You are on page 1of 18

ความรักของพระพุทธเจ้านั้นแท้จริงแล้วคือ

ความรักสรรพสัตว์ท้ ัง
์ ัน
โลก หรือคือความเมตตาอันบริสุทธิน ่ เอง

มิใช่เป็ นความรักที่เจือด้วยตัณหาแบบความ

รักของปุถุชนคนมีกเิ ลสหนาทัว่ ไป แต่เป็ น

ความรักที่เจือด้วย

สติปัญญายิง่ ใหญ่และเมตตากรุณาบริสุทธิ์

โดยเราเรียกความรักแบบนี้ ว่า "พระ

มหากรุณาธิคุณ"
พูดให้ชัดก็คือ "พระพุทธเจ้ามีความรู้สึกเสมอกันในเทวทัตและราหุล" โดยที่เทวทัต

เป็ นผู้จองล้างจองผลาญ

พระพุทธองค์ แต่ราหุลเป็ นโอรสเมื่อก่อนจะออกบวชแสวงหาโพธิญาณและตามออก

มาบวชเป็ นสามเณร

รูปแรกในพระพุทธศาสนา ความรู้สึกที่มีต่อทั้งสองชีวิตนั้นไม่ต่างกันเลยในพระทัย

ของผู้เป็ นเจ้าแห่งธรรม

ด้วยเหตุว่าความรักของพระองค์น้ ันไปพ้นจากความรู้สึกเป็ นตัวกูของกูโดยประการ


ทั้งปวง (http://www.prajan.com/webboard/view.php?
id=16928Feb.06.02.2011)

ใจดีเหมือนมีแก้ว

ยามใดทำาใจให้ผ่องแผ้ว

เหมือนได้แก้วมีค่าเป็ นราศี

ยามใดทำาใจให้ราคี

เหมือนมณีแตกหมดลดราคา

(http://guru.google.co.th/guru/thread?
tid=508f16ec3d24083b&pli=1Feb.06022011)

คนเราเกิดมาในโลกนี้

ถือว่าเป็ นผู้ที่มีบุญแล้ว

แต่จะเป็ นที่มีคุณค่า

ก็อยู่ที่การสร้างค่าให้เกิดขึ้นแก่ตนเอง

ค่าของคน... อยู่ที่ผลของใจ...

ค่าของใคร... อยู่ที่ใจของเขา...

ขายไข่ป้ ิ ง... ก็สุขได้ถ้าจิตใจดี

ตำาแหน่งใหญ่เป็ นรัฐมนตรี.. จะสุขไหมถ้าใจโกง

โดย พระอาจารย์เผด็จ

http://www.dhammadelivery.com/webboard.php?action=show&id=12962

พุทธวิธีในการสอน
• ข้อสรุปพระคุณสมบัตของพระพุทธเจ้าที่ควรสังเกต
• หลักทั่วไปในการสอน
• ลีลาการสอน
• วิธีการสอบแบบต่างๆ
• กลวิธี และอุบายประกอบการสอน
• นิ เทศอาทิตตปริยายสูตร

• ข้อควรสังเกตุในแง่การสอน

ข้อสรุปพระคุณสมบัติของพระพุทธเจ้าทีค
่ วรสังเกต
1. ทรงสอนสิ่งที่เป็ นจริง และเป็ นประโยชน์แก่ผู้ฟัง
2. ทรงรู้เข้าใจสิ่งที่สอนอย่างถ่องแท้สมบูรณ์
3. ทรงสอนด้วยเมตตา มุ่งประโยชน์แก่ผู้รับคำาสอนเป็ นที่ต้ง
ั ไม่หวังผล
ตอบแทน
4. ทรงทำาได้จริงอย่างที่สอน เป็ นตัวอย่างที่ดี
5. ทรงมีบุคลิกภาพโน้มน้าวจิตใจให้เข้าใกล้ชิดสนิ ทสนม และพึงพอใจได้
ความสุข

6. ทรงมีหลักการสอน และวิธีสอนยอดเยี่ยม

หลักทั่วไปในการสอน
• เกี่ยวกับเนื้ อหา หรือเรื่องที่สอน

1. สอนจากสิ่งที่รู้เห็นเข้าใจง่าย หรือรู้เห็นเข้าใจอยู่แล้ว ไปหาสิ่งที่


เห็นเข้าใจได้ยาก หรือยังไม่รู้ไม่เห็นไม่เข้าใจ
2. สอนเนื้ อเรื่องที่ค่อยลุ่มลึก ยากลงไปตามลำาดับขั้น และความต่อ
เนื่ องกันเป็ นสายลงไป อย่างที่เรียกว่า สอนเป็ นอนุบุพพิกถา..
3. ถ้าสิ่งที่สอนเป็ นสิ่งที่แสดงได้ ก็สอนด้วยของจริง ให้ผู้เรียน ได้ดู
ได้เห็น ได้ฟังเอง อย่างที่เรียกว่าประสบการณ์ตรง
4. สอนตรงเนื้ อหา ตรงเรื่อง คุมอยู่ในเรื่อง มีจุด ไม่วกวน ไม่ไขว้
เขว ไม่ออกนอกเรื่องโดยไม่มีอะไรเกี่ยวข้องในเนื้ อหา
5. สอนมีเหตุผล ตรองตามเห็นจริงได้ อย่างที่เรียกว่า สนิ ทานำ
6. สอนเท่าที่จำาเป็ นพอดี สำาหรับให้เกิดความเข้าใจ ให้เการเรียนรู้
ได้ผล ไม่ใช่สอนเท่าที่ตนรู้ หรือสอนแสดงภูมิว่าผู้สอนมีความ
รู้มาก
7. สอนสิ่งที่มีความหมาย ควรที่เขาจะเรียนรู้ และเข้าใจ เป็ น
ประโยชน์แก่ตัวเขาเอง อย่างพุทธพจน์ท่ีว่า พระองค์ทรงมีพระ
เมตตา หวังประโยชน์แก่สัตว์ท้ังหลาย จึงตรัสพระวาจาตามหลัก
6 ประการคือ
1. คำาพูดที่ไม่จริง ไม่ถูกต้อง ไม่เป็ นประโยชน์ ไม่เป็ นที่รก
ั ที่
ชอบใจของผู้อ่ ืน - ไม่ตรัส
2. คำาพูดที่จริง ถูกต้อง แต่ไม่เป็ นประโยชน์ ไม่เป็ นที่รก
ั ที่
ชอบใจของผู้อ่ ืน - ไม่ตรัส
3. คำาพูดที่จริง ถูกต้อง เป็ นประโยชน์ ไม่เป็ นที่รักที่ชอบใจ
ของผู้อ่ ืน - เลือกกาลตรัส
4. คำาพูดที่ไม่จริง ไม่ถูกต้อง ไม่เป็ นประโยชน์ ถึงเป็ นที่รักที่
ชอบใจของผู้อ่ ืน - ไม่ตรัส
5. คำาพูดที่จริง ถูกต้อง ไม่เป็ นประโยชน์ ถึงเป็ นที่รักที่ชอบใจ
ของผู้อ่ ืน - ไม่ตรัส
6.

คำาพูดที่จริง ถูกต้อง เป็ นประโยชน์ เป็ นที่รักที่ชอบใจของผู้อ่ ืน -


เลือกกาลตรัส

ลักษณะของพระพุทธเจ้าในเรื่องนี้ คือ ทรงเป็ นกาลวาที สัจจวาที ภูตวาที


อัตถวาที ธรรมวาที วินัยวาที

• เกี่ยวกับตัวผู้เรียน
1. รู้ คำานึ งถึง และสอนให้เหมาะสมตามความแตกต่างระหว่าง
บุคคล...
2. ปรับวิธีสอนผ่อนให้เหมาะกับบุคคล แม้สอนเรื่องเดียวกันแต่ต่าง
บุคคล อาจใช้ต่างวิธี
3. นอกจากคำานึ งถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลแล้ว ผู้สอนยังจะ
ต้องคำานึงถึงความพร้อม ความสุกงอม ความแก่รอบแห่งอินทรีย์
หรือญาณ ที่บาลี เรียกว่า ปริปากะ ของผู้เรียนแต่ละบุคคลเป็ น
รายๆ ไปด้วย
4. สอนโดยให้ผู้เรียนลงมือทำาด้วยตนเอง ซึง ่ จะช่วยให้เกิดความรู้
ความเข้าใจชัดเจน แม่นยำาและได้ผลจริง เช่น ทรงสอนพระจูฬ
ปั นถกผู้โง่เขลาด้วยการให้นำาผ้าขาวไปลูบคลำา...
5. การสอนดำาเนิ นไปในรูปที่ให้รู้สก ึ ว่าผู้เรียน กับผู้สอนมีบทบาท
ร่วมกัน ในการแสวงความจริง ให้มีการแสดงความคิดเห็น
โต้ตอบเสรี หลักนี้เป็ นข้อสำาคัญในวิธีการแห่งปั ญญา ซึง ่
ต้องการอิสรภาพในทางความคิด และโดยวิธีน้ี เมื่อเข้าถึงความ
จริง ผู้เรียนก็จะรู้สกึ ว่าตนได้มองเห็นความจริงด้วยตนเอง และมี
ความชัดเจนมั่นใจ หลักนี้ เป็ นหลักที่พระพุทธเจ้าทรงใช้เป็ น
ประจำา และมักมาในรูปการถามตอบ
6. เอาใจใส่บค ุ คลที่ควรได้รับความสนใจพิเศษเป็ นรายๆ ไปตาม
ควรแก่กาละเทศะ และเหตุการณ์...
7. ช่วยเหลือเอาใจใส่คนที่ด้อย ที่มีปัญหา...
• เกี่ยวกับตัวการสอน
1. ในการสอนนั้น การเริ่มต้นเป็ นจุดสำาคัญมากอย่างหนึ่ การเริ่ม
ต้นที่ดมี ีส่วนช่วยให้การสอนสำาเร็จผลดีเป็ นอย่างมาก อย่างน้อย
ก็เป็ นเครื่องดึงความสนใจ และนำาเข้าสู่เนื้ อหาได้ พระพุทธเจ้า
ทรงมีวิธีเริ่มต้นที่น่าสนใจมาก โดยปกติพระองค์จะไม่ทรงเริ่ม
สอนด้วยการเข้าสู่เนื้ อหาธรรมที่เดียว แต่จะทรงเริ่มสนทนากับ
ผู้ทรงพบ หรือผู้มาเฝ้ าด้วยเรื่อที่เขารู้เข้าใจดี หรือสนใจอยู่...
2. สร้างบรรยากาศในการสอนให้ปลอดโปร่ง เพลิดเพลินไม่ให้
ตึงเครียด ไม่ให้เกิดความอึดอัดใจ และให้เกียรติแก่ผู้เรียน ให้
เขามีความภูมใิ จในตัว
3. สอนมุ่งเนื้ อหา ม่ง
ุ ให้เกิดความร้ค
ู วามเข้าใจในสิ่งที่สอนเป็ น
สำาคัญ ไม่กระทบตนและผู้อ่ ืน ไม่มุ่งยกต ไม่มุ่งเสียดสีใครๆ...
4. สอนโดยเคารพ คือ ตั้งใจสอน ทำาจริง ด้วยความรู้สึกว่าเป็ นสิ่มี
ค่า มองเห็นความสำาคัญของผู้เรียน และงาสั่งสอนนั้น ไม่ใช้
สักว่าทำา หรือเห็นผู้เรียนโง่เขลา หรือเห็นเป็ นชั้นตำ่าๆ
5. ใช้ภาษาสุภาพ น่ ุมนวล ไม่หยาบคาย ชวนให้สบายใจ สละสลวย
เข้าใจง่าย

ขอนำาพุทธพจน์แห่งหนึ่ ง ที่ตรัสสอนภิกษุผู้แสดงธรรมเรียกกันว่า องค์แห่งพระธร


รมกถึก มาแสดงไว้ดงั นี้

"อานนท์ การแสดงธรรมให้คนอื่นฟั ง มิใช่สิ่งที่กระทำาได้ง่าย ผู้แสดงธรรมแก่คน


อื่น พึงตั้งธรรม 5 อย่างไว้ในใจ คือ

1. เราจักกล่าวชี้แจงไปตามลำาดับ
2. เราจักกล่าวชี้แจงยกเหตุผลมาแสดงให้เข้าใจ
3. เราจักแสดงด้วยอาศัยเมตตา
4. เราจักไม่แสดงด้วยเห็นแก่อามิส

5. เราจักแสดงไปโดยไม่กระทบตน และผู้อ่ ืน "

ลีลาการสอน
คุณลักษณะซึ่งเรียกได้ว่าเป็ นลีลาในการสอน 4 อย่าดังนี้

1. อธิบายให้เห็นชัดเจนแจ่มแจ้ง เหมือจูงมือไปดูเห็นกับตา (สันทัสสนา)


2. ชักจูงใจให้เห็นจริงด้วย ชวนให้คล้อยตามจนต้อยอมรับ และนำาไป
ปฏิบัติ (สมาทปนา)
3. เร้าใจให้แกล้วกล้า บังเกิดกำาลังใจ ปลุกให้มีอุตสาหะแข็งขัน มั่นใจว่า
จะทำาให้สำาเร็จได้ ไม่หวั่นระย่อต่อความเหนื่ อยยาก ( สมุตตเตชนา)
4. ชโลมใจให้แช่มชื่น ร่าเริง เบิกบาน ฟั งไม่เบื่อ และเปี่ ยมด้วยความหวัง
เพราะมองเห็นคุณประโยชน์ท่ีตนจะพึงได้รับจากกาปฏิบัติ (สัมปหังส
นา)

อาจผูกเป็ นคำาสั้นๆ ได้ว่า แจ่มแจ้ง จูงใจ หาญกล้า ร่าเริง หรือชี้ชัด เชิญชวน คึกคัก
เบิกบาน

วิธีสอนแบบต่างๆ
วิธีการสอนของพระพุทธเจ้า มีหลายแบบหลายอย่าง ที่น่าสังเกต หรือพบบ่อย คงจะ
ได้แก่วิธีต่อไปนี้

1. สนทนา (แบบสากัจฉา)
2. แบบบรรยาย
3. แบบตอบปั ญหา ท่านแยกประเภทปั ญหาไว้ตามลักษณะวิธีตอบเป็ น 4
อย่างคือ
1. ปั ญหาที่พึงตอบตรงไปตรงมาตายตัว ... (เอกังสพยากรณีย
ปั ญหา)
2. ปั ญหาที่พึงย้อนถามแล้วจึงแก้ ... (ปฎิปุจฉาพยากรณียปั ญหา)
3. ปั ญหาที่จะต้องแยกความตอบ ... (วิภัชชพยากรณียปั ญหา)
4. ปั ญหาที่พึงยับยั้งเสีย (ฐปนี ยปั ญหา) ได้แก่ ปั ญหาที่ถามนอก
เรื่อง ไร้ประโยชน์ อันจักเป็ นเหตุให้เขว ยืดเยื้อ สิ้นเปลืองเวลา
เปล่า พึงยับยั้งเสีย แล้วชักนำาผู้ถามกลับเข้าสู่แนวเรื่องที่
ประสงค์ต่อไป
4. แบบวางกฎข้อบังคับ เมื่อเกิดเรื่องมีภิกษุกระทำาความผิดอย่างใดอย่าง
หนึ่ งขึ้นเป็ นครั้งแรก

กลวิธี และอุบายประกอบการสอน
1. การยกอุทาหรณ์ และการเล่านิ ทานประกอบ การยกตัวอย่างประกอบ
คำาอธิบาย และการเล่านิ ทานประกอบการสอนช่วยให้เข้าใจความได้
ง่าย และชัดเจน ช่วยให้จำาแม่นยำา เห็นจริง และเกิดความเพลิดเพลิน
ทำาให้การเรียนการสอนมีรสยิ่งขึ้น...
2. การเปรียบเทียบด้วยข้ออุปมา คำาอุปมาช่วยให้เรื่องที่ลึกซึ้งเข้าใจยาก
ปรากฏความหมายเด่นชัดออกมา และเข้าใจง่ายขึ้น โดยเฉพาะมักใช้
ในการอธิบายสิ่งที่เป็ นนามธรรม หรือแม้เปรียบเรื่องที่เป็ นรูปธรรม
ด้วยข้ออุปมาแบบรูปธรรม ก็ช่วยให้ความหนักแน่ นเข้า... การใช้อุปมา
นี้ น่าจะเป็ นกลวิธีประกอบการสอนที่พระพุทธองค์ทรงใช้มากที่สุด
มากกว่ากลวิธีอ่ ืนใด
3. การใช้อุปกรณ์การสอน ในสมัยพุทธกาล ย่อมไม่มีอุปกรณ์การสอน
ชนิ ดต่างๆ ที่จัดทำาขึ้นไว้เพื่อการสอนโดยเฉพาะ เหมือนสมัยปั จจุบัน
เพราะยังไม่มีการจัดการศึกษาเป็ นระบบขึ้นมากอย่างกว้างขวาง หาก
จะใช้อุปกรณ์บ้าง ก็คงต้องอาศัยวัตถุสิ่งของที่มีในธรรมชาติ หรือ
เครื่องใช้ต่างๆ ที่ผู้คนใช้กันอยู่
4. การทำาเป็ นตัวอย่าง วิธีสอนที่ดีท่ีสุดอย่างหนึ่ ง โดยเฉพาะในทาง
จริยธรรม คือการทำาเป็ นตัวอย่าง ซึง ่ เป็ นการสอนแบบไม่ต้องกล่าว
สอน เป็ นทำานองการสาธิตให้ดู แต่ท่ีพระพุทธเจ้าทรงกระทำานั้นเป็ นไป
ในรูปทรงเป็ นผู้นำาที่ดี การสอนโดยทำาเป็ นตัวอย่าง ก็คือ พระจริยวัตร
อันดีงามที่เป็ นอยู่โดยปกติน้ันเอง แต่ท่ีทรงปฏิบัตเิ ป็ นเรื่องราวเฉพาะก็
มี...
5. การเล่นภาษา เล่นคำา และใช้คำาในความหมายใหม่ การเล่นภาษาและ
การเล่นคำา เป็ นเรื่องของความสามารถในการใช้ภาษาผสมกับ
ปฏิภาณ ข้อนี้ ก็เป็ นการแสดงให้เห็นถึงพระปรีชาสามารถของ
พระพุทธเจ้าที่มีรอบไปทุกด้าน...แม้ในการสอนหลักธรรมทั่วไป
พระองค์ก็ทรงรับเอาคำาศัพท์ท่ีมีอยู่แต่เดิมในลัทธิศาสนาเก่ามาใช้ แต่
ทรงกำาหนดความหมายใหม่ ซึงเป็ นวิธีการช่วยให้ผู้ฟังผู้เรียนหันมา
สนใจ และกำาหนดคำาสอนได้ง่าย เพียงแต่มาทำาความเข้าใจเสียใหม่
เท่านั้น และเป็ นการช่วยให้มีการพิจารณาเปรียบเทียบไปในตัวด้วยว่า
อย่างไหนถูก อย่างไหนผิดอย่างไร จึงเห็นได้ว่า คำาว่า พรหม
พราหมณ์ อริยะ ยัญ ตบะ ไฟบูชายัญ ฯลฯ ซึง ่ คำาในลัทธิศาสนาเดิม ก็
มีใช้ในพระพุทธศาสนาด้วยทั้งสิ้น แต่มีความหมายต่างออกไปเป็ น
อย่างใหม่
6. อุบายเลือกคน และการปฏิบัตร ิ ายบุคคล การเลือกคนเป็ นอุบายสำาคัญ
ในการเผยแพร่ศาสนา ในการประกาศธรรมของพระพุทธเจ้า เริม ่ แต่
ระยะแรกประดิษฐานพระพุทธศาสนาจะเห็นได้ว่าพระพุทธเจ้าทรง
ดำาเนิ นพุทธกิจด้วยพระพุทโธบายอย่างทีเรียกว่า การวางแผนที่ได้ผล
ยิ่ง ทรงพิจารณาว่าเมื่อจะเข้าไปประกาศพระศาสนาในถิ่นใดถิ่นหนึ่ ง
ควรไปโปรดใครก่อน
7. การรู้จักจังหวะ และโอกาส ผู้สอนต้องรู้จักใช้จังหวะ และโอกาสให้เป็ น
ประโยชน์
8. ความยืดหยุ่นในการใช้วิธก ี าร ถ้าผู้สอนสอนอย่างไม่มีอัตตา ตัดตัณหา
มานะ ทิฏฐิเสียให้นอ ้ ยที่สุด ก็จะมุ่งไปยังผลสำาเร็จในการเรียนรู้เป็ น
สำาคัญ สุดแต่จะใช้กลวิธีใดให้การสอนได้ผลดีท่ีสุด ก็จะทำาในทางนั้น
ไม่กลัวว่าจะเสียเกียรติ ไม่กลัวจะถูกรู้สึกว่าแพ้
9. การลงโทษ และให้รางวัล การใช้อำานาจลงโทษ ไม่ใช้การฝึ กคนของ
พระพุทธเจ้า แม้ในการแสดงธรรมตามปกติพระองค์ ก็แสดงไปตาม
เนื้ อหาธรรมไม่กระทบกระทั้งใคร... การสอนไม่ต้องลงโทษ เป็ นการ
แสดงความสามารถของผู้สอนด้วย ในระดับสามัญ สำาหรับผู้สอนทั่วไป
อาจต้องคิดคำานึงว่าการลงโทษ ควรมีหรือไม่ แค่ไหน และอย่างไร แต่
ผู้ท่ีสอนคนได้สำาเร็จผลโดยไม่ต้องใช้อาญาโทษเลย ย่อมชื่อว่าเป็ นผู้มี
ความสามารถในการสอนมากที่สุด

10. กลวิธีแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ปั ญหาเฉพาะหน้าที่เกิดขึ้นต่างครั้ง ต่าง


คาว ย่อมมีลักษณะแตกต่างกันไปไม่มีท่ีสิ้นสุด การแก้ปัญหาเฉพาะ
หน้าย่อมอาศัยปฏิภาณ คือ ความสามารถในการประยุกต์หลัก วิธีการ
และกลวิธีต่างๆ มาใช้ให้เหมาะสม เป็ นเรื่องเฉพาะครั้ง เฉพาะคราวไป

นิ เทศอาทิตตปริยายสูตร
ในการพิจารณาพระสูตรนี้ เพื่อทำาความเข้าใจให้เป็ นประโยชน์ในการสอน ความในพระ
สูตรนี้ อาจสรุปได้เป็ น 4 ตอนดังนี้

1. สภาพที่เป็ นปั ญหา สิ่งที่พระองค์ตรัสว่าลุกเป็ นไฟนั้นมีดังต่อไปนี้


o จักษุ รูป จักขุวิญญาณ จักขุสัมผัส จักขุสัมผัสสชาเวทนา
o โสตะ (หู) เสียง โสตวิญญาณ โสตสัมผัส โสตสัมผัสสชา เวทนา
o ฆานะ (จมูก) กลิน ่ ฆานวิญญาณ ฆานสัมผัส ฆานสัมผัสสชา
เวทนา
o ชิวหา (ลิ้น) รส ชิวหา วิญญาณ ชิวหาสัมผัส ชิวหาสัมผัสสช
เวทนา
o กาย โผฎฐัพพะ กายวิญญาณ กายสัมผัส กายสัมผัสสชาเวทนา
o มนะ (ใจ) ธรรมะ (ความคิดคำานึ งต่างๆ) มโนวิญญาณ มโนสัมผัส
มโนสัมผัสสชาเวทนา
2. สาเหตุ เมื่อ กำาหนดตัวปั ญหาได้ และเข้าใจสภาพของปั ญหาแล้ว ก็
ค้นหาสาเหตุให้เกิดไป หรือตัวไฟที่เผาผลาญนั้นต่อไปได้ความว่า สิ่งที่
กล่าวมานั้น ลุกไหม้ด้วยกิเลส 3 อย่าง 8nv
o ราคะ ความอยากได้ ความใคร่ ความติดใจ ความกำาหนัดยินดี
o โทสะ ความโกรธ ความขัดใจ ความเดือดแค้นชิงชังไม่พอใจ
ต่างๆ
o โมหะ ความหลง ความไม่รู้ ไม่เข้าใจสภาพของสิ่งทั้งหลายตาม
ความเป็ นจริง
3. ข้อปฏิบัติเพื่อแก้ไข พระพุทธองค์ตรัสต่อไปอีกว่า อริยสาวกผู้ได้เรียนรู้
แล้ว เมื่อเห็นอยู่แย่างนี้ ย่อมหน่ ายในอายตนะภายใน ภายนอก ตลอด
ถึงเวทนาทั้งหมดเหล่านั้น เมื่อหย่ายก็ย่อมไม่ยึดติด
4. ผล เมื่อไม่ยึดติด ก็หลุดพ้น เมื่อหลุดพ้น ก็เกิดญาณหยั่งรู้ ว่าหลุดพ้น
แล้ว เป็ นอันสิ้นชาติ อยู่จบพรหมจรรย์ ทำาสิ่งที่จะต้องทำาเสร็จสิ้นแล้ว
สิ่งที่จะต้องทำาเพื่อเป็ นอย่างนี้ ไม่มเี หลืออีกเลย

พระธรรมเทศนา อาทิตตปริยายสูตร ที่ทรงแสดงแก่ชฏิล มีข้อควรสังเกตในแง่การสอน


ที่เป็ นข้อสำาคัญ 2 อย่างคือ

1. ทรงสอนให้ตรงกับความถนัด และความสนใจของชฏิล พระธรรม


เทศนาของพระพุทธเจ้า ไม่ว่าจะทรงแสดงที่ใด และแก่ใครย่อมมีจุด
หมายเป็ นแนวเดียวกัน คือ ม่ง ุ ให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ในสภาวะของ
สิ่งทั้งหลายตามความเป็ นจริง แล้วให้มีทัศนคติ และ ปฎิบัตต ิ ่อสิ่งเหล่า
นั้นอย่างถูกต้องในทางที่เป็ นประโยชน์ท้ังแก่ตน และบุคคลอื่น...

2. ทรงสอนให้ตรงกับระดับสติปัญญา และระดับชีวต ิ ของชฏิล ข้อสำาคัญ


ยิ่งอย่างหนึ่ ง ที่พระพุทธเจ้าทรงคำานึ งถึงในการทรงสอน คือ ความยิ่ง
และหย่อนแห่งอินทรีย์ของผู้ฟัง ทรงพิจารณาว่าผู้ฟังมีสติปัญญาอยู่ใน
ระดับใด ได้รับการศึกษาอบรมมาในทางใดมากน้อยเพียงไหน ดำารง
ชีวิตอยู่อย่างไร จะต้องแสดงเรื่องอะไรเขาจึงจะรู้เข้าใจ สามารถนำาไป
ใช้เป็ นคุณประโยชน์แก่ชีวิตของเขาได้

ที่มา : ทศวรรษธรรมทัศน์พระธรรมปิ ฏก หมวดพุทธศาสตร์ ผู้แต่ง พระ


ธรรมปิ ฏก สำานักพิมพ์ ธรรมสภา พ.ศ. 2542
(http://www.easyinsurance4u.com/buddha4u/bud
dha%20teaching%20style.htmFeb.07022011 )
พุทธพจน์ ว่าด้วยรัก

ความโศกย่อมเกิดแต่ของที่รก

ภัยย่อมเกิดแต่ของที่รก

ความโศกย่อมไม่มีแก่บุคคลผู้พูนวิเศษแลูว

จากของที่รก
ั ภัยจักมีแต่ที่ไหน

ความโศกย่อมเกิดแต่ความรัก

ภัยย่อมเกิดแต่ความรัก

ความโศกย่อมไม่มีแก่บุคคลผู้พูนวิเศษแลูว

จากความรัก ภัยจักมีแต่ที่ไหน

ความโศกย่อมเกิดแต่ความยินดี

ภัยย่อมเกิดแต่ความยินดี

ความโศกย่อมไม่มีแก่บุคคลผู้พูนวิเศษแลูว
จากความยินดี ภัยจักมีแต่ท่ีไหน

ความโศกย่อมเกิดแต่กาม

ภัยย่อมเกิดแต่กาม

ความโศกย่อมไม่มีแก่บุคคลผู้พูนวิเศษแลูว

จากกาม ภัยจักมีแต่ท่ีไหน

ความโศกย่อมเกิดแต่ตัณหา

ภัยย่อมเกิดแต่ตัณหา

ความโศกย่อมไม่มีแก่บุคคลผู้พูนวิเศษแลูว

จากตัณหา ภัยจักมีแต่ท่ีไหน

พระพุทธเจูา ตรัสแก่ภิกษุสาวก ถึงเรื่องความรักไวูว่าความรักเป็ นความรูาย ความ

รักเป็ นสิ่งทารุณและเป็ นเครีอ


่ งทำาลายความสุขของปวงชน ทุกคนตูองการความ

สมหวังในชีวิตรักแต่ความรักไม่เคยใหูความสมหวังแก่ใครถึงครึง่ หนึ่ ง

แห่งความตูองการ ยิ่งความรักที่ฉาบทาดูวยความเสน่หาดูวยแลูวก็เป็ นพิษแก่จิตใจ

ทำาใหูทรุ นทุราย ดิ้นรนไม่รู้จัจบจักสิ้น ความสุขที่เกิดจากความรักนั้ นเหมือนความ

สบายของคนป่ วยที่ไดูกินของแสลง
เธอทั้งหลายอย่าไดูพอใจในความรักเลยเมื่อหัวใจยึดถือไวูดูวยความรัก หัวใจนั้ นจะ

สรูางความหวังขึ้นอย่างเจิดจูาแต่ทุกครั้งที่เราหวัง ความผิดหวังก็จะรอเราอย่้

การไม่มีภรรยา เป็ นลาภอันประเสริฐ

การไม่มีสามี เป็ นลาภอันประเสริฐ

ที่พระพุทธเจูาตรัสไวูเช่นนี้ เพื่อเตือนว่า ชีวิตค่้มีทุกข์สุขคละเคลูากันไป

แต่เกือบทุกค่้ ทุกข์จะมากกว่าสุขตามวัย ตามสัญชาตญาณของสัตว์โลกมักแสวงหา

ชีวิตค่้แลูวก็เกิดความรัก ความผ้กพัน ตามมา ความรู้สึกกว่าความรักเป็ นสิ่ง

สวยงามเป็ นความสุขอย่างที่สุดนั้ น เป็ นความรู้สึกของตัณหาเพื่อที่จะไดูความสุข

นั้ น เหมือนตูองติดหนี้ สินมากมาย เพราะเมื่อไดูดำาเนิ นชีวิตค่้ไปแลูวหลายคนรู้สึก

ว่าตัวเองไดูคำานวณผิดพลาดไป ดอกเบี้ยแพง ตั้งใจแกูตัว พยายามอย่างไรก็ติดลบ

ตลอดมีทุกข์มาก มีสุขนูอย หลายค่้ก็ผิดหวังเหมือนมีหนี้ สิน ชดใชูไม่รู้จักจบจักสิ้น

http://www.pranippan.com/new/board/index.php?showtopic=326

ทำาไมคนจึงไม่เมตตา ต่อกัน ทั้งๆที่รู้ว่า เมตตามีคุณ

มากมาย อย่างน้อย มี ๑๑ ประการ คือ


ย่อมหลับเป็นสุข, ย่อมตื่นเป็นสุข, ย่อมไม่ฝันลามก,
ย่อมเป็นทีร
่ ักแห่งมนุษย์ทัง
้ หลาย, ย่อมเป็นทีร
่ ักแห่ง
อมนุษย์ทัง
้ หลาย, เทวดาทัง ้ หลายย่อมรักษา, ไฟ ยา
พิษ หรือศาตราย่อมไม่กล้้ากรายได้, จิตย่อมตัง้ มัน

โดยรวดเร็ว, สีหน้าย่อมผ่องใส, เป็นผ้ไ
ู ม่หลงใหลท้า
กาละ, เมื่อไม่แทงตลอดคุณอันยิง่ ย่อมเป็นผู้เข้าถึง
พรหมโลก
เมตตาเกิดจากจิตที่ดีมีปัญญา กระทบแล้วไม่กระเทือน เห็น
ความทุกข์ของเพื่อนมนุษย์และสรรพสัตว์ ที่กำาลังถูก กิเลส ราคะ โทสะ โมหะ

ครอบงำา
การแผ่เมตตานัน ้ ยัง มีจด
ุ ประสงค์เพื่อละพยาบาท
เช่นที่พระพุทธองค์ตรัสสอนพระราหุลในราหุโลวาทสูตรมี
ความว่า…

ดูกรราหุล เธอจงเจริญเมตตาภาวนาเถิด เพราะเมื่อเธอ


เจริญเมตตาภาวนาอยู่ จักละพยาบาทได้

และเมื่อเข้าใจแล้วว่าเราต้องการ ละพยาบาท ก็ต้อง


ทำาความเข้าใจให้ละเอียดต่อ ไปอีกชั้นหนึ่ ง ว่า "ความ
โกรธ" กับ "ความพยาบาท" นั้นเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
สำาหรับความโกรธนั้นคือตัวโกธะ ซึ่งอาจหมายถึงความขุ่น
เคืองที่ เกิดจากผัสสะกระทบใดๆ อาการทางจิตโดยทั่วไป
จะเหมือนไฟไหม้ฟาง คือวูบหนึ่ ง หรือระยะหนึ่ งแล้วดับหาย
ไป ส่วนความพยาบาทนั้นจะหมายเอาความแค้นใจ ความ
เจ็บใจ ความคิดร้าย ซึ่งเป็ นตรงข้ามกับเมตตาโดยตรง
พฤติของจิตจะเป็ นไปในทางผูกใจ คิดแก้แค้นเอาคืน หรือ
แม้ไม่ถึงขั้นลงมือเอาคืน ก็มีอาการขัดเคือง ขุ่นข้องค้างเติ่ง
อยู่อย่างนั้น

เมื่อเข้าใจตรงนี้ ก็จะเห็นว่าตัวความโกรธอาจพัฒนาเป็ น
ความพยาบาท หรืออาจจะหายไปเสียเฉยๆก็ได้ ขึ้นอยู่กับ
เหตุปัจจัยหลายต่อหลาย ประการ ดังนั้นเราเอาจแผ่เมตตา
เพื่อระงับ ความโกรธ ตัดไฟแต่ต้นลมเพื่อมิให้ลุกลาม เป็ น
พยาบาทก็ได้ หรืออาจแผ่เมตตาเพื่อทำาความพยาบาทที่
ครอบงำาจิตอยู่แล้วให้สูญไปก็ดี ทั้งนี้ ต้องเข้าใจว่าการแผ่
เมตตามิใช่การทำาเชื้อแห่งความโกรธให้ดับลงสนิ ท เพราะ
นั่นเป็ นงานวิปัสสนา เราแผ่เมตตาเป็ นงานสมถะ เพื่อทำาจิต
ให้มีคุณภาพพอจะต่อยอด เป็ นวิปัสสนาในภายหลัง

และเมื่อทำาความเข้าใจเป็ นอย่าง ดีแล้วว่าจุดประสงค์ของ


การแผ่ เมตตาเป็ นไปเพื่อละพยาบาท อันเป็ นของครอบงำา
จิตระยะยาว ก็ต้องเห็นซึ้งยิ่งขึ้นไป ว่าการแผ่เมตตาเป็ น
เรื่องของการ "เปลี่ยนนิ สัย" คือต้อง "ละพยาบาท" ให้ขาด
จากจิต แม้โกรธขึ้นก็เหมือนจุดไฟดวงน้อย เรามีน้ ำากลุ่ม
ใหญ่ไว้สาดให้ดับพร้อมอยู่แล้ว

เมื่อแผ่เมตตาเป็ น จะเกิดกระแสจิตอีกแบบหนึ่ งที่ทำาให้รู้ว่า


กรรมฐานข้อนี้ ต่างกับข้ออื่น คือถึงจุดหนึ่ งแล้วเหมือนจิต
ฉาย รัศมีเมตตาออกมาเองโดยไม่ต ้องกำาหนด เนื่ องจาก
เมตตาเป็ นธรรมชาติของ จิตที่เปล่งประกายได้โดย
ปราศจาก เจตจำานงบังคับ ตรงนั้นจะเห็นอานิ สงส์ของการ
แผ่เมตตาตามที่พระพุทธองค์ตรัสไว้ในเมตตาสูตร

ดูกรภิกษุท้ังหลาย เมื่อเมตตาเจโตวิมุติ อันบุคคลเสพแล้ว


เจริญแล้ว ทำาให้มากแล้ว ทำาให้เป็ นดุจยาน ทำาให้เป็ นที่ต้ัง
ให้ต้ังมั่นโดยลำาดับ สั่งสมดีแล้ว ปรารภด้วยดีแล้ว พึงหวัง
อานิ สงส์ ๑๑ ประการคือ ย่อมหลับเป็ นสุข, ย่อมตื่นเป็ นสุข,
ย่อมไม่ฝันลามก, ย่อมเป็ นที่รักแห่งมนุษย์ท้ังหลาย, ย่อม
เป็ นที่รักแห่งอมนุษย์ท้ัง หลาย, เทวดาทั้งหลายย่อมรักษา,
ไฟ ยาพิษ หรือศาตราย่อมไม่กลำ้ากรายได้, จิตย่อมตั้งมั่น
โดยรวดเร็ว, สีหน้าย่อมผ่องใส, เป็ นผู้ไม่หลงใหลทำากาละ,
เมื่อไม่แทงตลอดคุณอันยิ่ง ย่อมเป็ นผู้เข้าถึงพรหมโลก

สำาหรับงานภาวนาในสติปัฏฐาน 4 คงหวังผลเด่นประการ
หนึ่ งจากบรรดาอานิ สงส์ท้ัง 11 ข้อข้างต้นนี้ นั่นคือ "จิต
ย่อมตั้งมั่นโดยรวดเร็ว" ซึ่งสำาหรับอานิ สงส์ดังกล่าวย่อม รู้
ได้โดยไม่จำาเป็ นต้องพิสูจน์ เสียก่อน ใช้เหตุผลตามจริงที่ว่า
เมื่อจิต สงบ อ่อนโยน มีความสุข ปราศจากการคุมแค้น
อาฆาตใคร ไม่คิดจองเวรใคร ก็ย่อมปราศจากคลื่นความฟ้ ุง
ใน หัว และพร้อมพอใจะเข้าสู่ความตั้งมั่น ในอารมณ์ใด
อารมณ์หนึ่ งที่ต้อง การได้ง่ายๆแน่ นอน

การเจริญเมตตาภาวนานั้นแบ่งออก ได้เป็ นสองลักษณะ


ใหญ่ๆตามวิธี ดำาเนิ นจิต แบบแรกคือใช้จิตที่ยังคิดนึ กส่ง
ความปรารถนาดี ปรารถนาให้บุคคล สัตว์ หรือสิ่งของอัน
เป็ นเป้ าหมายมีความสุข แบบที่สองคือกำาหนดจิตอันตั้งมั่น
แล้ว แผ่กระแสเมตตาออกตามรัศมีจิต เริ่มต้นอาจจะเพียง
ในระยะสั้นเพียงสองสามเมตร ต่อมาเมื่อล็อกไว้ได้นาน ก็
อาศัยกำาลังอันคงตัวนั้น ยืดขยายระยะ หรือตั้งขอบเขตออก
ไปไกลๆ กระทั่งถึงความไม่มีประมาณ ทิศเดียวบ้าง หลาย
ทิศพร้อมกันบ้าง ตลอดจนครอบโลกโดยปราศจากทิศคั่น
แบ่งบ้าง เป็ นผลพิสดารในภายในอันรู้ได้ด้วยตนเองเมื่อ
สามารถทำาสำาเร็จ

เมื่อทราบว่าการเจริญเมตตาภาวนา แบ่งออกเป็ นสองวิถี


ทางอย่าง นี้ ก็พึงทราบว่าการเจริญเมตตาไม่ได้ ขึ้นอยู่กับ
จริตนิ สัย ไม่ได้ขึ้นอยู่กับว่าใครมีปัจจัยใดๆหนุนหลังหรือถ่วง
รั้งเอาไว้ แต่เป็ นเรื่องที่ทุกคนสมควรฝึ ก สมควรทำาให้เกิด
ขึ้นในตน เพื่อขจัดวัชพืชออกไปจากพื้นที่ เพาะพันธ์ุมรรคผล
ในจิตเรา

การฝึ กเจริญเมตตาโดยอาศัยจิตสามัญ

ก่อนอื่นต้องสำารวจด้วยความตระ หนักแบบไม่เข้าข้าง
ตนเอง ว่าเป็ นคนมักโกรธ เป็ นฟื นเป็ นไฟง่าย กับผูกโกรธ
ไว้เผาเราเผาเขาได้น านหรือเปล่า หากร้ต ู ามจริงว่าเป็ น
บุคคลเคราะห์ร้าย คือจัดอยู่ในพวกโกรธง่ายหายช้า ก็ให้
ทราบว่าอย่างนั้นเป็ นคนเมตตาอ่อน มีทน ุ น้อย จะเอามาใช้
เจริญเมตตาเป็ นภาวนา ทันทีทันใดคงยาก

หลายคนได้รับคำาแนะนำาให้ภาวนา สัพเพ สัตตา อเวรา


โหนตุ ขอสัตว์โลกทั้งหลายอย่าได้มีเวรต่อกันและกันเลย
ภาวนาอยู่เกือบสิบปี ยังหน้าตาเหี้ยมเกรียมอยู่เหมือ นเดิม
ทั้งนี้ เพราะตั้งความเข้าใจไว้ ผิดพลาด ว่าแค่ท่องบ่นไปก็คือ
การเจริญเมตตา ภาวนาแล้ว หรือหนักกว่านั้นคือนับ
เป็ นการ แผ่เมตตาแล้ว ขอให้เข้าใจว่าการเจริญเมตตานั้น
เป็ นอาการของจิตที่ส่งความปรารถนาดี ปรารถนาให้ผู้อ่ ืน
เป็ นสุขด้วยใจจริง การท่องบ่นสาธยายมนต์น้ัน ไม่ต่างกับ
นกแก้วนกขุนทองที่พูด ได้คำาสองคำา แต่หามีความเข้าใจ
หรือรับรู้ในภาษาที่ตนพูดไม่

ในมหาสีหนาทสูตรท่านตรัสกะชีเปลือ ยชื่อกัสสปะว่า
เมตตาจิตนั้น คือจิตอันไม่มีเวร ไม่มีความเบียดเบียน ซึ่ง
หมายถึงการคิด การพูด และการทำาอันไม่มีเวรกับใคร ไม่
ได้เบียดเบียนใครให้เดือดร้อน ดังนั้นการ "สร้างทุน" คือ
เมตตาจิตนั้น ก็ต้องอาศัยการหมั่นสำารวจอย่างเข้มงวด ว่า
ชีวิตเราล่วงไปวันต่อวัน ขณะต่อขณะอยู่อย่างนี้ ด้วยอาการ
ผูกเวร ด้วยอาการเบียดเบียนใครหรือไม่
หากสำารวจตามจริง พบในขณะแห่งการคิด การพูด หรือ
การทำา ว่าเราเอาแล้ว ก่อเวรแล้ว เบียดเบียนใครเข้าแล้ว ก็
ต้องรีบเปลี่ยนท่าทีให้เป็ นตรงข้าม คือไม่แม้คิดก่อเวร ไม่
แม้คิดเบียดเบียนใครๆด้วยประการ ใดๆเลย พูดง่ายๆคือถ้า
ถามตัวเองว่าตอน นี้ คิดไม่ดีกับใครหรือเปล่า รู้ตัวแล้วก็
เปลี่ยนให้เป็ นตรง ข้ามเสีย ด้วยความระลึกว่าการคิดไม่ดีย่
อมเป็ นปฏิปักษ์ต่อเมตตาจิต ระลึกไว้เพียงเท่านี้ ก็จะเป็ น
บาท ฐานอันมั่นคงไว้รองรับเมตตา จิตอันจะมาถึงเองข้าง
หน้าแล้ว

แรกๆเมื่อทำาให้เมตตาจิตเกิดขึ้น ในเรานั้น จะเป็ นเรื่องของ


การฝื นใจ อาจไม่เห็นผลเป็ นความสุขความเย็นทันใด บางที
ถึงกับต้องสู้กับความรู้สึกได้เปรียบเสียเปรียบ อันนี้ ถ้าเห็น
ว่ายากหรือเหลือบ่า กว่าแรงนัก ก็อาจเอาแค่ถือศีล 5 ให้
ครบ ให้จิตใจสะอาด นั่นก็เรียกว่าสร้างเมตตาจิตอ ยู่กลายๆ
แล้ว เพราะเมื่อตีกรอบไว้ กำาหนดเจตนาไว้ว่าจะไม่ฆ่าสัตว์
ไม่ลักทรัพย์ ไม่ผิดลูกเขาเมียใคร ไม่มุสา และไม่ร่ ำาสุรา ก็
คือระงับเหตุแห่งเวรและการเบียดเบียนทั้งปวงนั่นเอง
สำารวจใจที่สะอาดด้วยรั้วคือศีล พอเห็นผลตามจริงก็จะเกิด
โสมนัส ขึ้นมา

หลังจากเจริญเมตตาจิตด้วยการคิด การพูด การทำาเป็ น


ร้อยครั้งพันหน กระทั่งรู้สึกถึงกระแสฝ่ ายดี กระแสเย็นใจ
ชุ่มชื่นอันเกิดจากการระงับเวรทั้งปวงแล้ว ชนิ ดที่สามารถ
ระบายยิ้มอ่อนๆ ออกมาได้เองโดยไม่ต้องฝื น พอกระแสนั้น
เอ่อขึ้นมาเมื่อใดขณะไหนก็ตาม อยู่ในบ้านหรือนอกบ้าน
ก็ตาม ให้ฝึกล็อกอยู่กับความรู้สึกภายในชนิ ดนั้นไว้ คือรู้ว่า
เป็ นสุขเย็น และความสุขไม่เคลื่อน ไม่เลื่อนไหลแปรปรวน
เป็ นอื่นง่าย กระทั่งชัดเต็มอยู่ในอกในใจ มีความตั้งมั่นไม่
ต่างกับขณะแห่งการจ่อจิตไว้ท่ีลมหายใจหรืออารมณ์ภาวนา
อื่นๆ ถึงขั้นนี้ เรียกว่ามีทุนไว้ต่อ ทุนในระดับต่อไปแล้ว

ยิ่งถ้าหากมีพ้ ืนนิ สัยอ่อนโยน มีลักษณะแห่งเมตตาอยู่ในตัว


คือนอกจากไม่ก่อเวรแล้ว ยังเป็ นผู้ชอบสร้างสุขผูกไมตรีกับ
คนอื่น และนอกจากไม่เบียดเบียนแล้ว ยังเป็ นผู้ชอบเอื้อเฟื้ อ
เจือจานให้คนอื่นมีชีวิตที่สะดวกสบายขึ้น ก็อาจใช้ทุนประจำา
ตัวได้เลยทันที คือสังเกตว่าขณะที่ไม่ฟุ้งคิด จิตใจสงบสุขอยู่
กับตนเอง บอกตนเองว่านี่ เพราะเราไม่มีเวร ก็ไม่มีใคร
เบียดเบียนตอบ ให้ล็อกเอาความรู้สึกนั้นไว้ในใจ เป็ นองค์
ภาวนาเดีย ๋ วนั้น

หากใครนึ กเถียงอยู่ในใจว่าเมตตา แล้ว แต่ยังถูก


เบียดเบียนอยู่ดี ก็ให้ตัดเรื่องได้เปรียบเสียเปรียบทิ้ง ยิ่งต้น
เหตุย่ัวยุให้เหมือนคลั่ง ก็ย่ิงเป็ นแบบฝึ กชั้นสูง เราจะเอาเป้ า
หมายเดียวคือเมตตา จิต ฉะนั้นต้องละจากการจองเวร ให้
อภัยเป็ นทานเสีย ผ่านขั้นยากได้เท่าไหร่ย่ิงเป็ น อภัยทาน
ชั้นเลิศขึ้นเท่านั้น เมื่อสำารวจแล้วว่าเราให้ทานเป็ น การ
อภัยออกมาจากแก่นแท้ภาย ในแล้วมีความสุข ความสงบ
เย็นทันตาเห็น ก็ดูตามจริงว่านี่ ก็คือลักษณะของเมตตาจิต
ล็อกไว้อย่างนั้นเป็ นองค์ภาวนา ได้เช่นกัน

สรุปคือใช้ชีวิตประจำาวันนั่นแหละ ในการเจริญเมตตา
ภาวนาเบื้องต้น ตราบใดเรายังต้องคิด ต้องเจรจา ต้องมี
กิจกรรมตอบโต้กับชาวโลก ตราบนั้นคือโอกาสในการเจริญ
เมตตาภาวนาของเราทั้งหมด ลองระลึกในทุกขณะว่า
เมตตาเป็ นด้าน หัวของเหรียญ พยาบาทเป็ นด้านก้อยของ
เหรียญ เราพลิกด้านหนึ่ งขึ้นมา อีกด้านหนึ่ งก็หายไปทันที
ตัวที่พลิกจากคิดไม่ดีเป็ นคิดดีกับผู้อ่ ืนนั่นแหละตัวเมตตาอัน
เป็ นที่รู้สึก ได้ชัด ระลึกไว้ง่ายๆอย่างนี้ จะสำารวจความคิด
คำาพูด และการกระทำาของตนเองถนัดขึ้น
http://www.prommapanyo.com/smf/index.php?topic=1350.0

You might also like