You are on page 1of 32

ข้อคิดและกิจกรรมต่างๆที่ “ระบบสุขภาพ” ได้

พยายามทำาเพื่อเข้าถึงความหมายของ “การ
บริการด้วยหัวใจของความเป็นมนุษย์ ผมได้
รวบรวมมาให้ดูเป็นตัวอย่าง
มารุต ดำา
ชะอม

ส่วนการบริการด้วยหัวใจของความเป็น
มนุษย์ ของวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร
พิษณุโลก ต้องทำามากกว่านี้ คือ
ต้องจัดการชีวต
ิ ครอบครัว องค์กรทีท ่ ำางาน
ชุมชน สังคม สิง
่ แวดล้อม และโลก ให้มีหัวใจ
ของความเป็นมนุษย์....เริม
่ เดีย
๋ วนี้ ทต
ี่ ัวเราแต่ละ
คน กลุ่ม และเครือข่ายหัวใจของความเป็น
มนุษย์
เริม
่ ศึกษาเรียน ร้จ ู ักตัวเอง รักตัวเอง มอง
เห็นตัวเองตามทีเ่ ป็นจริง พัฒนาตัวเองให้มี
คุณค่าอันเป็นทีส ่ ุดไม่ใช่ DEAD WOOD เพราะ
เรามิใช่ตอไม้แต่เป็นคนทีต ่ ้องพัฒนาตนให้เป็น
มนุษย์ ทีม ่ ึใจสูงเหนื อสัญชาตญาณอย่างสัตว์
เหนื อความเห็นแก่ตว ั ลองพิจารณาบัญญัติ ๑๐
ประการ : เริม ่ จาก ๑) ไม่เห็นแก่กิน ๒)ไม่เห็น
แก่นอน ๓) ไม่ใช้ปากสร้างกรรม(โอษฐภัย) ๔)
ซื่อสัตย์ต่อตนเอง(มีสัจจะ) ๕) ไม่มีข้ออ้างหรือ
ข้อแก้ตัว ๖) มีเป้ าหมายชีวิตชัดเจน ๗)ทำา
แผนการพัฒนาตัวเอง ๘)กำาหนดวันเวลาชัดเจน
๙) ยำ้ากับตัวเองทุกวันว่าฉันต้องเป็นคนทีม ่ ี
คุณธรรมแห่งความเป็นมนุษย์รักตัวเองคนรอบ
1 รองศาสตราจารย์ ดร. นักวิชาการอิสระ ที่ปรึกษามูลนิ ธิจิตเป็ นผููใหู
ใจเป็ นนิ พพาน
ข้างและสรรพสิง
่ ๑๐) ลงมือทำาทันทีเดีย
๋ วนี้ มิใช่
เดีย
๋ วก่อน

ต่อไปนี้ เป็ นตัวอย่างข้อคิดและกิจกรรมทีร


่ ะบบสุขภาพ
ทำากันมา ลองพิจารณาดูเพื่อประเทืองปั ญญาและเสริม
พลังในการพัฒนาตนเองให้เป็ นมนุษย์ทีส ่ มบูรณ์

ข้อคิดจากหมอโกมาตร : การบริการด้วยหัวใจ
ความเป็นมนุษย์
ไดูฟังการบรรยาย เรื่อง คืนสุนทรียภาพใหูสุขภาพ ของ
นพ.โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ ผููอำานวยการสำานักวิจัยสังคม
และสุขภาพ สวสส. ในการประชุมวิชาการ "Show & Share
ผลงานเด่นและนวัตกรรมสุขภาพจังหวัดนครพนม" เมื่อวันที่
29 ตุลาคม 2552 ที่ผ่านมา จึงนำามาเผยแพร่ครับ ซึ่งผมไดู
เรียบเรียงโดยผสมผสานกับบทความในวารสารหมออนามัย
เดือน กค.- สค.52 ในบทความเรื่อง "มาคืนหัวใจให้ระบบ
สุขภาพกันเถอะ" ของ ชัยณรงค์ สังข์จ่าง เพื่อเติมเต็มบาง
ส่วนที่ผมเก็บขูอมูลจากการฟั งคุณหมอโกมาตรไม่ทัน โดย
สาระสำาคัญของขูอคิดจากหมอโกมาตร : การบริการดูวย
หัวใจความเป็ นมนุษย์ มีดังนี้ ครับ

ภาวะบกพร่องทางจิตวิญญาณของระบบสุขภาพ

เป็ นสิ่งที่พบเห็นจากระบบบริการสุขภาพปั จจุบัน มีบางสิ่งที่


ขาดหายไปจากอดีต เป็ นการบริการที่ขาดความรููสึกผูกพัน
กันอย่างจริงใจ บริการดูวยหัวใจของความเป็ นมนุษย์ เพราะ
การวัดผลสัมฤทธิป ์ ั จจุบัน มุ่งเนูนการวัดเชิงปริมาณ มีตัวชี้วัด
มากมาย บุคลากรสาธารณสุขตูองใชูเวลาประจำาวันไปกับ
2 รองศาสตราจารย์ ดร. นักวิชาการอิสระ ที่ปรึกษามูลนิ ธิจิตเป็ นผููใหู
ใจเป็ นนิ พพาน
การทำางานตอบสนองและรายงานตัวชี้วัด เพื่อใหูไดูผลงานรับ
เงินรางวัล เงินค่าตอบแทนตามที่ระบบกำาหนด เกิดปั ญหา
สัมพันธภาพของทุกฝ่ าย ทั้งผููใหูบริการและผููรับบริการ หรือ
ผููใหูบริการดูวยกัน ส่งผลใหูเกิดความเบื่อหน่ าย ทูอแทู ชินชา
สิ้นหวัง ขาดความกระตือรือรูน สรูางสรรค์งานใหม่ๆ จะเห็น
หลายหน่วยงานมีบุคลากรประเภท “ตอไม้ทีต ่ ายแล้ว”
เปรียบเหมือนการทำางานโดยไม่รูทิศทาง เปู าหมาย คิดว่า
เราคือช่างก่ออิฐ ไม่ใช่กำาลังสรูางวัด สรูางบูานที่ย่ิงใหญ่กว่า
การก่ออิฐ ดังนั้น องค์กรที่มีบุคลากรเหล่านี้ ก็จะเป็ นองค์กรที่
ไม่มีชีวิต สังเกตไดูว่า องค์กรเหล่านี้ มกั ไม่มีการสรูางสรรค์
นวัตกรรม หรือ ผลงานใหม่ๆ ออกมา ระบบวัดผลแบบตัวชี้วัด
ปั จจุบัน ใช่ว่าจะไม่ดี แต่ว่ามันไม่พอที่จะแกูไขภาวะบกพร่อง
ทางจิตวิญญาณของระบบสุขภาพ

ทฤษฎีลิง กับ การเปลีย


่ นแปลงระบบ

มีหลายคนที่ทูอแทู คิดว่า เราเปลี่ยนระบบ เปลี่ยนแนวทาง


ขององค์กรไม่ไดู แต่เคยมีคนทำาวิจัยการเปลี่ยนพฤติกรรม
โดยใชูลิงมาทดลอง เรียกว่า Monkey Theory หรือ ทฤษฎี
ลิง โดยนำาลิง 5 ตัวไปอยู่ในกรง ที่ตรงกลาง มีบันไดตั้งไวู
และมีกลูวยแขวนไวูท่ีเพดาน เมื่อมีลิงตัวใดตัวหนึ่ ง พยายาม
จะปี นบันได ไปกินกลูวย ผููควบคุมจะทำาการลงโทษลิงทั้ง 5
ตัว ดูวยการฉีดนำ้าไปที่ลิง ทำาซำ้าๆ กันจนลิงทั้ง 5 ตัวเกิด
พฤติกรรม " รุมกัด " ลิงตัวที่จะพยายามไปปี นกินกลูวย ก่อน
จะโดนลงโทษฉีดนำ้า จากนั้นนำาลิงตัวใหม่มาแทนลิงชุดเก่า 5
ตัว ทีละตัว เมื่อลิงตัวใหม่ ตัวใดตัวหนึ่ ง พยายามจะปี นกิน
กลูวย ก็จะถูกลิง 5 ตัวเก่า รุมกัด จนเป็ นนิ สยั แมูว่าจะไม่มี
การลงโทษดูวยการฉีดนำ้า และเมื่อนำาลิงเก่าออกไปทั้งหมด
จนเหลือแต่ลิงตัวใหม่ท้ังหมด ก็ปรากฏว่า ยังพบพฤติกรรมลิง
ในกรงรุมกัด ลิงตัวใดตัวหนึ่ งที่ปีนกินกลูวย ทั้งๆ ที่ลิงอยู่ใน
กรงปั จจุบัน ไม่มีลิงตัวใดที่เคยถูกทำาโทษดูวยการฉีดนำ้า จะ
3 รองศาสตราจารย์ ดร. นักวิชาการอิสระ ที่ปรึกษามูลนิ ธิจิตเป็ นผููใหู
ใจเป็ นนิ พพาน
เห็นว่า วัฒนธรรมองค์กรทีเ่ คยปฏิบัติต่อๆ กันมา ใช่ว่า
จะถูกต้องหรือเหมาะสมกับภาวะปั จจุบันเสมอไป และ
บุคลากรในองค์กรสามารถทีจ ่ ะช่วยกันเปลีย
่ นแปลง
ระบบนี้ ได้

รากเหง้าของโรคภาวะบกพร่องทางจิตวิญญาณของ
ระบบสุขภาพ

1. วิธค
ี ิดแบบชีวกลไกทางการแพทย์ (Bio-mechanistic
medical paradigm) มุ่งเนูนการคิดแบบแยกส่วน ดูว่า
สาเหตุของปั ญหาเกิดจากส่วนใด ก็ไปแกูส่วนนั้น ขาดการ
มองแบบองค์รวม เหมือนการมองดอกไมู ก็มุ่งมองไปที่ส่วน
ประกอบของดอกไมู คือ กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรตัวผูู เกสร
ตัวเมีย ไม่มองไปที่ความงาม ซึ่งเป็ นคุณค่าองค์รวมของ
ดอกไมู วิธีคิดแบบชีวกลไกทางการแพทย์ จึงเกิดผููเชี่ยวชาญ
เฉพาะทางมากมาย เพื่อมุ่งไปแกูไขปั ญหาที่ส่วนย่อย

2. ระบบการแพทย์แบบแยกส่วน ที่มุ่งเนูนไปที่อวัยวะ โดย


วินิจฉัยความเจ็บป่ วยว่ามาจากอวัยวะใด และมุ่งรักษาอวัยวะ
นั้น จึงเกิดการมุ่งรักษาโรค ไม่ใช่รักษาคน หากหาสาเหตุ
ความเจ็บป่ วยจากอวัยวะไม่ไดู ก็จะเกิดความเครียด และไม่
เขูาใจคนไขู

3. เนูนที่ตรรกะมากกว่าเหตุผล การรักษาโรคจะไม่ไปยุ่งกับ
อารมณ์หรือความรููสึกของชาวบูาน เวลาชาวบูานระบาย
ความวิตกกังวล หมอไม่อยากฟั ง จะมุ่งฟั งเฉพาะอาการที่บอก
ถึงความผิดปกติของอวัยวะเท่านั้น อย่างเวลาคนไขูมาดูวย
อาการปวดหัว เราก็จะซักถามเฉพาะลักษณะอาการปวดหัว
ว่าเป็ นแบบใด ปวดแปล๊บๆ ตึบ ๊ ๆ หรือ ตื้อๆ มากกว่าจะฟั ง
เรื่องที่คนไขูเล่าปั ญหาชีวิตของเขา จึงมักตัดบทการสนทนา
และใหูคนไขูรีบไปรับยา
4 รองศาสตราจารย์ ดร. นักวิชาการอิสระ ที่ปรึกษามูลนิ ธิจิตเป็ นผููใหู
ใจเป็ นนิ พพาน
4. การขาดหายไปของมิติทางวัฒนธรรมหรือมิติทางจิตใจ
การทำางานกับชุมชน มักไม่สนใจวัฒนธรรมทูองถิ่น ความ
ศรัทธา ความเชื่อของชาวบูาน เรามักใชูองค์ความรููทาง
วิทยาศาสตร์ท่ีมุ่งเนูนดูานตรรกะไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ชาวบูาน อย่างเรื่องการควบคุมไขูเลือดออก ก็มีเรื่องตลกเล่า
ว่า เรารููพฤติกรรมของยุงมากกว่าพฤติกรรมของคนซะอีก

การเรียนรู้มิติความเป็ นมนุษย์

หากตูองการสลัดวิธีคิดที่เป็ นอุปสรรคต่อการบริการดูวย
หัวใจความเป็ นมนุษย์ตามที่กล่าวมา ควรที่ทำาความเขูาใจมิติ
ความเป็ นมนุษย์จาก 4 เรื่องนี้ คือ เกิด แก่ เจ็บ ตาย

- การเกิด เวลาเราทำาคลอดคนไขู เรามักติดกับดักความคิด


แบบแยกส่วน มองการคลอดเฉพาะการนำาเด็กออกจากทูอง
แม่ ถูาออกปกติ ก็เรียกว่า normal labour ทั้งที่การคลอด
ลูกแต่ละครั้งถือเป็ น เรื่องมหัศจรรย์ เป็ นความฝั นอันยิ่งใหญ่
ของคนเป็ นแม่ บางทีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของเขาจาก
เรื่องมหัศจรรย์ท่ีเกิดขึ้นกับชีวิตของคนเป็ นพ่อแม่ อาจทำาไดู
ง่ายกว่าภาวะปกติ บางคนสามารถเลิกดื่มเหลูา เลิกสูบบุหรี่
เลิกขับรถเร็ว เพราะมีลูกนั่นเอง

- การแก่ นิ ยามหลายๆ แหล่งไดูใหูความหมายของความแก่


ในเชิงลบ เป็ นความถดถอย เสื่อมสภาพ แต่หากเราเปลี่ยน
มุมมองความแก่เป็ นเชิงบวก คือ การสะทูอนภูมิปัญญาและ
แสวงหาคุณค่าทางจิตวิญญาณ ซึ่งมักมองไม่เห็นหรือไม่ไดูทำา
ในวัยหน่ ุมสาว และเตรียมพรูอมรับเขูาสู่วาระสุดทูายของชีวิต
อันจะเป็ นการลดภาระที่ตูองเขูารับการรักษาพยาบาลลงไดู
ซึ่งคนแก่จะมีความฝั นหลากหลายและอยากทำามากกว่าการ
รำากระบี่กระบองก็ไดู
5 รองศาสตราจารย์ ดร. นักวิชาการอิสระ ที่ปรึกษามูลนิ ธิจิตเป็ นผููใหู
ใจเป็ นนิ พพาน
- การเจ็บ งานที่เราทำามักเกี่ยวขูองกับความเจ็บป่ วย แต่เรา
มักถนัดเฉพาะรักษาโรค ทั้งที่โรคเป็ นส่วนเล็กๆ ส่วนเดียว
ของมิติทางสังคม หากเราวิเคราะห์เชื่อมโยงความสัมพันธ์
ของโรคใหูกวูางขวางออกไป เราจะเห็นโอกาสในการทำางาน
ใหม่ๆ ที่เชื่อมโยงโรคไปสู่ความเป็ นมนุษย์ ทำาใหูคนไขูมีกำาลัง
ใจที่จะต่อสููกับโรคภัยไขูเจ็บและเผชิญชีวิตไดู ซึ่งเป็ นรางวัล
หรือค่าตอบแทนที่ล้ ำาค่าสำาหรับคนทำางานสุขภาพ

- การตาย เรามักมองการตายเป็ นปรปั กษ์กับงาน แต่การ


ทำาความเขูาใจการตายนั้น สำาคัญยิ่ง กระบวนการที่ควรคิด
คือ กระบวนการทบทวนชีวิต (Life preview) คือ การคิด
ทบทวนและบอกเล่าเรื่องราวชีวิตที่ผ่านมาว่า มีอะไรตกหล่น
หายไประหว่างทาง หรือ มีส่ิงภูมิใจที่จะเติมเต็มความตูองการ
ทางจิตใจในบั้นปลายของชีวิตไดู

จะเห็นว่า การเรียนรููมิติความเป็ นมนุษย์จากการเกิด แก่ เจ็บ


ตาย จะเติมเต็มสิ่งที่ขาดหายจากวิธีคิดแบบชีวกลไกทางการ
แพทย์ ซึ่งไม่ใช่วิธค
ี ิดที่ผิด แต่ว่ามันไม่พอสำาหรับการใหู
บริการดูวยหัวใจความเป็ นมนุษย์

องค์กรสุขภาพทีม
่ ีหัวใจความเป็ นมนุษย์

รูปแบบการจัดองค์กรปั จจุบันที่เนูนการทำางานแบบ
เครื่องจักร มองบุคลากรเป็ นเฟื องตัวเล็กๆ ไม่เพียงพอสำาหรับ
การใหูบริการดูวยหัวใจความเป็ นมนุษย์ ที่ตูองมองความ
ละเอียดอ่อนในความเป็ นมนุษย์ เครื่องมือที่นำาใชูปรับเปลี่ยน
องค์กรใหูมีหัวใจความเป็ นมนุษย์ มีดังนี้

1. เรื่องเล่า (narrative) เป็ นเครื่องมือที่ช่วยในการเรียนรูู


ความละเอียดอ่อนจากประสบการณ์และการปฏิบัติ ช่วยสรูาง
6 รองศาสตราจารย์ ดร. นักวิชาการอิสระ ที่ปรึกษามูลนิ ธิจิตเป็ นผููใหู
ใจเป็ นนิ พพาน
แรงบันดาลใจและบ่มเพาะคุณธรรมของคนทำางานไดูอย่างดี
แต่ระบบงานของเราในปั จจุบัน มุ่งใหูเจูาหนูาที่ไปไล่ล่าตัวชี้
วัดเพื่อมารายงานความสำาเร็จอย่างเดียว ไม่มีผูบริหารมา
สนใจฟั งเราเล่าเรื่อง มักถามแต่ว่า งานเขูาเปู าหรือยัง คือ มี
แต่ตัวเลข ไม่มีเรื่องราว ทั้งที่ชีวิตเราไม่ไดูมีเปู าหมายเฉพาะ
ตัวเลข แต่ตูองมีความภูมิใจจากการเล่าเรื่องดูวย

2. การฟั งแบบลึกซึ้ง (deep listening) บ่อยครั้งที่เรามัก


ฟั งคนอื่นเพื่อมุ่งตอกยำ้าความคิด ความเชื่อเดิมๆ ของตนเอง
มากกว่า การฟั งเพื่อแสวงหาความคิด ความเขูาใจใหม่ๆ การ
ฟั งแบบลึกซึ้ง จึงเป็ นการฟั งที่เต็มไปดูวยความอยากคูนหา
แลกเปลี่ยนไปสู่ความรูู ความคิดใหม่ๆ ยอมรับและเคารพใน
ศักดิศ
์ รีความเป็ นมนุษย์ของผููอ่ ืน ซึ่งจะเปลี่ยนกรอบแนวคิด
ในการทำางานไดู

3. การแสวงหาความดีความงาม (appreciate inquiry)


ในการทำางาน เรามักจะเริ่มจากการจับผิดชาวบูาน โดยมุ่งหา
ปั ญหาที่เกิดในชุมชน เรียงลำาดับความสำาคัญของปั ญหา และ
จัดทำาโครงการแกูไขปั ญหา แต่หากเปลี่ยนเป็ นการคูนหา
ความดีงามในชุมชน หรือ คนทำางาน ก็จะทำาใหูองค์กรมีความ
สมานฉันท์ ลดความขัดแยูง เห็นคุณค่าของชีวิตจากการ
ชื่นชมซึ่งกันและกัน

4. การส่งเสริมการทำางานเชิงรุกกับคนทุกข์คนยาก
(proactive with disadvantage person) การทำางานกับ
คนทุกข์คนยาก เป็ นโอกาสที่เราจะไดูเรียนรููและสัมผัสความ
เป็ นมนุษย์ท่เี ร็วมาก คุณค่าของงานจะปรากฎชัดเจนที่สุดเมื่อ
ทำากับคนทุกข์คนยาก

5. ส่งเสริมแรงจูงใจทีไ ่ ม่ใช่เงิน ปั จจุบันมีแต่การทำางาน


แลกเงิน งานที่ไม่ใช่ตัวชี้วัดสำาคัญ ไม่ไดูเงินไม่มีใครสนใจจะ
7 รองศาสตราจารย์ ดร. นักวิชาการอิสระ ที่ปรึกษามูลนิ ธิจิตเป็ นผููใหู
ใจเป็ นนิ พพาน
ทำา แนวคิดแบบทุนนิ ยม จะบั่นทอนการทำางานเชิงคุณค่าไป
หมด องค์กรจึงตูองตอกยำ้าบุคลากรเสมอว่า อุดมคติในการ
ทำางานของเราอยู่ตรงไหน ? การงานของเรามีไวูเพื่อหาเงิน
อย่างเดียวหรือหาความภูมิใจใหูกับชีวิตนี้ ตูองหมั่นนำาคนที่
ทำางานดีเชิงคุณค่ามาชื่นชม ไม่ใช่รอตอนเขาเกษียณ

หากเรามีการบริการประชาชนดูวยหัวใจความเป็ นมนุษย์แลูว
จะเป็ นการตอกยำ้าแนวคิดที่ว่า “การรักษาความเป็ น
มนุษย์นัน้ ไม่ควรเป็ นเพียงการรักษาชีวิตให้อยู่ยืนยาว
เท่านัน้ หากแต่ต้องรักษาคุณค่าของมนุษย์ไว้ให้
สมบูรณ์”

การพัฒนาระบบบริการที่มีหัวใจของความเป็ นมนุษย์
http://gotoknow.org/blog/paula-story/116022:11042011
รพ.เขาวง จังหวัดกาฬสินธ์ุ วันที่ 25 กรกฎาคม 2550“ความสุขเป็ นสิ่ง

ประหลาดยิ่ง มันหาได้ลดน้ อยลงเพราะท่านได้แบ่งปั นให้ผ้อ่ ืนไม่ หาก


ท่านยิ่งแบ่งปั นแก่ผ้อ่ ืนมากเพียงใด ความสุขที่ท่านมีกลับเพิ่มพ้นมาก
ขึ้น เพียงนั น
้ ความดีเป็ นสิ่งที่ทำา เพราะการทำาความดีนัน
้ เป็ นสิ่งที่
สวยงาม ทำาให้ทุกคนยิ้มได้อย่างมีความสุข”เป็ นคำาพ้ดที่อย่้หลังปก
หนั งสือ “ชีวิต คือความงาม งานคือความดี” ที่เขียนขึ้นจาก
ประสบการณ์ของเจ้าหน้ าที่โรงพยาบาลเขาวง ที่บอกเล่าเรื่องราวของ
การทำาความดีทัง้ ของเพื่อนร่วมงานและความร้้สึกของตนเองที่ได้ด้แล
ผ้้ป่วยด้วยหัวใจ..ของความเป็ นมนุษย์ หนั งสือเล่มนี้ได้รับสนั บสนุน
จากสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล หน้ าปกเขาเขียนไว้
อย่างนั น
้ เป็ นที่มาของการสรุปบทเรียนของการไปศึกษาด้งานการ

8 รองศาสตราจารย์ ดร. นักวิชาการอิสระ ที่ปรึกษามูลนิ ธิจิตเป็ นผููใหู


ใจเป็ นนิ พพาน
พัฒนาระบบบริการที่มีหัวใจของความเป็ นมนุษย์ (Humanized
healthcare) ทีร่ พ.เขาวง จังหวัดกาฬสินธ์ุ ในวันที่ 25 กรกฎาคม
2550 โดยผ้้แทนของพรพ.และผ้้แทนรพ.นำ าร่องอีก 4 แห่ง (ขาด
รพ.ละง้) รวมแล้วประมาณ 50 คน รพ.เขาวงเป็ นรพ.ชุมชน
ขนาด 60 เตียง มีเจ้าหน้ าที่ทัง้ หมด 137 คน มีคำาขวัญประจำารพ. ว่า
”รอยยิ ้มสดใส บริการด้วยใจ ห่วงใยทุกคน” คุณหมอวารี (ทพญ.วารี)

เล่าเรื่องการพัฒนาเจ้าหน้ าที่ในรพ.ว่า เนื่ องจากบริบทของรพ.เป็ นเขา


มีชาวพื้นเมืองที่เรียกว่าภ้ไทย(ผ้้ไทย) มีคำาขวัญของอำาเภอที่บ่งบอกถึง
ลักษณะคนอำาเภอเขาวงได้ดี คำาขวัญของอำาเภอเขาวงมีดังนี้
เขาวงดงอ่้ข้าว สาวผ้้ไทยงาม นำ้ าตกพลิ้ว ทิวเขาเรียงราย มากมาย
ผ้าห่ม อุดมวัฒนธรรม อ่างวังคำานำ้ าใส ทฤษฎีใหม่น้ำ าพระทัยในหลวง
การพัฒนาคนควบค่้กับการพัฒนาคุณภาพหลายๆระบบ จน
ได้การรับรองหลากหลายมาตรฐานเริ่มจาก ESB ,5 ส., พัฒนาองค์กร,
PSO }Healthy workplace ระดับป้ ายทอง , HPH HA , ยาเสพติด
และมาตรฐานสุขศึกษา จนในปี 2550 ได้นำาแนวคิดเรื่อง Humanized
healthcare มาพัฒนาเจ้าหน้ าที่ของรพ. หลังจากได้ร่วมศึกษาด้งานที่
ม้ลนิ ธิฉือจี้ ประเทศไต้หวัน ร่วมกับพรพ.และรพ.อีก 5 แห่ง ซึ่ง
รพ.เขาวงได้ร่วมกันทบทวนพบว่าการพัฒนาระบบบริการด้วยหัวใจนั น

ได้เริ่มพัฒนามาตัง้ แต่ปี 2539 จึงได้ดำาเนิ นการต่อ โดยมีแนวทางการ
พัฒนาสี่ด้าน ได้แก่ด้านบุคลากร ครอบครัว ผ้้ป่วยและญาติรวมทัง้
ชุมชน (ดังภาพด้านล่าง)

9 รองศาสตราจารย์ ดร. นักวิชาการอิสระ ที่ปรึกษามูลนิ ธิจิตเป็ นผููใหู


ใจเป็ นนิ พพาน
เจ้าหน้ าที่ได้ร่วมกันคิดนิ ยาม ไว้ว่า Humanized healthcare หมายถึง
การให้บริการด้วยความเอาใจใส่ ดุจญาติมิตรด้แลทัง้ ด้านร่างกาย จิตใจ
สังคม และจิตวิญญาณ เกิดความสุขใจทัง้ ผ้้ให้และผ้้รับแนวทางการ
พัฒนาการบริบาลด้วยหัวใจของความเป็ นมนุษย์ ของรพ.เขาวงสรุปได้
ดังนี้

1. ด้านบุคลากร มีกิจกรรมที่ส่งเสริมจิตใจและความสัมพันธ์ดังต่อไป
นี้

- สัมพันธภาพที่ดี จัดให้มีกิจกรรม OD เพื่อให้เจ้าหน้ าที่ใหม่และเก่า


ได้เรียนร้้และทำาความร้้จักกัน รวมถึงเจ้าหน้ าที่สถานี อนามัยด้วย หลัง
จากกลับจาก OD ได้มีกิจกรรมอย่างต่อเนื่ องเพื่อวิเคราะห์บทเรียนที่
ได้จากการทำากิจกรรม มีประเพณีกีฬาสี ประเพณีเลี้ยงรับส่งเจ้าหน้ าที่
โดยแต่ละฝ่ ายเตรียมอาหารมาร่วมกัน มีการประม้ลของใช้ของเจ้า
หน้ าที่ที่จะย้าย เพื่อนำ ารายได้มาช่วยเหลือกองทุนการศึกษาบุตรหลาน
10 รองศาสตราจารย์ ดร. นักวิชาการอิสระ ที่ปรึกษามูลนิ ธิจิตเป็ นผููใหู
ใจเป็ นนิ พพาน
เจ้าหน้ าที่ มีบอร์ดสำาหรับอวยพรวันเกิดเจ้าหน้ าที่และผ้้อำานวยการร่วม
เขียนคำาอวยพร ทุกเดือน

- เอือ
้ อาทร มีกิจกรรมที่ส่งเสริมให้เจ้าหน้ าที่มีความเอื้ออาทรซึ่งกันและ

กัน เช่นกิจกรรมบายสีส่้ขวัญ ต้อนรับบุตรเจ้าหน้ าที่ที่เกิดใหม่ เจ้า


หน้ าที่เจ็บป่ วยเมื่อกลับมาทำางาน รดนำ้ าผ้้ส้งอายุในวันสงกรานต์ และ
ประเพณีประจำาท้องถิ่น โดยเจ้าหน้ าที่ทุกคนนำ าล้กหลาน ครอบครัวมา
ร่วมกิจกรรมของรพ.ด้วย การมีกิจกรรมสามารถทำาให้เจ้าหน้ าที่ค้นหา
ศักยภาพของตนเองได้ เช่นเจ้าหน้ าที่พยาบาลคนหนึ่ งสามารถเป็ น
วิทยากรระดับจังหวัดได้

- ส่งเสริมการทำางานเป็ นทีม ระหว่างหน่ วยงาน เช่นในกรณีที่มีโครงการ


และต้องใช้อัตรากำาลังเสริมเช่นการรณรงค์ผ่าตัดต้อกระจก พยาบาลผ้้
ป่ วยในมาช่วยพยาบาลที่ OPD พยาบาลมาช่วยห้องปฏิบัติการในการ
คัดกรองผ้้ป่วยในเวลาเช้าตร่้สืบเนื่ องมาจากผ้้ป่วยเบาหวานต้องอด
อาหารมาเพื่อเจาะเลือด โดยพยาบาลและเจ้าหน้ าที่ห้องปฏิบัติการพ้ด
คุยกันเองอย่างไม่เป็ นทางการ เจ้าหน้ าที่ท่านหนึ่ งได้พ้ดว่า “การ
ทำางานในรพ.เปรียบเสมือนกับการได้ทำาบุญ ทุกวัน” การมีกิจกรรม
รณรงค์เช่นเรื่องต่อต้านเอดส์ การงดส้บบุหรี่ ทำาให้เจ้าหน้ าที่และชาว
บ้านรวมตัวกันโดยอัตโนมัติ ชาวบ้านเห็นว่ารพ.เป็ นส่วนหนึ่ งของ
ชุมชนและมีสัมพันธภาพที่ดีระหว่างกัน ชาวบ้านต้องการความช่วย
เหลือเช่นการอบรมให้ความร้้เรื่องบุหรี่ เจ้าหน้ าที่จะไปอบรมให้ใน
ชุมชนนอกเวลาทำาการโดยไม่ได้คิดค่าตอบแทนใดๆเพราะในเวลา

11 รองศาสตราจารย์ ดร. นักวิชาการอิสระ ที่ปรึกษามูลนิ ธิจิตเป็ นผููใหู


ใจเป็ นนิ พพาน
ทำาการชาวบ้านไม่สะดวก เจ้าหน้ าที่สามารถประชุมนอกเวลาได้ตลอด
เวลา เพราะเกิดความร้้สึกมีส่วนร่วมและสนุกสนานในการที่ได้คิดร่วม
กัน โดยมีการสร้างบรรยากาศการประชุมที่สบายๆ ใส่ชุดอะไรก็ได้
และมีการรับประทานอาหารร่วมกัน

-ใส่ใจสิ่งแวดล้อม สิง่ แวดล้อมที่เป็ นโครงสร้างและด้านจิตใจ เช่นมี


กิจกรรม Big cleaning Day ทุกปี โดยทำาในวันเสาร์ อาทิตย์ ทีท
่ ำาทุก
ปี เพราะเป็ นกิจกรรมที่สร้างความสัมพันธ์ร่วมกันด้วย และผ้้บริหารมา
ร่วมให้กำาลังใจทุกครัง้ มีการคัดแยกขยะให้ละเอียดมากขึ้น มีการจุด
ประกายความดี เพื่อถ่ายทอดให้ผ้อ่ ืนฟั ง โดยให้เจ้าหน้ าที่เล่าความดี
เขียนลงในวารสารของรพ. มีการประกาศคุณงามความดี เช่นรายชื่อผ้้
บริจาคโลหิต มีข้อม้ลสถานที่ติดต่อไว้สามารถติดตามเพื่อมาบริจาคได้
ตลอดเวลา มีรางวัลให้กรณีบริจาคเกิน 7 ครัง้ ขึ้นไปการจุดประกาย
ความดี โดยให้เขียนถึงความดีที่ทำาหรือตัง้ ใจจะทำาและปิ ดไว้ทบ
ี่ อร์ด

2. ครอบครัว  มีประเพณีเยีย
่ มกรณีคลอดบุตร ผ้กข้อมือรับ
สมาชิกใหม่ ถือว่าเป็ นส่วนหนึ่ งของชาวรพ.เขาวงด้วย  มีการจัด
Day care เป็ นศ้นย์รับเลี้ยงล้กเจ้าหน้ าที่เวลาทำางาน มีคร้พี่เลี้ยง
เพราะอยากให้เจ้าหน้ าที่ทำางานอย่างมีความสุข ไม่ห่วงหน้ าพะวงหลัง
ขณะทำางาน  มีการแข่งกีฬาสี โดยครอบครัวของเจ้าหน้ าที่ร่วมแข่ง
ด้วย เมื่อเจ้าหน้ าที่ต้องประชุมนอกสถานที่อนุญาตให้พาครอบครัวไป
ด้วย มีประเพณีวันพ่อ วันแม่  เมื่อรพ.ได้รับรางวัลจะมีการพาเจ้า

12 รองศาสตราจารย์ ดร. นักวิชาการอิสระ ที่ปรึกษามูลนิ ธิจิตเป็ นผููใหู


ใจเป็ นนิ พพาน
หน้ าที่และครอบครัวไปเที่ยว ทำาให้ครอบครัวของเจ้าหน้ าที่สนั บสนุน
และให้ความช่วยเหลือทุกกิจกรรมของรพ.

3. ผ้้ป่วยและญาติ

• เจ้าหน้ าที่ห้องคลอดและ ANC มีโครงการ tour ห้องคลอด ส่งเสริม


สายสัมพันธ์ระหว่างพ่อ แม่ล้ก อนุญาตให้สามีด้แลภรรยา อย่้กับ
ภรรยาระหว่างคลอดได้

• มีการจัดสิ่งแวดล้อมในหอผ้้ป่วย เช่นมีเปลสำาหรับเด็กอ่อน มุมอ่าน


นิ ทาน ระบายสี

• มีกิจกรรมคลายเครียดระหว่างรอตรวจ เช่นแสดงหมอลำาให้
สุขศึกษา สวดสรภัญญะ

• ออกหน่ วยแพทย์เคลื่อนที่ร่วมกับสถาบันธัญญารักษ์ มีแพทย์สาขา


กระด้กจากรพ.กาฬสินธ์ุมาช่วยตรวจในวันเสาร์

4. ชุมชน

• มีหม่้บ้านจัดการเบาหวาน

• กลุ่มผ้้ติดเชื้อที่มีการรวมตัวกันอย่างเข้มแข็ง รพ.ให้การสนั บสนุน


ความร้้ สถานที่ในการประชุม

13 รองศาสตราจารย์ ดร. นักวิชาการอิสระ ที่ปรึกษามูลนิ ธิจิตเป็ นผููใหู


ใจเป็ นนิ พพาน
• กิจกรรมเยี่ยมบ้านผ้้ป่วยในชุมชน ได้พบพระภิกษุป่วยเป็ น CVA
อย่้ในสิ่งแวดล้อมไม่เหมาะสมต่อการฟื้ นฟ้สภาพ จึงขอความร่วมมือไป
ยังเทศบาลช่วยปรับสิ่งแวดล้อมให้

• มีศ้นย์เด็กเล็ก จัดกิจกรรมร่วมกับคร้ ผ้้ปกครอง สอนทำาของเล่น

• มีกองทุนจ้างแพทย์เฉพาะทางมาตรวจที่รพ.เขาวง

• รพ.สืบสานประเพณีของชุมชนทุกประเพณี เช่นประเพณีแห่เทียน
และการรณรงค์ต่างๆ เช่นไข้เลือดออก รณรงค์งดบุหรี่

• มีการประสานงานระหว่างแพทย์พ้ ืนบ้านและแพทย์ของรพ. หมอ


เหยารักษาผ้้ป่วยในชุมชน หากผ้้ป่วยที่รับไว้รักษาในรพ.ต้องการรักษา
หมอเหยา ก็จะอนุญาตให้รักษาได้

สิ่งที่ได้เรียนร้้จากรพ.เขาวง
หากเราจะด้ที่กิจกรรมที่รพ.ทำาอาจจะเหมือนกับอีกหลายๆรพ. แต่
แนวคิดสิ่งที่อย่้เบื้องหลังของกิจกรรมของเขามีความหมาย เขาพัฒนา
มาด้วยใจและเกิดจากการเรียนร้้ เกิดจากการยึดผ้้ป่วยเป็ นศ้นย์กลาง
ของทีมงาน การพัฒนาบุคลากรของรพ.ใช้เวลานานพอสมควร โดยมี
พื้นฐานมาจากการพัฒนาคุณภาพ รพ.พัฒนาหลายมาตรฐาน แต่
สามารถผ่านทุกมาตรฐาน เจ้าหน้ าที่เกิดการเรียนร้้และปรับแนวคิด มี
การทำางานเป็ นทีมอย่างเป็ นทางการและไม่เป็ นทางการ มีการพัฒนา
ความคิดเชิงบวกในทุกๆเรื่อง เริ่มมาจากการที่ร้หน้ าที่ของตนเอง ทำา
หน้ าที่ของตนเองให้ดีก่อน และทำาให้งานในหน่ วยงานของตนเองบรรลุ
14 รองศาสตราจารย์ ดร. นักวิชาการอิสระ ที่ปรึกษามูลนิ ธิจิตเป็ นผููใหู
ใจเป็ นนิ พพาน
เป้ าหมาย แล้วต่อมาได้ช่วยเหลือกัน ร้้สึกอยากช่วยงานเพื่อนๆที่ต้อง
ให้บริการผ้้ป่วยจำานวนมาก ขยายความช่วยเหลือจากหน่ วยงาน
ครอบครัวเป็ นเครือข่ายออกไปส่้ชุมชน จนถึงระดับอำาเภอ เคารพในสิ่ง
ที่ชุมชนเคารพ เช่นประเพณีแห่เทียนพรรษา รพ.เข้าไปมีส่วนร่วมใน
ทุกกิจกรรมของชุมชน ทำาให้ร้สึกเป็ นส่วนหนึ่ งของชุมชน การ
ที่จะได้ใจเจ้าหน้ าที่นัน
้ ส่วนหนึ่ งมาจากการมีส่วนร่วมของครอบครัว
การที่รพ.ด้แลครอบครัวเปรียบเสมือนกับครอบครัวเดียวกัน ให้ความ
เอื้ออาทรในทุกกรณีตัง้ แต่ เกิด เจ็บป่ วย ตาย ฯลฯ เป็ นเพราะวิสัยทัศน์
ของผ้้นำาที่กว้างไกลและเห็นบุคลากรเป็ นทรัพยากรที่มีคุณค่ายิ่ง

ทันตแพทย์ท่านหนึ่ งพ้ดว่า จุดที่เปลี่ยนความคิดของเขาโดยให้บริการ


ด้วยใจ เนื่ องจากได้พบกับพระร้ปหนึ่ ง ทำาให้ทันตแพทย์เปลี่ยนมุมมอง
และทัศนคติในการให้บริการ พระท่านบอกว่าผ้้ให้บริการในรพ.ส่วน
ใหญ่จะเรียกว่า “หมอ”คำาว่าหมอนั น
้ มีความหมายที่ยิ่งใหญ่ซ่อนอย่้
ท่านได้บอกความหมายของคำาว่า”หมอ” ไว้ดังนี้

ห หมายถึง การให้ และการมองหาสิ่งที่ไม่สบาย ความทุกข์ของ


คนไข้ ม หมายถึง มองผ้้อ่ ืนเป็ นศ้นย์กลางคือการยึดผ้้ป่วยเป็ น
ศ้นย์กลางนั น
่ เอง

อ หมายถึง ความเอื้ออาทร การให้บริการด้วยความเอื้ออาทร ดุจ


ญาติมิตร

15 รองศาสตราจารย์ ดร. นักวิชาการอิสระ ที่ปรึกษามูลนิ ธิจิตเป็ นผููใหู


ใจเป็ นนิ พพาน
ทันตแพทย์ท่านนี้ได้นำามาปรับในการให้บริการทันตกรรม โดยเฉพาะ
ในผ้้รับบริการที่เป็ นเด็ก อนุญาตให้แม่อุ้มเด็ก ให้เด็กนอนหนุนตักแม่
ขณะทำาฟั น อนุญาตให้เด็กนอนในท่าที่เขาต้องการ ร้้สึกว่าเมื่อเด็กมี
ความสุขก็จะร้้สึกมีความสุขที่ได้ให้บริการด้วยใจ

♥paula .`๏'-
ที่ปรึกษาตัวนูอย.`๏'-
พนักงานของรัฐ
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องค์การมหาชน)
http://gotoknow.org/blog/paula-story/33614811042011

.♥·° *.:。 ✿*゚‘゚・ความรักหมุนรอบตัว


เรา.♥ ·°*.:。*゚‘゚・

16 รองศาสตราจารย์ ดร. นักวิชาการอิสระ ที่ปรึกษามูลนิ ธิจิตเป็ นผููใหู


ใจเป็ นนิ พพาน
新正如意 新年發財

ซินเจียยู่อ่ี ซินนี้ ฮวดใชู ...

สวัสดีวันแห่งความรัก และวันแห่งความสุขของชาวจีนค่ะ ช่วงสัปดาห์น้ี หลายคนคงจะมี


ความสุข สนุก สมหวัง และคงมีอีกหลายคนที่มีความทุกข์ และผิดหวัง เหตุคงเพราะไม่ใช่
วันนี้ หรือวันไหน แต่เพราะมันคือความเป็ นจริง ที่มีรัก... ย่อมมีไม่รัก มีสุข ย่อมมีทุกข์ มี
พบ ย่อมมีจาก มันคือ สัจจธรรม ค่ะ ..เอ..ที่จ่ัวหัวเอาไวูจะเกี่ยวกันไหมเนี่ ย อิอิ...

17 รองศาสตราจารย์ ดร. นักวิชาการอิสระ ที่ปรึกษามูลนิ ธิจิตเป็ นผููใหู


ใจเป็ นนิ พพาน
ขอสืบเนื่ องและเชื่อมโยง..จากเทศกาล หวานแหวว ของชาววัยหวานๆ ..(พอลล่าเลยมา
แลูว หละ) บันทึกไหน ๆ ก็เป็ นเรื่องของความรักทั้ง น๊ าน... เลยอยากจะอินเทรนกับเขา
บูางค่ะ ที่ว่าความรักหมุนรอบตัวเรานั้น เพราะ..ความรักนั้นอยู่รอบตัวของพอลล่าเสมอ
เลยค่ะ ไม่ว่าจะเป็ นเรื่องการดำาเนิ นชีวิต ที่เราตูองมีความรักจากพ่อ แม่ พี่นอ ู ง ครอบครัว
เป็ นทุกๆอย่างของเรา กำา ลังใจสำาคัญที่สนับสนุนใหูเราทำา ทุกๆเรื่องไดูอย่างไม่รูว่าความ
เหนื่ อยเป็ นอย่างไร ความทูอเป็ นอย่างไร ...อาจจะมีบูางแต่ถูาเรานึ กถึงเขา เราจะสููขึ้นมา
ทั น ที ... ทำา ใหู คำา ว่ า ทู อ แทบจะหาไม่ เ จอเลยค่ ะ หรือจะเป็ นเรื่องของความรักในงานที่
ทำา..อิอิ..ไม่ใช่รักกับใครที่สรพ.หรอกนะคะ .... แต่รักทุกคนที่สรพ.ค่ะ ว่าไปนั่น...

ความรั ก อี ก แบบหนึ่ ง ที่ พ อลล่ า อยากใหู เ กิ ด ขึ้ น มากๆ เลยค่ ะ แลู ว ก็ มี เ กิ ด ขึ้ น แลู ว จริ ง ๆ
(ความจริงเกิดมานานแลูว แต่เราไม่เห็นต่างหาก อิอิ) ความรักระหว่างผููใหูบริการของ
โรงพยาบาล กับ ผููรับบริก าร คนไขู แพทย์ พยาบาล ที่เ ป็ นพื้ นฐานที่ จะทำา ใหูเ กิดสั ง คม

18 รองศาสตราจารย์ ดร. นักวิชาการอิสระ ที่ปรึกษามูลนิ ธิจิตเป็ นผููใหู


ใจเป็ นนิ พพาน
สงบสุข เกิดสังคมแห่งความเอื้ออาทร แบ่งปั น ลดทอนความทุกข์ของผููคนไปไดูบูาง ไม่
มากก็นอ
ู ย

เรื่องราวดีๆ ที่เกิดจากความรักของบุคลากรสาธารณสุขกับคนไขู ไดูถูกบอกเล่าออกมา


เป็ นเรื่ องเล่ า การบริ ก ารด้ ว ยหั ว ใจของความเป็ นมนุ ษ ย์ ซึ่งสรพ .ไดู นำา มาเป็ น
ประเด็นสำา คัญในการเชื่อมต่อกับการพัฒนาคุณภาพ ทำา ใหูเกิดการพัฒนาจากหัวใจคน
ทำา งาน ที่ จะทำา เพื่ อผูู อ่ ืน อย่ างแทู จริ ง โดยนำาเรื่องนี้ มาผูกกับการ Promote เพื่ อทำา ใหู
เรื่องราวดีงามแบบนี้ ไดูขยายออกสู่ประชาชนภายนอกที่คิดว่ารพ.ก็มีแต่เรื่องรูายๆ เรื่อง
บริการไม่ดี แต่จริงๆแลูว ถูาลองไดูรับรููแง่มุมที่งดงามที่มีอยู่ในรพ. จะทำาใหูทุกคนรููสึกว่า
โรงพยาบาล เป็ นสถานที่แห่งความรัก และความดีงาม เป็ นสถานที่แห่งความเอื้ออาทร
เป็ นแหล่งกำาเนิ ดครอบครัว จุดเริ่มตูนของความเป็ นแม่ เป็ นพ่อ เป็ นลูก เป็ นทุกๆ สิ่ง เป็ น
แหล่งของสังคมเอื้ออาทรของมนุษยชาติท่ีรวมตัวกันทำาความดีเพื่อเพื่อนมนุษย์ โครงการ
ต่างๆ ที่ทำา เพื่อผููป่วยเห็นอยู่มากมาย เช่น บ้านโฮมฮักของพี่เกด พี่กุ้ง สานฝั นเด็ก
ป่ วยของพี่แดง มิตรภาพบำาบัดผ้้ป่วยไตวายของพี่นาง และอื่นๆอีกมากมาย ที่เกิด
ขึ้นจากแพทย์ พยาบาล ทุกวิชาชีพ ในโรงพยาบาลของปรเทศไทย ที่นอกจากจะทำาความ
ดีในรพ.แลูวยังขยายการทำา ความดี ออกไปนอกรพ. ออกไปชุมชน ถึงพี่นูองที่อาจจะเขูา
ถึงการบริการดูวยความยากลำาบาก เราก็คิดหาหนทางที่จะออกไปพบ แต่อย่างไรก็ตาม
การทำางานดูวยพลัง ที่นอูยนิ ด ที่หากจะเทียบกับความตูองการของประชาชนที่รับผิดชอบ
คงจะไม่สามารถตอบสนองไดูเพียงพอเป็ นแน่ ....

19 รองศาสตราจารย์ ดร. นักวิชาการอิสระ ที่ปรึกษามูลนิ ธิจิตเป็ นผููใหู


ใจเป็ นนิ พพาน
เรื่องเล่าของการดูแลดูวยหัวใจของความเป็ นมนุษย์ท่ีพอลล่าไดูมีส่วนเกี่ยวขูองไดูอ่าน ไดู
ชม ไดูฟัง จากพี่ๆ นูองๆ จะเห็นว่าเรื่องส่วนใหญ่ท่ีเล่ามาเป็ นเรื่องของการดูแลผููพิการ สูง
อายุ ผููถูกทอดทิ้งที่สรุปเรียกว่าเป็ นผููดูอยโอกาสในสังคม ยิ่งอ่าน ยิ่ง พบว่ามีปัญหามาก
มายจริงๆ ในระบบนิ เวศน์ของประเทศไทย ที่เ รีย กว่ าระบบนิ เวศน์ เพราะอยากจะรวม
ระบบอื่นเขูามาดูวยค่ะ เพราะลำาพังระบบสาธารณสุขไม่สามารถจะแกูปัญหาต่างๆ เหล่า
นี้ ใหูหมดไปไดู ปั ญหาที่เกิดจากการส่งต่อคนไข้ จากรพ.ที่มีศักยภาพในการด้แล
น้อ ยไปส่้ ร พ.ที่ มี ศั ก ยภาพส้ ง กว่ า ยั ง เป็ นปั ญหาทั ้ง ในเรื่ อ งเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ์
บุคลากรทีจ ่ ำากัดและขัดสนจริงๆ

มี อยู่ ห ลายเรื่ องที่ เ ล่ า มาว่ า " คุ ณ หมอตู อ งเสี ยนำ้ าตา เพราะตู อ งการจะส่ง ต่ อ เด็ ก ทารก
คลอดก่อนกำาหนด เพื่อใหูไดูรับการดูแลที่ ICU เด็ก โทรกี่รพ. กี่แห่ง ยังไม่สามารถส่งต่อ
ไดู ณ เวลานั้นคุณหมอจะทำา อย่างไร หากไม่สามารถส่งต่อไดู โทรแลูว โทรอีก กว่าจะมี
รพ.รับ ตูองอาศัยโชค อาศัยบุญวาสนามาช่วยดูวยเป็ นแน่ค่ะ"

..อ่านเรื่องเล่าเรื่องนี้ แลูวซึมไปเลยค่ะ ยังมีอีกหลายเรื่องทีอ่าน ที่พบเช่น ปั ญหาการเข้า


ถึ ง บริ ก ารของประชาชนที่ อ ย่้ ห่ า งไกล ไม่ ส ามารถมารพ.ได้ ปั ญหาเศรษฐกิ จ

20 รองศาสตราจารย์ ดร. นักวิชาการอิสระ ที่ปรึกษามูลนิ ธิจิตเป็ นผููใหู


ใจเป็ นนิ พพาน
ความเชื่อต่างๆ ที่มีผลต่อสุขภาพ ปั ญหาผ้้พิการ ผ้้ป่วยอัมพาต ไตวาย จิตเวช
ตัง
้ ครรภ์ก่อนวัยอันควร เอดส์ เหล่านี้เป็ นประเด็นทีพ
่ บบ่อยๆ ในเรื่องเล่าค่ะ

ความรัก ความเมตตา ความเอื้ออาทร เท่านั้นที่จะทำาใหูจะมองเห็นปั ญหา เห็นความทุกข์


ของพวกเขาเหล่านั้น ซึ่งมีพ่ีๆนูองๆ ในรพ. หลายแห่งไดูมองเห็นแลูว นำามาเล่าขาน บอก
เล่าเรื่องราว ที่ไม่ไดูมีความตั้งใจว่าอยากจะไดูรับรางวัล แต่..เพียงแต่อยากบอกเล่าถึง
ความภาคภูมิใจที่เขาเหล่านั้นไดูทำาเพื่อพี่นูองของพวกเขาเองค่ะ เรามาช่วยกันเล่าเรื่อง
ความดีงามใหูเกิดขึ้นกันใหูเยอะๆดีไหมคะ

ความรักจะได้เพิ่มพ้น งอกงาม ขยายกิ่งก้าน ออกไปเรื่ อยๆ ความรัก


จะไม่ ใ ช่ แ ค่ เ พี ย งหมุ น รอบตั ว เรา เท่ า นั น
้ ความรั ก ยั ง อย้ ใ นลม
หายใจและอย่้ในตัวตนของพวกเราทุกคนด้วยค่ะ

21 รองศาสตราจารย์ ดร. นักวิชาการอิสระ ที่ปรึกษามูลนิ ธิจิตเป็ นผููใหู


ใจเป็ นนิ พพาน
ขอใหูทุกท่านมีความสุขมากๆ กับวันห่งความรักนะคะ

สำาหรับพอลล่ายังมีภาระกิจที่ตูองทำา ในสิ่งที่รัก และจะทำาใหูดีท่ีสุดค่ะ

ขอบคุณที่เขูามาอ่านนะคะ ...

หมวดหมู่บันทึก: การแพทย์ สุขภาพ สุขภาวะ

คำาสำาคัญ (keywords): humanized healthcare

สัญญาอนุญาต: ซีซ:ี แสดงที่มา-ไม่ใชูเพื่อการคูา-อนุญาตแบบเดียวกัน

สรูาง: 13 กุมภาพันธ์ 2553 11:41 แกูไข: 13 กุมภาพันธ์ 2553 23:29 [ แจูงไม่


เหมาะสม ]
ดอกไม้

22 รองศาสตราจารย์ ดร. นักวิชาการอิสระ ที่ปรึกษามูลนิ ธิจิตเป็ นผููใหู


ใจเป็ นนิ พพาน
新正如意 新年發財

ซินเจียยู่อ่ี ซินนี้ ฮวดใชู ...

สวัสดีวันแห่งความรัก และวันแห่งความสุขของชาวจีนค่ะ ช่วงสัปดาห์น้ี หลายคนคงจะมี


ความสุข สนุก สมหวัง และคงมีอีกหลายคนที่มีความทุกข์ และผิดหวัง เหตุคงเพราะไม่ใช่
วันนี้ หรือวันไหน แต่เพราะมันคือความเป็ นจริง ที่มีรัก... ย่อมมีไม่รัก มีสุข ย่อมมีทุกข์ มี
พบ ย่อมมีจาก มันคือ สัจจธรรม ค่ะ ..เอ..ที่จ่ัวหัวเอาไวูจะเกี่ยวกันไหมเนี่ ย อิอิ...

23 รองศาสตราจารย์ ดร. นักวิชาการอิสระ ที่ปรึกษามูลนิ ธิจิตเป็ นผููใหู


ใจเป็ นนิ พพาน
ขอสืบเนื่ องและเชื่อมโยง..จากเทศกาล หวานแหวว ของชาววัยหวานๆ ..(พอลล่าเลยมา
แลูว หละ) บันทึกไหน ๆ ก็เป็ นเรื่องของความรักทั้ง น๊ าน... เลยอยากจะอินเทรนกับเขา
บูางค่ะ ที่ว่าความรักหมุนรอบตัวเรานั้น เพราะ..ความรักนั้นอยู่รอบตัวของพอลล่าเสมอ
เลยค่ะ ไม่ว่าจะเป็ นเรื่องการดำาเนิ นชีวิต ที่เราตูองมีความรักจากพ่อ แม่ พี่นอ ู ง ครอบครัว
เป็ นทุกๆอย่างของเรา กำา ลังใจสำาคัญที่สนับสนุนใหูเราทำา ทุกๆเรื่องไดูอย่างไม่รูว่าความ
เหนื่ อยเป็ นอย่างไร ความทูอเป็ นอย่างไร ...อาจจะมีบูางแต่ถูาเรานึ กถึงเขา เราจะสููขึ้นมา
ทั น ที ... ทำา ใหู คำา ว่ า ทู อ แทบจะหาไม่ เ จอเลยค่ ะ หรือจะเป็ นเรื่องของความรักในงานที่
ทำา..อิอิ..ไม่ใช่รักกับใครที่สรพ.หรอกนะคะ .... แต่รักทุกคนที่สรพ.ค่ะ ว่าไปนั่น...

ความรั ก อี ก แบบหนึ่ ง ที่ พ อลล่ า อยากใหู เ กิ ด ขึ้ น มากๆ เลยค่ ะ แลู ว ก็ มี เ กิ ด ขึ้ น แลู ว จริ ง ๆ
(ความจริงเกิดมานานแลูว แต่เราไม่เห็นต่างหาก อิอิ) ความรักระหว่างผููใหูบริการของ
โรงพยาบาล กับ ผููรับบริก าร คนไขู แพทย์ พยาบาล ที่เ ป็ นพื้ นฐานที่ จะทำา ใหูเ กิดสั ง คม
สงบสุข เกิดสังคมแห่งความเอื้ออาทร แบ่งปั น ลดทอนความทุกข์ของผููคนไปไดูบูาง ไม่
มากก็นอู ย

24 รองศาสตราจารย์ ดร. นักวิชาการอิสระ ที่ปรึกษามูลนิ ธิจิตเป็ นผููใหู


ใจเป็ นนิ พพาน
เรื่องราวดีๆ ที่เกิดจากความรักของบุคลากรสาธารณสุขกับคนไขู ไดูถูกบอกเล่าออกมา
เป็ นเรื่ องเล่ า การบริ ก ารด้ ว ยหั ว ใจของความเป็ นมนุ ษ ย์ ซึ่งสรพ .ไดู นำา มาเป็ น
ประเด็นสำา คัญในการเชื่อมต่อกับการพัฒนาคุณภาพ ทำา ใหูเกิดการพัฒนาจากหัวใจคน
ทำา งาน ที่ จะทำา เพื่ อผูู อ่ ืน อย่ างแทู จริ ง โดยนำาเรื่องนี้ มาผูกกับการ Promote เพื่ อทำา ใหู
เรื่องราวดีงามแบบนี้ ไดูขยายออกสู่ประชาชนภายนอกที่คิดว่ารพ.ก็มีแต่เรื่องรูายๆ เรื่อง
บริการไม่ดี แต่จริงๆแลูว ถูาลองไดูรับรููแง่มุมที่งดงามที่มีอยู่ในรพ. จะทำาใหูทุกคนรููสึกว่า
โรงพยาบาล เป็ นสถานที่แห่งความรัก และความดีงาม เป็ นสถานที่แห่งความเอื้ออาทร
เป็ นแหล่งกำาเนิ ดครอบครัว จุดเริ่มตูนของความเป็ นแม่ เป็ นพ่อ เป็ นลูก เป็ นทุกๆ สิ่ง เป็ น
แหล่งของสังคมเอื้ออาทรของมนุษยชาติท่ีรวมตัวกันทำาความดีเพื่อเพื่อนมนุษย์ โครงการ
ต่างๆ ที่ทำา เพื่อผููป่วยเห็นอยู่มากมาย เช่น บ้านโฮมฮักของพี่เกด พี่กุ้ง สานฝั นเด็ก
ป่ วยของพี่แดง มิตรภาพบำาบัดผ้้ป่วยไตวายของพี่นาง และอื่นๆอีกมากมาย ที่เกิด
ขึ้นจากแพทย์ พยาบาล ทุกวิชาชีพ ในโรงพยาบาลของปรเทศไทย ที่นอกจากจะทำาความ
ดีในรพ.แลูวยังขยายการทำา ความดี ออกไปนอกรพ. ออกไปชุมชน ถึงพี่นูองที่อาจจะเขูา
ถึงการบริการดูวยความยากลำาบาก เราก็คิดหาหนทางที่จะออกไปพบ แต่อย่างไรก็ตาม
การทำางานดูวยพลัง ที่นอูยนิ ด ที่หากจะเทียบกับความตูองการของประชาชนที่รับผิดชอบ
คงจะไม่สามารถตอบสนองไดูเพียงพอเป็ นแน่ ....

25 รองศาสตราจารย์ ดร. นักวิชาการอิสระ ที่ปรึกษามูลนิ ธิจิตเป็ นผููใหู


ใจเป็ นนิ พพาน
เรื่องเล่าของการดูแลดูวยหัวใจของความเป็ นมนุษย์ท่ีพอลล่าไดูมีส่วนเกี่ยวขูองไดูอ่าน ไดู
ชม ไดูฟัง จากพี่ๆ นูองๆ จะเห็นว่าเรื่องส่วนใหญ่ท่ีเล่ามาเป็ นเรื่องของการดูแลผููพิการ สูง
อายุ ผููถูกทอดทิ้งที่สรุปเรียกว่าเป็ นผููดูอยโอกาสในสังคม ยิ่งอ่าน ยิ่ง พบว่ามีปัญหามาก
มายจริงๆ ในระบบนิ เวศน์ของประเทศไทย ที่เ รีย กว่ าระบบนิ เวศน์ เพราะอยากจะรวม
ระบบอื่นเขูามาดูวยค่ะ เพราะลำาพังระบบสาธารณสุขไม่สามารถจะแกูปัญหาต่างๆ เหล่า
นี้ ใหูหมดไปไดู ปั ญหาที่เกิดจากการส่งต่อคนไข้ จากรพ.ที่มีศักยภาพในการด้แล
น้อ ยไปส่้ ร พ.ที่ มี ศั ก ยภาพส้ ง กว่ า ยั ง เป็ นปั ญหาทั ้ง ในเรื่ อ งเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ์
บุคลากรทีจ ่ ำากัดและขัดสนจริงๆ

มี อยู่ ห ลายเรื่ องที่ เ ล่ า มาว่ า " คุ ณ หมอตู อ งเสี ยนำ้ าตา เพราะตู อ งการจะส่ง ต่ อ เด็ ก ทารก
คลอดก่อนกำาหนด เพื่อใหูไดูรับการดูแลที่ ICU เด็ก โทรกี่รพ. กี่แห่ง ยังไม่สามารถส่งต่อ
ไดู ณ เวลานั้นคุณหมอจะทำา อย่างไร หากไม่สามารถส่งต่อไดู โทรแลูว โทรอีก กว่าจะมี
รพ.รับ ตูองอาศัยโชค อาศัยบุญวาสนามาช่วยดูวยเป็ นแน่ค่ะ"

..อ่านเรื่องเล่าเรื่องนี้ แลูวซึมไปเลยค่ะ ยังมีอีกหลายเรื่องทีอ่าน ที่พบเช่น ปั ญหาการเข้า


ถึ ง บริ ก ารของประชาชนที่ อ ย่้ ห่ า งไกล ไม่ ส ามารถมารพ.ได้ ปั ญหาเศรษฐกิ จ

26 รองศาสตราจารย์ ดร. นักวิชาการอิสระ ที่ปรึกษามูลนิ ธิจิตเป็ นผููใหู


ใจเป็ นนิ พพาน
ความเชื่อต่างๆ ที่มีผลต่อสุขภาพ ปั ญหาผ้้พิการ ผ้้ป่วยอัมพาต ไตวาย จิตเวช
ตัง
้ ครรภ์ก่อนวัยอันควร เอดส์ เหล่านี้เป็ นประเด็นทีพ
่ บบ่อยๆ ในเรื่องเล่าค่ะ

ความรัก ความเมตตา ความเอื้ออาทร เท่านั้นที่จะทำาใหูจะมองเห็นปั ญหา เห็นความทุกข์


ของพวกเขาเหล่านั้น ซึ่งมีพ่ีๆนูองๆ ในรพ. หลายแห่งไดูมองเห็นแลูว นำามาเล่าขาน บอก
เล่าเรื่องราว ที่ไม่ไดูมีความตั้งใจว่าอยากจะไดูรับรางวัล แต่..เพียงแต่อยากบอกเล่าถึง
ความภาคภูมิใจที่เขาเหล่านั้นไดูทำาเพื่อพี่นูองของพวกเขาเองค่ะ เรามาช่วยกันเล่าเรื่อง
ความดีงามใหูเกิดขึ้นกันใหูเยอะๆดีไหมคะ

ความรักจะได้เพิ่มพ้น งอกงาม ขยายกิ่งก้าน ออกไปเรื่ อยๆ ความรัก


จะไม่ ใ ช่ แ ค่ เ พี ย งหมุ น รอบตั ว เรา เท่ า นั น
้ ความรั ก ยั ง อย้ ใ นลม
หายใจและอย่้ในตัวตนของพวกเราทุกคนด้วยค่ะ

27 รองศาสตราจารย์ ดร. นักวิชาการอิสระ ที่ปรึกษามูลนิ ธิจิตเป็ นผููใหู


ใจเป็ นนิ พพาน
ขอใหูทุกท่านมีความสุขมากๆ กับวันห่งความรักนะคะ

สำาหรับพอลล่ายังมีภาระกิจที่ตูองทำา ในสิ่งที่รัก และจะทำาใหูดีท่ีสุดค่ะ

ขอบคุณที่เขูามาอ่านนะคะ ...

หมวดหมู่บันทึก: การแพทย์ สุขภาพ สุขภาวะ

คำาสำาคัญ (keywords): humanized healthcare

สัญญาอนุญาต: ซีซ:ี แสดงที่มา-ไม่ใชูเพื่อการคูา-อนุญาตแบบเดียวกัน

สรูาง: 13 กุมภาพันธ์ 2553 11:41 แกูไข: 13 กุมภาพันธ์ 2553 23:29 [ แจูงไม่


เหมาะสม ]

Hits
ฝ่ายการพยาบาลศูนย์หัวใจสิริกิติฯ
์ จัดอบรมพัฒนาคุณภาพการบริการทีเ่ ป็นเลิศ

http://www.news.kku.ac.th/kkunews/content/view/2433/37/11042011

28 รองศาสตราจารย์ ดร. นักวิชาการอิสระ ที่ปรึกษามูลนิ ธิจิตเป็ นผููใหู


ใจเป็ นนิ พพาน
เขียนโดย tu.pr.qshc
จ. 20 ก.ค. 2552
ฝ่ ายการพยาบาลศูนย์หัวใจสิรก ิ์ จัดอบรมพัฒนาคุณภาพการบริการที่เป็ นเลิศ
ิ ิตฯ
เมื่อวันที่ 17 กรกฏาคม 2552 เวลา 13.30 – 16.00 น. ณ ห้องประชุมนพดล ทองโสภิตชั้น 3 อาคาร
ศูนย์หัวใจสิรก ิ์ ฝ่ ายการพยาบาลศูนย์หัวใจสิรก
ิ ิตฯ ิ์ ได้จด
ิ ิตฯ ั อบรมพัฒนาคุณภาพการบริการที่เป็ นเลิศ โดยมีเจ้าหน้าที่
ทีเ่ กี่ยวข้องเข้าร่วมจำานวนมาก
สำาหรับการบริการเชิงเทคนิ คบริการนั้ น โดยมากมักไม่พบปั ญหา เพราะเป็ นกิจกรรมทีป
่ ฏิบัติตาม
แนวทางการดำาเนิ นการที่มีอยู่แล้วและเป็ นการบริการสามารถรับรู้ได้ถึงคุณภาพการให้บริการด้วยภารกิจขององค์กร
แต่สำาหรับการบริการเชิงสังคมที่เน้นด้านพฤติกรรมบริการซึ่งเป็ นการติดต่อสัมพันธ์ระหว่างผู้ให้บริการ (เจ้าหน้าที่)
และผู้ใช้บริการ (ผู้ป่วยหรือประชาชนทัว่ ไป) ไม่ว่าจะด้วยกริยามารยาท ลักษณะการพูดจา ความกระตือรือล้น ความมี
นำ้าใจ หรือแม้แต่สีหน้าท่าทางผู้ให้บริการที่แสดงต่อผู้ใช้บริการ สิ่งเหล่านี้ ยังคงเป็ นปั ญหาใหญ่สำาหรับการให้บริการ
เชิงสังคมและจากการสำารวจแบบประเมินหรือข้อร้องเรียนที่ได้จากผู้ใช้บริการ ถือเป็ นสิ่งสะท้อนให้เห็นปั ญหาที่ยังคง
เกิดขึ้น เช่น เจ้าหน้าที่พูดจาไม่ไพเราะ ไม่กระตือรือร้น ไม่ย้ ิมแย้ม ซึ่งหากปล่อยให้เกิดปั ญหาเหล่านี้ ต่อไป อาจส่ง
ผลเสียต่อภาพลักษณ์ขององค์กรในอนาคตและนำาไปสู่การฟ้ องร้องได้
ดังนั้ น เพื่อให้ปัญหาดังกล่าวได้รบ
ั การแก้ไข ฝ่ ายการพยาบาลจึงได้จัดอบรมโครงการดังกล่าวขึ้น ทั้งนี้
เพื่อพัฒนาพฤติกรรมบริการหรือรูปแบบการมีมนุ ษยสัมพันธ์ท่ีดี ทีผ
่ ู้ให้บริการพึงปฏิบัติต่อผู้ใช้บริการ อันจะนำามาซึ่ง
คุณภาพการให้บริการ โดยผู้ใช้บริการมีความประทับใจและพึงพอใจอย่างสูงสุด โดยยึดแนวคิดทีว่ ่าผ้ป
ู ่ วยเป็ น
ศูนย์กลางและดูแลด้วยหัวใจความเป็ นมนุ ษย์

29 รองศาสตราจารย์ ดร. นักวิชาการอิสระ ที่ปรึกษามูลนิ ธิจิตเป็ นผููใหู


ใจเป็ นนิ พพาน
30 รองศาสตราจารย์ ดร. นักวิชาการอิสระ ที่ปรึกษามูลนิ ธิจิตเป็ นผููใหู
ใจเป็ นนิ พพาน
31 รองศาสตราจารย์ ดร. นักวิชาการอิสระ ที่ปรึกษามูลนิ ธิจิตเป็ นผููใหู
ใจเป็ นนิ พพาน
แก้ไขล่าสุดเมื่อ (จ. 20 ก.ค. 2552)

32 รองศาสตราจารย์ ดร. นักวิชาการอิสระ ที่ปรึกษามูลนิ ธิจิตเป็ นผููใหู


ใจเป็ นนิ พพาน

You might also like