชายจะมีจำนวนเชื้ออสุ จินอ้ ยอ่อนแอ และมี
ลักษณะผิดปกติ ส่วนใหญ่เพศหญิงจะมีความผิดปกติของประจำเดือน รังไข่ทำงานผิดปกติ และแท้งได้
                      ๒.๘ ระบบอื่นๆ ทำให้เกิดความผิดปกติในการทำงานของต่อมไทรอยด์ และต่อมหมวกไตได้นอกจากนี้ตะกัว่ เป็ นสารก่อมะเร็ ง อาจทำให้เกิดมะเร็ งที่ไต
เนื้องอกที่ระบบทางเดินหายใจและระบบทางเดินอาหาร รวมทั้งเป็ นสารก่อกลายพันธุ์ โดยทำให้เกิดความผิดปกติของดีเอ็นเอได้
 

  HOME   : :     F e b r u a r y 2 2 , 2 0 1 1

    
พ.ญ.อรพรรณ์ เมธาดิลกกุล
สำนักงานอาชีวเวชศาสตร์และสิ่ งแวดล้อม
กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุ ข

โรคพิษตะกัว่ อนินทรีย์
              มนุษย์เรารู้จกั ตะกัว่ มานานกว่า 6,000 ปี นานพอที่จะทำให้ผคู ้ นได้สมั ผัสกับความ
เป็ นพิษของตะกัว่ ที่ได้คร่ าชีวิตของพ่อ แม่ ลูก เพื่อน และผูเ้ ป็ นที่รักไป ตลอดจนก่อให้เกิด
ความพิการและการป่ วยของร่ างกายในระบบต่างๆ ที่ตะกัว่ เข้าไปทำลายได้ ในที่น้ ี จะขอกล่าว
ถึงตะกัว่ ที่รู้จกั กันดีคือ ตะกัว่ อนินทรี ยห์ รื อตะกัว่ ที่เป็ นโลหะ

             ประวัติศาสตร์เราได้เรี ยนรู ้วา่ ชาวโรมันมีความเก่งทั้งทางด้านการรบและวิทยาการ


ความรู้แขนงต่าง ๆ จนแผ่ขยายอาณาจักรโรมันออกไปได้กว้างไกล แต่ในที่สุดก็ถึงคราวล่ม
สลาย เพราะความประมาทของผูนำ ้ ที่มวั เมาอยูก่ บั อบายมุข ไม่วา่ สุ รา นารี เช่นเดียวกับผูนำ

ต่าง ๆ ในภูมิภาคทัว่ โลกทุกวันนี้ แต่ในปั จจุบนั นักวิทยาศาสตร์กลับสันนิษฐานว่า ตะกัว่ อาจ
เป็ นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้อาณาจักรโรมันต้องพบกับความพินาศ

              ทำไมจึงกล่าวเช่นนั้น….. มีบนั ทึกในประวัติศาสตร์โดยแพทย์ของกรุ งโรมว่า ผูนำ



ทางการเมืองและการทหารหลายคนมีอารมณ์แปรปรวน เซื่ องซึ ม สติวิปริ ตไป ประชาชนและ
ทหารจำนวนมากเป็ นโรคปวดข้อมีคนปั ญญาอ่อนเพิ่มขึ้น ประชาชนของกรุ งโรมเพิ่มขึ้นช้า
หรื อมีปัญหาการเป็ นหมันของประชากรซึ่ งอาการและปั ญหาสุ ขภาพทั้งหมดนี้ตรงกับอาการ
ของโรคพิษตะกัว่
แบบเรื้ อรังที่เกิดจากตะกัว่ ที่สะสมเข้าสู่ ร่างกายทีละน้อยในเวลานาน โดยได้รับปนเปื้ อนไป
กับอาหารและน้ำดื่มที่บรรจุในเครื่ องใช้ต่าง ๆ ซึ่ งทำจากตะกัว่ หรื อตะกัว่ ผสมกับเงินและ
โลหะอื่น เช่น หม้อ ไห เหยือก กา ถ้วย ชาม และ อื่น ๆ ตลอดจนแป้ ง เครื่ องสำอางที่ใช้ในยุค
นั้นด้วยชาวโรมันสมัยนั้นคงไม่ทราบว่าเหล้าองุ่นที่ดื่มไป มีตะกัว่ ละลายออกมาเพราะฤทธิ์
กรดของเหล้า

โรคพิษตะกัว่ เกิดได้ อย่างไร และอาการของโรคพิษตะกัว่


             ตะกัว่ เป็ นสารที่ร่างกายไม่ตอ้ งการ ต่างกับธาตุเหล็ก ฟลูออร์ไรและแต่ธาตุอื่นๆ ที่
จำเป็ นและเป็ นประโยชน์แก่ร่างกายในปริ มาณที่พอเหมาะ ตะกัว่ มีแต่ความเป็ นพิษต่อร่ างกาย
เมื่อได้รับตะกัว่ เข้าสู่ ร่างกายทั้งจากการกินตะกัว่ ที่ปนเปื้ อนกับอาหาร และเครื่ องดื่ม หรื อจาก
การหายใจ เอาไอ ควัน หรื อฝุ่ นตะกัว่ ขนาดเล็ก เข้าไปสู่ ปอด ตะกัว่ ก็จะถูกดูดซึ มเข้าสู่ ร่างกาย
และกระจายไปทัว่ ร่ างกายผ่านทางเลือด และกำจัดออกมากับปั สสาวะบางส่ วน ถ้าได้รับไป
มาก หรื อน้อยๆ แต่บ่อย ๆ เป็ นเวลานาน ร่ างกายก็กำจัดไม่หมด จึงนำไปเก็บในยุง้ ซึ่ งก็คือเก็บ
ในกระดูก ส่ วนตะกัว่ ที่วนเวียนอยูใ่ นเลือดทั้งที่เก็บไม่หมด หรื อได้ไปใหม่ ก็ไปเคลือบเซลล์
ประสาทและสมองของเรา ทำให้สมองและประสาทถูกทำลาย ไม่สามารถทำงานควบคุม
กล้ามเนื้อได้ปกติ ทำให้กล้ามเนื้ออ่อนแรง ปวดกล้ามเนื้ อ ข้อมือข้อเท้าตก หรื ออ่อน ควบคุม
การทรงตัวไม่ค่อยดี นอนไม่ค่อยหลับ ปวดหัวเรื้ อรัง ชา อารมณ์แปรปรวน วิปริ ต งุนงง เซื่ อง
ซึม ความทรงจำเสื่ อม คิดช้า โง่ และถ้าเป็ นมากและเฉี ยบพลันก็จะชักและตาย

              ตะกัว่ ที่วนเวียนอยูใ่ นเลือดไม่วา่ จะเท่าใดก็ตามจะไปยับยั้งเอนไซม์เอแอลเอดีที่


สำคัญในการสร้างเม็ดเลือดแดง ทำให้สร้างเม็ดเลือดแดงไม่ได้ ไม่พอ และไม่ดี ผูท้ ี่มีตะกัว่ ใน
ร่ างกายจึงมีเม็ดเลือดน้อย เม็ดเลือดผิดปกติและแตกง่าย เลือดจางทำให้ร่างกายขาดเลือด
อวัยวะต่าง ๆ ของร่ างกายก็เสี ยการทำงาน ทำให้มีอาการต่างๆ มากมาย ซึ่ งทำให้อ่อนเพลียง่าย
เป็ นลมง่าย หรื อ “ วูบ” ง่าย ป่ วยง่าย และอาการจากเลือดจางอื่น ๆ ตะกัว่ ทำให้อสุ จิของเพศ
ชาย และไข่ของเพศหญิงผิดปกติ ทำให้ผทู ้ ี่ป่วยด้วยโรคพิษตะกัว่ เรื้ อรังเป็ นหมันและมีความ
ผิดปกติของประจำเดือนได้ และอาการที่เกี่ยวกับระบบสื บพันธุ์อื่น ๆ และตะกัว่ ยังไปทำลาย
ระบบไตด้วย และทำให้เกิดอาการระบบอื่น ๆ ได้ เช่น คลื่นไส้ อาเจียน ปวดตามข้อ ปวด
เมื่อยตามตัว ท้องผูก ท้องอืด หรื ออื่นๆ ที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ส่วนใหญ่เป็ นอาการของโรคพิษ
ตะกัว่ เรื้ อรัง ซึ่ งไม่ค่อยเฉพาะทำให้ผปู ้ ่ วยมักได้รับการวินิจฉัยและรักษาแบบโรคประสาท
และโรคจิต ทำให้เป็ นปัญหาของผูป้ ่ วยที่จะได้รับการดูแล และป้ องกันอย่างถูกต้องมาก

ชนิดของโรคพิษตะกัว่ แบ่ งเป็ น 2 ชนิดใหญ่ ๆ คือ โรคพิษตะกัว่ เฉียบพลัน และโรคพิษตะกัว่


เรื้อรัง

โรคพิษตะกัว่ เฉียบพลัน
               เกิดในผูท้ ี่ได้รับตะกัว่ ครั้งแรก ๆ ในปริ มาณที่มาก ส่ วนใหญ่พบในผูท้ ี่หลอมตะกัว่
และเด็กคลอดใหม่ และเด็กเล็ก จะปวดท้องแบบปวดมาก ชัก และตายได้ ในผูใ้ หญ่จะมี
อาการคอแห้ง กระหายน้ำปวดแสบร้อนในท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ร่ วมด้วยได้ ถ้าตรวจตะกัว่
ในเลือดสูงมาก เช่น 60 ไมโครกรัมต่อเลือด 100 ซี ซี ปั จจุบนั ไม่ค่อยพบแล้ว พบมากเมื่อ 50 –
100 ปี ที่มนุษย์รู้จกั เครื่ องจักรใหม่ ๆ หรื อยุคปฏิวตั ิอุตสาหกรรม โดยพบในคนงาน และเป็ น
ที่มาของการตั้งค่าตะกัว่ ที่ 50 – 60 มมก % ปั จจุบนั ไม่ค่อยพบแล้ว มักพบในเด็ก หรื อการได้
ตะกัว่ โดยอุบตั ิเหตุ ในประเทศยังพบประปรายในผูห้ ลอมโลหะ และเด็ก

โรคพิษตะกัว่ เรื้อรัง 
                เป็ นโรคที่พบมากในผูทำ ้ งานในอุตสาหกรรมอิเลคโทรนิค ได้แก่ ทำไอซี ดิสก์ และ
แผงวงจรคอมพิวเตอร์ หรื อที่คล้ายกัน เนื่องจากผูร้ ับตะกัว่ จะรับตะกัว่ ทีละน้อย บ่อย ๆ ทุก ๆ
วัน เป็ นเวลานาน จะมีอาการเกือบทุกระบบของร่ างกายที่กล่าวแล้ว จำเป็ นต้องได้รับการ
รักษา ตรวจเลือดพบตะกัว่ ไม่สูง อาจพบได้ต้ งั แต่ 10 ไมโครกรัม ต่อเลือด 100 ซี ซี เป็ นปัญหา
สำคัญในผูทำ ้ งาน และผูท้ ี่อาศัยอยูใ่ นเมืองที่มีมลพิษจากน้ำมันที่มีตะกัว่ เช่น ประเทศไทยใน
ปัจจุบนั เนื่องจากยังคงมีน ้ำมันที่มีตะกัว่ ใช้อยู่ โรคพิษตะกัว่ เรื้ อรังเป็ นปัญหามากขณะนี้

จะรู้ได้ อย่างไรว่าเป็ นโรคตะกัว่ เรื้อรัง


                ก่อนอื่นท่านต้องมีอาการผิดปกติ หรื ออาการป่ วย ตามที่กล่าวข้างต้น ถ้าไปพบ
แพทย์และแพทย์ตรวจพบความผิดปกติของร่ างกายในระบบต่าง ๆ ที่ตะกัว่ ไปทำลายได้ และ
ที่สำคัญคือ ท่านเองมีประวัติทำงานกับตะกัว่ และโลหะซึ่ งส่ วนใหญ่มกั มีตะกัว่ ปน หรื อส่ วน
น้อยมีประวัติได้ตะกัว่ ไปกับอาหาร และมลพิษทางอากาศ ท่านก็มีโอกาสเป็ นโรคพิษตะกัว่
เรื้ อรังได้ ไม่จำเป็ นต้องตรวจตะกัว่ ในเลือด ถ้าท่านตรวจตะกัว่ ในเลือด และท่านพบตะกัว่ ใน
เลือดไม่วา่ จะเท่าใดก็ตาม ท่านยังคงต้องเป็ นโรคพิษตะกัว่ ซึ่ งต้องได้รับการรักษาที่เหมาะสม
ต่อไป ถ้าท่านมีตะกัว่ ในเลือดสูงมากมายเพียงใด แต่ท่านไม่มีอาการป่ วยท่านก็ไม่เป็ นโรคพิษ
ตะกัว่ ถ้าเป็ นเช่นนี้ท่านได้รับตะกัว่ เข้าร่ างกายมากไปแล้ว ท่านต้องรู ้ตวั ไว้ เพื่อป้ องกันไม่ให้
ท่านชัก และตายจากโรคพิษตะกัว่ เฉี ยบพลัน ท่านต้องรี บออกจากบริ เวณที่มีตะกัว่ นั้น เช่น
บริ เวณงานที่มีควันตะกัว่ และจัดเก็บตะกัว่ ให้ถูก ไม่ให้ก่อปั ญหาอีก คนเราได้รับตะกัว่ ที่
เดียวกัน พร้อมกันจะพบตะกัว่ ในเลือดได้เท่ากันและป่ วยเหมือนกันไหม ตอบว่า ไม่ เพราะ
ขึ้นกับร่ างกายของผูน้ ้ นั จะดูดซึม กำจัด และอ่อนแอหรื อไวในการเกิดโรคไม่เท่ากัน เด็กจะ
เกิดโรคนี้ง่าย ประเทศไทยมีผปู้ ่ วยโรคพิษตะกัว่ เรื้ อรังไหม ตอบว่า มีมากมาย ที่พบแล้วเช่น
ตำรวจจราจรบางท่าน พนักงานโรงงานผลิตไอซี ผูทำ ้ งานพ่นสี พนักงานโรงงานหลอดรี ด
เหล็ก อลูมิเนียม และโลหะพนักงานทำแผงวงจรไฟฟ้ า วิศวกร และช่างโรงงานที่เกี่ยวข้อง ที่
รู้จกั กันดีขณะนี้กไ็ ด้แก่โรคพิษตะกัว่ เรื้ อรังในพนักงานหญิงซี เกท

การป้ องกันโรคพิษตะกัว่ เรื้อรัง


                  ในด้านผูผ้ ลิต ผูส้ ร้างมลภาวะ ทั้งระดับโรงงาน ระดับประเทศ (เช่นยังให้มีการ
ผลิตและใช้น ้ำมันที่มีตะกัว่ ) ต้องเริ่ มจากการมีความรู ้ ตระหนักถึงพิษตะกัว่ มีความคิดที่จะ
ป้ องกัน และต้องลงมือป้ องกัน การป้ องกันทางเทคนิคไม่ใช่เรื่ องยาก เรื่ องยากอยูท่ ี่คิดจะทำ
หรื อไม่ การป้ องกันที่ดี คือ การป้ องกัน ที่แหล่ง ให้ความรู ้เรื่ องพิษตะกัว่ แก่นพนักงานที่
เกี่ยวข้อง ถ้าจำเป็ นอาจต้องป้ องกันที่ตวั พนักงาน ใช้อุปกรณ์ป้องกันสุ ขภาพ และถ้าที่ทำงานมี
การใช้ตะกัว่ มาก โดยไม่มีการกำจัดที่แหล่ง ท่านอาจอยากตรวจตะกัว่ ในเลือดหรื อปั สสาวะ
ก็ได้ เพื่อป้ องกันการชัก และตาย จากปั ญหาพิษตะกัว่ เฉี ยบพลัน (แต่ไม่แนะนำ) ในส่ วนตัว
ของพนักงานหรื อประชาชน ต้องรักษาอนามัยส่ วนบุคคลที่ดี ไม่กินอาหารในที่ทำงานที่มี
ตะกัว่ อยู่ ล้างมือ หน้า คอ ทุกครั้งก่อนกินอาหารและเครื่ องดื่ม เลือกรับประทานอาหารที่ดีไม่
ปนเปื้ อนตะกัว่ ถ้ามีเงินซื้ อรถ ไม่เลือกซื้ อรถที่เครื่ องยนต์ตอ้ งใช้น ้ำมันที่มีตะกัว่ ทุกท่านทั้งผู ้
ผลิต ผูบ้ ริ การ ผูทำ
้ งาน ประชาชน และคนไทยยุคใหม่ จะปลอดจากพิษตะกัว่ เรื้ อรังนี้
 
 

       

You might also like