You are on page 1of 2

การประชุมนานาชาติศากยธิดา คณะกรรมการองค์กรนานาชาติศากยธิดา

www.sakyadhita.org
ครั้งที่ ๑ พ.ศ.๒๕๓๐ ณ พุทธคยา, อินเดีย
หัวข้อ : นักบวชสตรีในศาสนาพุทธ (Buddhist Nuns) ส�ำนักงานองค์กรนานาชาติศากยธิดา ตัง้ อยูท่ ไี่ ทเป, ไต้หวัน คณะกรรมการทีไ่ ด้
องค์ปาฐก : องค์ดาไลลามะที่ ๑๔ รับเลือกให้ด�ำรงต�ำแหน่งในวาระนี้ (พ.ศ.๒๕๕๒-๒๕๕๕) มีรายนามดังนี้
ครั้งที่ ๒ พ.ศ.๒๕๓๔ ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์-รังสิต, ไทย Dr. Chang Christie Yu-Ling President
หัวข้อ : พุทธสาวิกาในโลกสมัยใหม่ (Buddhist Women in the Modern World) Paula Arai Vice President
องค์ปาฐก : อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Melissa Vincenty Secretary
ครั้งที่ ๓ พ.ศ.๒๕๓๖ ณ โคลัมโบ, ศรีลังกา Maria Arroyo Treasurer สูจิบัตร วันต้อนรับอาสาสมัคร
หัวข้อ : พุทธสาวิกาในสังคมยุคใหม่ (Buddhist Women in the Modern Society) Margaret Coberly Branch and Chapter, Coordinator
องค์ปาฐก : ประธานาธิบดีแห่งประเทศศรีลังกา
ครั้งที่ ๔ พ.ศ.๒๕๓๘ ณ เมืองลีห์, ลาดัค ดร.ยู หลิง ชาง : ประธานองค์กรนานาชาติศากยธิดา
หัวข้อ : สตรีและพลังแห่งความเมตตา: การอยู่รอดในศตวรรษที่ ๒๑
(Women and Power of Compassion: Survival in the 21st Century)
ดร.ยู หลิ ง “คริ ส ตี้ ” ชาง นั ก วิ ช าการด้ า น
องค์ปาฐก : สมเด็จพระราชินีราณี ซาร์ลา แห่งลาดัค ภาษาศาสตร์และนิเทศศาสตร์ จบการศึกษาด้านภาษา
ครั้งที่ ๕ พ.ศ.๒๕๔๐-๒๕๔๑ ณ พนมเปญ, กัมพูชา ต่ า งประเทศและวรรณคดี จากมหาวิ ท ยาลั ย แห่ ง
หัวข้อ : สตรีในพุทธศาสนา: ความเป็นหนึ่งและความหลากหลาย ชาติไต้หวัน ส�ำเร็จปริญญาโทและปริญญาเอกด้าน
(Women in Buddhism: Unity and Diversity)
ภาษาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาวาย, สหรัฐอเมริกา
องค์ปาฐก : สมเด็จพระราชินีนโรดม สีหนุ ดร.ชาง เคยท�ำงานสอนภาษาจีนอยู่ในฮาวาย และ
ครั้งที่ ๖ พ.ศ.๒๕๔๓ ณ ลุมพินี, เนปาล เขียนวิทยานิพนธ์เกี่ยวกับประสบการณ์การสอนภาษา
หัวข้อ : สตรีในฐานะผู้สร้างสันติภาพ: เพื่อตนเอง, ครอบครัว, ชุมชน, โลก จีนที่นั่น จากนั้นจึงเปิดสอนภาษาอังกฤษ แมนดาริน
(Women as Peacemakers: Self, Family, Community, World)
(จีนกลาง) และฮกเกี้ยน (ไต้หวัน) เป็นภาษาที่สอง ก่อนที่จะเข้าด�ำรงต�ำแหน่งผู้
องค์ปาฐก : รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมและกีฬา บริหารและรองคณบดีฝ่ายวิชาการในองค์กร CIEE ประจ�ำฮาวาย ความสามารถ
ครั้งที่ ๗ พ.ศ.๒๕๔๕ ณ ไทเป, ไต้หวัน ด้านภาษาจีนทั้งสองแขนง ท�ำให้ดร.ชาง สามารถเชื่อมร้อยความแตกต่างมารวม
หัวข้อ : เชื่อมโลก (Bridging Worlds) ไว้เป็นวัฒนธรรมหนึ่งเดียว
องค์ปาฐก : ชู-เลียน ลิว รองประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐจีน ปัจจุบัน ดร.ชาง เป็นผู้อ�ำนวยการ CIEE ประจ�ำไทเป และเป็นประธานองค์กร
ครั้งที่ ๘ พ.ศ.๒๕๔๗ ณ โซล, เกาหลี นานาชาติศากยธิดา (พ.ศ.๒๕๕๒-๒๕๕๕)
หัวข้อ : วินัยและการฝึกตนของพุทธสาวิกาในอดีตและปัจจุบัน
CIEE (Council on International Educational Exchange) เป็นองค์กรอิสระ
เสถียรธรรมสถาน
(Discipline and Practice of Buddhist Women: Past and Present)
ทีไ่ ม่หวังผลก�ำไร ก่อตัง้ เมือ่ ปี พ.ศ.๒๔๙๐ โดยกลุม่ วุฒสิ มาชิกของสหรัฐอเมริกาและ กับการเป็นเจ้าบ้านต้อนรับ
องค์ปาฐก : ประธานองค์กรภิกขุณีแห่งเกาหลี
ครั้งที่ ๙ พ.ศ.๒๕๔๙ ณ กัวลาลัมเปอร์, มาเลเซีย นักศึกษาผู้ได้รับทุนสนับสนุน ด้วยเจตนารมณ์ในการสร้างความสัมพันธ์และความ การประชุมนานาชาติศากยธิดา ครั้งที่ ๑๒
หัวข้อ : พุทธสาวิกาในโลกแห่งพหุวัฒนธรรม เข้าใจระหว่างชาติต่างๆ หลังจากบาดแผลสงครามโลกครั้งที่ ๒ และมีพัฒนาการ
(Buddhist Women in a Global Multicultural Community)
มาเป็นล�ำดับ ปัจจุบนั CIEE มีเป้าหมายในการขยายและแบ่งปันความรูแ้ ขนงต่างๆ
องค์ปาฐก : ชารอน ซูห์ ให้กว้างขวางในระดับนานาชาติ รวมทัง้ สนับสนุนการเสริมทักษะชีวติ ในโลกแห่งพหุ
ครั้งที่ ๑๐ พ.ศ.๒๕๕๑ ณ อูลันบาตอร์, มองโกเลีย วัฒนธรรม โดยมีกลุม่ เป้าหมายทีเ่ ป็นทัง้ นักศึกษาระดับมหาวิทยาลัยและคนท�ำงาน
หัวข้อ : พุทธศาสนิกท่ามกลางความผันเปลี่ยน (Buddhism in Transition) รุ่นใหม่ ตลอดจนด�ำเนินงานด้านการแลกเปลี่ยนนักเรียนจากประเทศต่างๆ ให้ได้มี
องค์ปาฐก : ชุนโด อาโอยาม่า และ เมียว ซอง ซูนิม โอกาสมาเติมประสบการณ์ในสหรัฐอเมริกา
ครั้งที่ ๑๑ พ.ศ.๒๕๕๒ ณ โฮจิมินห์, เวียดนาม
หัวข้อ : พุทธสาวิกาที่โดดเด่น (Eminent Buddhist Women)
องค์ปาฐก : จูเลีย ฮวง
องค์กรนานาชาติศากยธิดาเพื่อพุทธสาวิกา ร่วมเป็นเจ้าบ้าน บนเส้นทางอริยะ
Sakyadhita International Association of Buddhist Women
“มรรคาสู่การหลุดพ้น”
องค์กรนานาชาติศากยธิดาเพื่อพุทธสาวิกา ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ.๒๕๓๐ มี
จุดประสงค์เพื่อสร้างเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพิ่มพูนปัญญา และสนับสนุน โดยอาสาท�ำงานร่วมเป็นเจ้าบ้านงานประชุมนานาชาติศากยธิดา ครั้ง
พุทธสาวิกาทั่วโลกกว่า ๓๐๐ ล้านคน ได้น้อมน�ำธรรมพระพุทธองค์มาศึกษา ที่ ๑๒ ตามกลุ่มงานดังนี้
และปฏิบัติจนเห็นผลจริง และน�ำไปสงเคราะห์โลกได้ ๑. งานบริหารจัดการ
สมาชิกขององค์กรมีจ�ำนวนประมาณ ๒๐๐๐ คน จากภาคีต่างๆ อันเป็น • Nurse (กองแพทย์)
กัลยาณมิตรจาก ๔๕ ประเทศ มีการจัดประชุมระดับนานาชาติทุกๆ ๒ ปี เพื่อ • Q & A (กองอ�ำนวยการ)
เปิดโอกาสให้พุทธสาวิก ตลอดจนนักบวชสตรีจากภาคีต่างๆ มาแลกเปลี่ยน ๒. กองงานเลขานุการ
• Registration (งานรับลงทะเบียนในไทย)
ความรู้ ประสบการณ์ เพื่อน�ำไปสู่การพัฒนาศักยภาพการท�ำงานโดยเฉพาะ • Volunteer (เกี่ยวกับอาสาสมัคร)
พุทธสาวิกในกลุม่ ประเทศก�ำลังพัฒนา การประชุมระดับนานาชาติจดั มาแล้ว • Translation (งานแปลเอกสาร)
ทั้งสิ้น ๑๑ ครั้ง • Liaison (ผู้ช่วยด้านต่างประเทศ)
ในการประชุมนานาชาติครัง้ ที่ ๑๒ จะจัดขึน้ ระหว่างวันที่ ๑๒-๑๘ มิถนุ ายน • Interpreter (ล่าม)
๒๕๕๔ ณ เสถียรธรรมสถาน ชุมชนแห่งการเรียนรูเ้ พือ่ อยูร่ ว่ มกันอย่างศานติ • การดูแลแขกพิเศษในประเทศ
ในประเด็น “มรรคาสู่การหลุดพ้น” (Leading to Liberation) ๓. กิจกรรมการประชุม
• Debates (วงสนทนา-ย่อย)
เสถียรธรรมสถาน คือ ชุมชนแห่งการเรียนรู้เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างศานติ การท�ำงานเพื่อสงเคราะห์โลก • Panel Presentation (วงเสวนา-ใหญ่)
ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ.๒๕๓๐ ท�ำงานสร้างชีวิตตั้งแต่ “ปฏิสนธิจิตจนคืนชีวิต “เรามาลงทุนที่จะเสียสละตัวตนของ • Workshop (การจัดประชุมย่อย)
สู่ธรรมชาติ” เพื่อภารกิจการสร้างสังคมให้อยู่เย็นเป็นสุข พ้นทุกข์ร่วมกัน เรา เพื่อท�ำให้เกิดเครือข่ายของผู้หญิงที่ • Opening Ceramony (การจัดพิธีเปิด)
และด้วยประสบการณ์การท�ำงานเพื่อน�ำธรรมะมารับใช้สังคม ท�ำให้เกิด เป็นธิดาของพระผู้มีพระภาคเจ้า ก็เพื่อที่จะ • Gift & Design (ของช�ำร่วย)
การท�ำงานต่อยอดองค์ความรู้เป็นสถาบันการศึกษา “สาวิกาสิกขาลัย: มหา ท�ำให้การประชุมศากยธิดาครั้งที่ ๑๒ นี้ มี • Cultural Performance
วิชชาลัยธรรมะเพื่อเยียวยาสังคม” โดยใช้พุทธศาสตร์สร้างมหาบัณฑิตที่มี เครือข่ายของผู้หญิงที่จะออกไปสงเคราะห์ ๔. Food (อาหารและเครื่องดื่ม)
จิตอาสาออกไปรับใช้สังคมในสาขาอาชีพต่างๆ เป็นการสร้างนวัตกรรมการ โลกด้วยกัน ๕. ที่พัก, นิทรรศการในพท., การเดินทาง, กิจกรรมนอกสถานที่
สือ่ สารธรรมะกับผูค้ นร่วมสมัย (Spiritual Entertainment) การบริการวิชาการ ฉะนัน้ หัวใจของการท�ำงานใน ”มรรคาสู่ • Home (ที่พักใน SDS+สถานที่จัดประชุม)
แม่ชีศันสนีย์ เสถียรสุต
เพื่อสังคมที่ท�ำให้เกิดการน�ำธรรมะไปใช้ป้องกันและแก้ไขปัญหา ทั้งระดับ การหลุดพ้น” คราวนี้ จึงต้องมีการประเมิน • Exhibition (นิทรรศการ)
ปัจเจกชน องค์กร และสังคม ๒ ส่วน คือ ส่วนด้านใน คือประเมินหัวใจของคนท�ำงาน และเมื่อหัวใจของ • Transportation (งานด้านยานพาหนะ)
ในวาระก้าวสู่ปีที่ ๒๕ นี้ เสถียรธรรมสถาน ได้รับเกียรติเป็นเจ้าบ้าน คนท�ำงานนี้มีปริญญาแห่งทุกข์ คือก�ำหนดรู้ว่า ทุกข์มีไว้ให้เห็น ไม่มีไว้ให้เป็น • Outing (กิจกรรมนอกสถานที่)
ต้อนรับผู้เข้าร่วมประชุมกว่า ๒๐๐๐ คน ในการประชุมนานาชาติศากย­ ปัญหาของงานจึงไม่ใช่ความทุกข์ แต่ปญ ั หาของงานจึงเป็นความท้าทาย ทีเ่ รา ๖. Informative Tech (“เทคโนโลยีระบบข้อมูล”)
ธิดา ครั้งที่ ๑๒ นี้ นับเป็นวาระแห่งกุศลธรรมที่ได้ร�ำลึกและฉลอง “พุทธ ยังต้องมีความสุขและร่าเริงที่จะแก้ปัญหาด้วยค�ำสอนของพระบรมศาสดา ๗. สื่อ, งาน PR
ชยันตี” ๒๖๐๐ ปี แห่งการตรัสรู้ธรรมขององค์สมเด็จ พระบรมศาสดาสัมมา สัมมาสัมพุทธเจ้า ที่ท�ำให้เราพิสูจน์ว่าใจของเรานี้มันหลุดพ้น งานศักดิ์สิทธิ์ • Media (การผลิตสื่อต่างๆ)
สัมพุทธเจ้า ร่วมกับพุทธสาวิกาจากภาคีนานาชาติและในประเทศไทย ด้วย เพราะจิตหลุดพ้นจริงๆ พองานศักดิ์สิทธิ์เพราะจิตหลุดพ้น ความสุขของการ • Public Relation (ประสาน+วางสื่อ PR)
การน�ำเสนอความก้าวหน้าของการท�ำงานตามพุทธวิถีในสังคมโลก ทั้งยัง ท�ำงานประชุมคราวนีม้ นั จะท�ำให้เกิดเครือข่าย ของอริยเจ้า ทีจ่ ะท�ำให้เกิดการ • KeepNews
เป็นการเปิดบ้านต้อนรับพุทธสาวิกาที่อยู่ชายขอบ ให้มีโอกาสมาแลกเปลี่ยน สงเคราะห์โลกทีจ่ ะช่วยให้โลกหลุดพ้นด้วย เป็นการสงเคราะห์เชิงรุก เชิงลึก
เป้าหมายของการท�ำงานคราวนี้คือ การหลุดพ้นด้านใน งานศักดิ์สิทธิ์ ผู้สนใจเข้าร่วมการประชุม กรุณาลงทะเบียนออนไลน์ที่เว็บ
ประสบการณ์ผ่านชุดนิทรรศการเชิงวิชาการ เวทีสนทนากลุ่มย่อย การ www.12thsakyadhitathai.org
ประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อสร้างแรงบันดาลใจและกระตุ้นพลังจิต ในการน�ำ เพราะจิตหลุดพ้น ถ้าเอาในระดับของบุคคลธรรมดา ก็บอกว่า งานศักดิ์สิทธิ์
ด�ำเนินงานโดย คณะกรรมการวางแผนการจัดการประชุมนานาชาติศากยธิดาแห่ง
ประสบการณ์ออกไปประยุกต์ใช้ในการท�ำงานเพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียน เพราะจิตไม่ขุ่นมัว แล้วต่อไปให้ต่อประโยคนี้ว่า ชีวิตศักดิ์สิทธิ์เพราะจิตหลุด
ประเทศไทย โทร. ๐๘๑-๓๙๘-๓๙๓๒ และ admin@12thsakyadhitathai.org
รู้อย่างศานติต่อไป พ้น อย่างนี้แหล่ะ เรียกว่า มรรคาสู่การหลุดพ้น” www.12thsakyadhitathai.org และ www.facebook.com/12thsakyadhita

You might also like