You are on page 1of 2

บทนา

นับตั ้งแต่การออกมาเรียกร้ องขับไล่อดีตนายกฯ ทักษิ ณ ชินวัตร ออกจากตาแหน่งนายกรัฐมนตรี ในปี 2548 ของ


กลุม่ ผู้ชมรายการเมืองไทยรายสัปดาห์สญ ั จร (ซึง่ ภายหลังเปลีย่ นชื่อ ใหม่ว่ากลุม่ พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย) จน
นามาสูก่ ารรัฐประหารในวันที่ 19 กันยายน 2549 และสร้ างแรงกดดั นให้ เกิดการต่อต้ านการรัฐประหาร รวมถึงก่อให้ เกิด
กลุม่ แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้ านเผด็จการแห่งชาติ นามาซึง่ หลายสิง่ ต่อสังคมไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อกระบวนการ
การพัฒนาประชาธิปไตย

สิง่ แปลกใหม่อย่างหนึง่ ที่การต่อสู้ขบั เคี่ยวกั นระหว่างแต่ละฝ่ ายได้ นามาสูส่ งั คมไทยคือการต่อสู้กนั ด้ วยสิง่ ที่
เรียกว่า “วาทกรรม” จากในอดีตที่การต่อสู้ทางการเมืองมักจะเป็ นการชูเอาอุดมการณ์ทางการเมืองนาหน้ า แต่ในขณะที่
การต่อสู้ที่ดาเนินอยู่ในปั จจุบนั นี ้ ทั ้งสองฝ่ ายต่างก็กล่าวอ้ างว่าตนนั ้นสู้เพื่ออุดมการณ์การเมืองแบบเสรีนิยม ประชาธิปไตย
แต่ที่แตกต่างกันคือวาทกรรมที่ทั ้งแกนนาและมวลชนของแต่ละฝ่ ายชูขึ ้นมาเพื่อที่จะสร้ างความชอบธรรมให้ แก่การต่อสู้
ของตนเอง

ทางฝั่ งของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยนั ้น ได้ ชแู ละยึดถือเอาวาทกรรม “การเมืองภาคประชาชน”


และ “ธรรมาภิบาล” ขึ ้นมาเป็ นหลักในการเคลือ่ นไหว กล่าวคือกลุม่ พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยได้ นิยามกลุม่
ของตนเองว่าเป็ นการเมืองภาคประชาชนที่คอยคานอานาจของรัฐบาลอดีตนายกฯทักษิ ณ อยู่นอกสภา โดยชูกรณีการ
คอรัปชัน่ การบริหารงานที่ไม่โปร่งใส ความไม่มีธรรมาภิบาลของรัฐบาล และโดยเฉพาะอย่างยิ่ งของตัวอดีตนายกฯ
ทักษิ ณเอง

ในขณะที่ทางด้ านของกลุม่ แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้ านเผ ด็จการแห่งชาติจะหยิบยกเอาเรื่องของ “สิทธิ


เสรี ภาพ และความเสมอภาค” รวมถึง “นิติรัฐ” ขึ ้นมา โดยเน้ นโจมตีเรื่องของความเป็ นสองมาตรฐาน เรื่องสิทธิ เรื่องของ
เสรีภาพในการแสดงออก และมีการตั ้งคาถามกับความเป็ นนิติรัฐของรัฐไทยอันเนื่องมาจากการบังคับใช้ กฎหมายอย่างไม่
เป็ นธรรม ขึ ้นมาเป็ นประเด็นสาคัญในการเคลือ่ นไหว

หากเราพิจารณาให้ ดีใน 4 ประเด็นที่ทั ้งฝั่ งเสื ้อเหลืองและเสื ้อแดงได้ หยิบยกขึ ้นมาใช้ ขบั เคลือ่ นขบวนของตนเอง
นั ้น จะพบว่าประเด็นทั ้ง 4 มีความเกี่ยวพันกันอย่างแยกกันไม่ออก กล่าวคือหากขาดประเด็นใดประเด็นหนึง่ ไป อีก 3
ประเด็นที่เหลืออาจไม่สามารถเกิดขึ ้นมาได้ ตัวอย่างเช่น หากประชาชนไร้ ซงึ่ สิทธิและเสรีภาพ ไม่มีสทิ ธิที่จะรวมตัวกัน การ
ที่จะคานอานาจกับรัฐบาลเพื่อที่ให้ รัฐบาลมี การบริหารจัดการสาธารณะที่ดี หรือต้ านกฎหมายที่ลดิ ลอนสิทธิของประชาชน
ก็เป็ นเรื่องที่เป็ นไปไม่ได้ ส่งผลให้ รัฐไม่เ ป็ นนิติรัฐ หรือในทางกลับกันหากรัฐบาลนั ้นเป็ นรัฐบาลที่ไร้ ซงึ่ ธรรมาภิบาล ไม่มีการ
ออกกฎหมายที่ค้ มุ ครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน หรือกระทัง่ ออกกฎหมายที่ละเมิดสิทธิของประชาชนเสียเอง แล้ ว
ขั ้วอานาจที่เรียกว่าการเมืองภาคประชาชนก็คงไม่เกิด เป็ นต้ น ซึง่ ประเด็นทั ้ง 4 นี ้ นอกจากจะข้ องเกี่ยวสัมพันธ์ กนั เองแล้ ว
ยังคงสัมพันธ์ กบั (หรือเรียกอีกอย่างว่าเป็ นพื ้นฐานของ)ประชาธิปไตยอีกด้ วย
แต่ถงึ แม้ ว่าทั ้งสองฝ่ ายนั ้นจะต่อสู้กนั ด้ วยการชูประเด็นต่างๆ ดังที่กล่าวมา ในความเป็ นจริงเราจะพบว่าในระดับ
มวลชนเอง การให้ ความรู้ความเข้ าใจกับ ประเด็นเหล่านั ้นมีน้อยเหลือเกิน อะไรคือนิติรัฐ ? อะไรคือธรรมาภิบาล? อะไรคือ
สิทธิเสรีภาพ? และ อะไรคือการเมืองภาคประชาชน? น้ อยคนนักที่จะสามารถอธิบายหรือเข้ าใจถ่องแท้ ในสิง่ ที่
เปรียบเสมือนอาวุธที่ทั ้งฝ่ ายตนและฝ่ ายตรงข้ ามหยิบยกขึ ้นมาเพื่อต่อสู้คะคานกันและกัน แต่ หากทั ้งสองฝ่ ายไม่เข้ าใจ
อาวุธที่ต่างฝ่ ายต่างใช้ การต่อสู้ (ทางความคิด )นี ้ย่อมไม่นาไปสูอ่ ะไรนอกจากหายนะ

ทางมูลนิธิฯ และผู้จดั ทาโครงการฯ เห็นว่าควรที่จะมีการทาความเข้ าใจในประเด็นทั ้ง 4 คือ “นิติรัฐ” “สิทธิ


เสรีภาพ และความเสมอภาค” “การเมืองภาคประชาชน” และ “ธรรมาภิบาล” ในหมู่มวลชน แต่คาถามสาคัญในช่วงก่อน
เริ่มโครงการที่เราขบคิดกันคือ “ใคร”? ที่จะเป็ นผู้สร้ างหรือให้ ความเข้ าใจนี ้ต่อประชาชน ? เราเชื่อว่าในการพัฒนา
ประชาธิปไตยนั ้น บทบาทที่สาคัญในการพัฒนาอยู่ที่ประชาชนในสังคมนั ้น หาใช่ที่ ผู้ร้ ู หรือนักปราชญ์ ใดไม่ หากเราจัดทา
โครงการโดยการหา “ผู้ร้ ู” ลงไปสอน เราก็จะได้ เพียงสอน แต่ไม่สร้ างกระบวนการการพัฒนาใดใด เราจึงเลือกที่จะใช้
วิธีการสร้ างพื ้นที่ที่เปิ ดให้ ประชาชนสามารถเข้ ามาร่วมแลกเปลีย่ นซึง่ กันและกัน เรียนรู้จากมุมมองของกันและกัน และ
เชื่อมโยงเอาประสบการณ์ที่ตนได้ พบเจอในชีวิตประจาวันเข้ ามาทาความเข้ าใจกับหลักการของประเด็นหลักทั ้ง 4 หัวข้ อนี ้
และแน่นอนว่ารวมไปถึงการทาความเข้ าใจในความหมายของ “ประชาธิปไตย” ด้ วย

การเลือกวิธีที่ให้ ประชาชนเรียนรู้จากกันและกันนั ้นคงไม่ได้ สอนอะไรประชาชนในเชิงหลักการมากเท่ากับการที่


เราเอาผู้ร้ ูล งไปสอน แต่เราเชื่อมัน่ ว่าวิธีนี ้ไม่เพียงแต่ทาให้ ประชาชนเข้ าใจในสิง่ ที่เราต้ องการจะสือ่ สาร แต่ ยังหมายถึงว่า
เราได้ สนับสนุนให้ ประชาชนได้ ร่วมกันเรียนรู้ ถกเถียง ขบคิด และเคารพในความคิดเห็นของกันและกัน อันจะเป็ นวิถีที่
นาไปสูก่ ารพัฒนากระบวนการทางประชาธิปไตยต่อไป

เรามิอาจหาญที่จะกล่ าวว่ าสิ่งที่เราทานัน้ ยิ่งใหญ่ หรื อมีความสาคัญใหญ่ โตในกระบวนการการเรี ยนรู้


และกระบวนการการพัฒนาประชาธิปไตยไทย เราตระหนักดีว่าเราเป็ นเพียงจุดเล็กๆ จุดหนึ่งในขบวน
ประชาชนแลสายธารประชาธิปไตยนี ้ เราเพียง แต่ คาดหวังว่ าจะเห็นจุดเล็กๆ เช่ นเรา สามารถกระจายตัวไปได้
ในพืน้ ที่ต่างๆ เพื่อที่จะเป็ นกาลังหนึ่งที่จะช่ วยขับดันกงล้ อการพัฒนาไปข้ างหน้ าร่ วมกับพลังอื่นๆ เพียงเท่ า
นัน้ เอง

You might also like