You are on page 1of 3

1

How to fly with only ISDU available


Ф ก่อนอื่นตามความคิดของผม ผมคิดว่าในการบินแบบนี้ครูคงไม่ได้คาดหวังว่าเราจะบินได้แม่นยำาเหมือนบินตาม
FMS เพียงแต่ให้เราบินได้ใกล้เคียงกับ Track ที่เราต้องการให้ได้มากที่สุด ดังนั้นวิธีต่างๆ ที่เราจะใช้คำานวนต่อไปนี้
ก็จะเป็นการคำานวนคร่าวๆ เท่านั้น และเราก็ต้องใช้การคำานวนซ้ำาเป็นระยะๆ เพื่อทำาการ Fine Tune ค่าต่างๆ ไม่ว่าจะ
เป็น Track, Distance, etc. เพื่อให้ได้ค่าที่ใกล้เคียงกับความเป็นจริงมากที่สุดนะครับ
Ф ในกรณีนี้หมายความถึง Both FMS U/S นะครับ ดังนั้นอันดับแรกเราก็จะต้องเปิดดู Emergency/Malfunction
Checklist และ Follow ตามนั้นทุกครั้งนะครับ
Ф ถ้าอยู่ใน NAV Aids Coverage ก็ให้ Set NAV Aids และบินตาม Raw Data นะครับ
Ф ถ้า ATC ให้ Direct Clearance ในขณะที่เราอยู่ใน NAV Aids Coverage ก็ให้เราทำา Fix to Fix ไปคร่าวๆ ก่อน
จากนั้นก็ Fine Tune ตามวิธีที่ใช้ในกรณีที่ไม่มี NAV Aids Coverage นะครับ
Ф ถ้าไม่มี NAV Aids Coverage ให้บิน Present Track ไปก่อนนะครับ โดยการ Set CRS ใน ILS CRS Window
ให้ตรงกับ Track ที่เราต้องการจะ Maintain จากนั้นก็ Select NAV/VOR/ILS Selector ไปไว้ที่ ILS จากนั้นก็
Select FPA และ Set 0° และก็ Adjust HDG ให้ Bird บินอยู่ใน Cage ก็จะทำาให้เราบินอยู่บน Desired Track
Ф ต่อจากนั้นให้ดู Lat/Long ของ Next Waypoint และเทียบกับ Present Position ของเราใน ISDU (แนะนำาให้ใช้
IRS 1 Position เพราะเราไม่สามารถรู้ได้ว่า IRS Accuracy ดีที่สุด นอกจากว่าก่อนที่ Both FMS Fail แล้วเราดู
ใน Position Monitor Page เราก็จะรู้ได้ว่า Accuracy ของ IRS ตัวไหนดีที่สุด)
Ф เอา Lat/Long ของ Next Waypoint กับ Present Position มาหักลบกัน เราก็จะได้ Lat/Long Differential
Ф จากนั้นก็ให้เปลี่ยน Lat/Long Differential ให้เป็น Distant in NM โดยเทียบว่า 1° = 60Nm, 10’ = 10Nm และ
1’ = 1Nm (1° = 60’)
Ф จากนั้นให้เรานำาเอา Wind Diagram ใน Normal Checklist มาเทียบดูกับ Distance ที่เราหาได้ โดยให้ Vertical
Axis (แกน Y) = Latitude และ Horizon Axis (แกน X) = Longitude
Ф จาก Wind Diagram เราจะเห็นว่า Max Value = 60KT หรือ 60Nm ตามที่เรา Convert Lat/Long Differential
ดังนั้นเราจะต้อง Convert Distance ที่เราได้ ≤60 ก่อนโดยการหาร เมื่อเทียบหา Distance ได้แล้วก็คูณกลับเข้าไป
ก็จะได้ Distance จริง เช่น Distance ด้าน Long = 180Nm และ Distance ด้าน Lat = 60Nm เราก็ต้องเอา 3 มา
หารซึ่งก็จะได้ Long = 60Nm และ Lat = 20Nm และพอเราเทียบ Distance ที่เราต้องการได้แล้วก็เอา 3 กลับไป
คูณก็จะได้ Distance จริง ส่วนมุม (Angle) นั้นไม่ต้องคูณเพราะมุมที่อ่านได้จะเป็นมุมจริงๆ ที่เราจะนำามา Convert
เป็น Track ที่เราจะทำาการบินอยู่แล้ว
Ф หลังจากได้ Angle ที่เราต้องทำาการ Adjust แล้วเราก็ต้องมาหาว่า Track ที่เราจะบินเป็นเท่าไหร่ โดยการเทียบกับ
Track 360° และ Track 180° ขึ้นอยู่กับ Direction ที่เราจะบินไปว่าไปทาง N หรือ S และบินไปทาง Quadrant
ไหน
Ф การกำาหนด Quadrant นั้นแบ่งออกได้ดังนี้ ถ้าบินไปทาง NE หรือ SW จะเป็น Quadrant + ส่วนถ้าบินไปทาง NW
หรือ SE จะเป็น Quadrant –
Ф จากนั้นให้เราเอาค่า Angle ที่เราหาได้จาก Wind Diagram มาใส่ใน Quadrant เราก็จะได้ว่า Angle ที่เราหาได้
ควรจะนำาไป + หรือ – ออกจาก Direction ที่เราบินไป เช่น ถ้าเราหา Angle ได้ 30° และเราบินไปทาง NE เราก็จะได้
ว่า Track ที่เราจะบินคือ 000(360) + 30 = 030° แต่ถ้าบินไปทาง NW เราก็จะได้ Track ที่เราจะบินคือ
360(000) – 30 = 330° ในทางกลับกัน ถ้าเราบินไปทาง SE เราก็จะได้ว่า Track ที่เราจะบินคือ 180 – 30 = 150°
และถ้าเราบินไปทาง SW เราก็จะต้อง Maintain Track = 180 + 30 = 210° เป็นต้น
Ф พอเราได้ Track ที่เราจะบินแล้ว เราก็ Adjust HDG ให้ Track Green Diamond อยู่บน Track ที่เราต้องการ หรือ
จะ Set ILS CRS ตาม Track ที่เราต้องการและ Adjust HDG ให้ Bird in Cage ก็ได้นะครับ
Ф พอเราบินเข้า NAV Aids Coverage Area เราก็ Set NAV Aids แล้วบินตาม Raw Data อีกครั้งครับ

การทำา Fix to Fix


Φ ดูใน RMI ว่าเราบินอยู่ที่ Radial ไหน โดยดูจากหางเข็ม
Φ กำาหนดความยาวเข็ม VOR จากตรงกลางให้เป็นค่าของ DME ให้เป็นสัดส่วนกับ Radial และ DME ที่เราต้องการจะบิน
ไป
Φ ลากเส้นจากจุดบนเข็ม VOR ที่ตรงกับ DME และ Radial ที่เราบินอยู่ ไปยัง จุดที่เป็น DME และ Radial ที่เราต้องการ
จะไป ตามอัตราส่วนของ DME ที่เราได้แบ่งสัดส่วนเอาไว้ เช่นถ้าเรากำาหนดให้ความยาวเข็ม VOR จากตรงกลาง
RMI จนถึงปลายเข็มเท่ากับ 50 Nm ดังนั้นถ้าเราจะบินไปที่ 25 Nm เราก็ใช้ความยาวของเข็ม VOR แค่ครึ่งเดียว
จากตรงกลาง RMI เป็นต้น
2

Φ จากนั้นให้ลากเส้นขนานกับเส้นที่เราลากไว้ดังกล่าวข้างบน โดยเริ่มจากตรงกลาง RMI และดูว่าเส้นขนานที่เราลากใหม่


นี้ไปตัดกับ HDG อะไร
Φ HDG ที่เส้นดังกล่าวไปตัดก็คือ Track ที่เราจะบินเพื่อไปยัง Fix ที่เราต้องการ
Φ ระหว่างที่เราทำาการบินเข้าไปยัง Fix ที่เราต้องการนั้น เราก็ใช้วิธีนี้ในการ Adjust Track ที่เราจะบินไปเรื่อยๆ

การคำานวน Drift Angle


Φ ใช้ 1 in 60 Rule ในการคำานวน
Φ เราต้องคำานวนหา Cross Wind คร่าวๆ ก่อน โดยใช้ Rule of Thumb คร่าวๆ ดังนี้
Φ ถ้า Direction ของ Wind ที่ทำากับ Track ของ ACFT ต่างกันประมาณ 10°, X-WND ≈ Wind SPD/6
Φ ถ้า Direction ของ Wind ที่ทำากับ Track ของ ACFT ต่างกันประมาณ 20°, X-WND ≈ Wind SPD/3
Φ ถ้า Direction ของ Wind ที่ทำากับ Track ของ ACFT ต่างกันประมาณ 30°, X-WND ≈ Wind SPD/2
Φ ถ้า Direction ของ Wind ที่ทำากับ Track ของ ACFT ต่างกันประมาณ 40°, X-WND ≈ Wind SPD/1.5
Φ ถ้า Direction ของ Wind ที่ทำากับ Track ของ ACFT ต่างกันประมาณ 50°, X-WND ≈ Wind SPD/1.2
Φ ถ้า Direction ของ Wind ที่ทำากับ Track ของ ACFT ต่างกันประมาณ 60°, X-WND ≈ Wind SPD/1
Φ หลังจากที่เราได้ค่า X wind มาแล้ว เราก็มาดูค่าของ Ground SPD จากใน ND
Φ สร้างสามเหลี่ยมมุมฉากขึ้นมาโดยให้ค่าของ Ground SPD เป็นแกน Y และค่าของ X Wind เป็นแกน X
Φ จากนั้นทำาสามเหลี่ยมคล้ายขึ้นมาโดยให้แกน Y เท่ากับ 60 และดูว่าแกน X ได้ค่าเท่าไหร่
Φ ค่าของแกน X ที่เราได้ก็คือค่าของ Drift Angle (DA) ที่เราจะต้อง Correct for Wind เพื่อ Maintain Track
นั่นเอง
Φ เราสามารถ Monitor Track ที่เรากำาลังบินอยู่ได้จาก Green Diamond และก็ Adjust HDG ให้ Track ที่เราต้องการ
Φ นอกจากนี้ เรายังสามารถ Monitor Track ได้จาก ISDU อีกด้วย

สิ่งที่ควรศึกษาไว้ล่วงหน้า
Φ Chart N1 for CL and CR in case of ATS Off and No TRP ใน AOM Vol.2 ซึ่งน่าจะอยู่ใน Chart Folder ใน
CKPT
Φ เราสามารถคำานวน Time to Next Waypoint ได้จากค่า Mach No. ที่เราบินอยู่ เพราะค่า Mach ที่เราบินอยู่จะมีค่า
ประมาณ Nm/min เช่นบิน M 0.80 ≈ 8 Nm/min
Φ นอกจากนี้ เรายังคำานวนค่า Time to Next Waypoint ได้จากค่าของ Ground SPD โดยการนำาเอา Ground SPD
มาหารด้วย 60 ก็จะได้ Ground SPD ของ ACFT ที่มีหน่วยเป็น Nm/min เช่นเดียวกับวิธีข้างบนแต่น่าจะได้ค่าที่
Precise มากกว่า
Φ หา Distance to Next Waypoint ได้โดยดูจาก ND, TAFS หรือ ERC แล้วเอาค่า Ground SPD in Nm/min ที่เรา
หาได้ไปหารเราก็จะได้ Time to Go to Next Waypoint in Minute
Φ หลังจากนั้นพอเราบินผ่าน Waypoint เราก็ Timing เพื่อ Cross Check ดู Next Waypoint Position พอผ่าน Next
Waypoint ก็ Reset Timing และก็ Timing ใหม่
Φ ควรมีเครื่องคิดเลข และไม้โปรฯ ติดตัวไปด้วย ถ้าคิดอะไรไม่ออกก็ใช้วัดหา HDG และ Distance เอาเลย
Φ ถ้าคิดว่าบินตก Track แต่ไม่มากก็ให้เรา Maintain Present Track ไปได้เลย
Φ ควรฝึกบิน Manual Flight Manual Thrust บ้างนะครับ
Φ การ Report Position ควรใช้คำาว่า Approaching Waypoint นะครับ และอย่าลืมว่าถ้า Estimated Time Over
Waypoint Error More Than 3 Minutes เราจะต้อง Notify ATC ด้วยนะครับ
Φ เราสามารถ Cross Check ความถูกต้องของ Track ที่เราบินหรือ Waypoint Position ได้จาก NAV Aids ที่อยู่รอบๆ
ข้าง เช่น SAGAG อยู่ที่ R053 D123 CTR หรือ YAKUA อยู่ที่ R016 D66 PCB เป็นต้น
Φ การดู MGA นั้นเราสามารถดูได้จาก Latitude และ Longitude ที่เราบินอยู่และเทียบกับ ERC ครับ

การคำานวนการ Lead Turn ก่อนที่จะถึง Turning Point


Φ Based on Bank 25-30° ดังนั้นเราต้อง Set Bank Limiter NORM
Φ ใช้ Rule of Thumb คร่าวๆ ดังนี้
Φ ถ้า HDG ที่เราจะเลี้ยวไปต่างจาก Present HDG ประมาณ 90° ให้ Lead Turn (Nm) ≈ 1% Ground SPD
Φ ถ้า HDG ที่เราจะเลี้ยวไปต่างจาก Present HDG ประมาณ 60° ให้ Lead Turn (Nm) ≈ 2/3% Ground SPD
Φ ถ้า HDG ที่เราจะเลี้ยวไปต่างจาก Present HDG ประมาณ 45° ให้ Lead Turn (Nm) ≈ 1/2% Ground SPD
Φ ถ้า HDG ที่เราจะเลี้ยวไปต่างจาก Present HDG ประมาณ 30° ให้ Lead Turn (Nm) ≈ 1/3% Ground SPD
3

Φ ถ้า HDG ที่เราจะเลี้ยวไปต่างจาก Present HDG ประมาณ 22.5° ให้ Lead Turn (Nm) ≈ 1/4% Ground SPD
Φ หลังจากที่เราได้ค่า Lead Turn แล้วว่ากี่ Nm เราก็สามารถดูจาก ISDU ได้ว่าเราจะเริ่มเลี้ยวที่ Position ไหนโดยการ
เทียบว่า 1’ = 1 Nm เช่นเราต้องการ Lead Turn ที่ 2 Nm ก่อนถึง Next Waypoint เราก็เริ่มเลี้ยวที่ 2’ ก่อนถึง
Next Waypoint ดังนั้นถ้า Next Waypoint Position อยู่ที่ N 1300.0 เราก็เริ่มเลี้ยวที่ N 1258.0 เป็นต้น

การคำานวน Distance to Go คร่าวๆ


Φ ในการคำานวน Distance ที่เราจะทำาการบินไปยัง Next Waypoint คร่าวๆ นั้นเราสามารถดูได้จาก Lat/Long
Different โดยการหักลบกันตามวิธีข้างบน
Φ จากนั้นให้ค่า Latitude เป็นแกน Y และ Longitude เป็นแกน X และสร้างสามเหลี่ยมมุมฉากขึ้นมา
Φ ถ้าค่าในแกน X มีค่าใกล้เคียงกับค่าในแกน Y เราจะได้ค่าความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก ซึ่งก็คือ Distance to Go ≈
X*1.4 หรือ Y*1.4 หรือ (X+Y)*0.7
Φ แต่ถ้าค่าในแกน X และแกน Y ต่างกันมากๆ ให้เอาค่าของ X หรือ Y ที่มีค่ามากกว่ามาใช้ โดย Distance to Go ≈
X*1.1 หรือ Y*1.1
Φ ซึ่งจะใช้เมื่อเราบินเข้าใกล้ Fix หรือ NDB เพื่อจะได้ใช้ในการ Planning Track Mile, Adjust Configuration หรือ
Lead Turn เป็นต้น
Φ เมื่อเราบินเข้าใกล้ Fix หรือ NDB เราก็จะเห็นว่าเราสามารถคำานวน Distance ได้จากการเอา Latitude หรือ
Longitude อย่างใดอย่างหนึ่งมาหักลบกันซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่าเราบินไปทางไหน ถ้าเราบินไปทาง N หรือ S เราก็จะเห็น
ว่าค่า Longitude ไม่ค่อยเปลี่ยนแปลง จะเปลี่ยนเฉพาะค่า Latitude ดังนั้นเราก็เอาเฉพาะค่า Latitude มาหักลบ
กันเป็นค่าของ Distance to Go แต่ถ้าเราบินไปทาง E หรือ W ซึ่งค่าที่เปลี่ยนแปลงก็คือค่า Longitude เราก็เอาแต่
Longitude มาหักลบกันเป็น Distance to Go

You might also like