You are on page 1of 15

สรุปเนื้อหาที่สำคัญ สำหรับตอบคำถามเอาใจ อ.

เป้ ครัง้ ที่ ๒

ตอนที่ ๔ การปฏิบัติการร่วม
กำลังทางทะเล จาก อ.ณรงค์
ข้อ ๑.๑ : ธรรมชาติ/คุณลักษณะ/ขีดความสามารถ/ข้อ
ธรรมชาติ “Who so ever can control the sea has
จำกัด ของกำลังทางบก ทางเรือ ทางอากาศ และกำลังรบ
command of everything” ผู้ทส
ี่ ามารควบคุมทะเล จะ
อื่นๆ (ตชด./พลเรือน)
บัญชาการได้ทุกสิ่ง
กำลังทางบก (จาก อ.ณรงค์)
ธรรมชาติ เพื่อปฏิบัตก
ิ ารในสภาพแวดล้อมทางบกอย่าง คุณลักษณะ ความคล่องตัว (Mobility) / ปฏิบัตก
ิ ารได้
ต่อเนื่อง หลายอย่าง (Versatile) / ปฏิบัตก
ิ ารได้ยาวนาน
(Sustained Reach) / อายุการใช้งาน (Life Cycle)
คุณลักษณะ เป็ นกำลังที่ใช้ในสภาพแวดล้อมทางบกซึ่ง
ประกอบด้วย ผิวพื้นของโลก / เขตน่านน้ำ / ห้วงอากาศ ขีดความสามารถ
กำลังทางบกประกอบด้วย หน่วยทางพื้นดิน / หน่วย (๑) ความสามารถในการฟื้ นตัว (Resilience)
ส่งทางน้ำ / ระบบพื้นดิน-อากาศ บางระบบ (๒) ความสามารถในการลำเลียง (Lift Capability)
(๓) ความสามารถวางกำลังพร้อมอยูใ่ นพื้นที่ปฏิบต
ั ิการ
ขีดความสามารถ (Poise)
(๑) เป็ นกำลังทีส
่ ามารถยึดครองพื้นที่ประชาชน และ (๔) ความสามารถในการใช้คานอำนาจกำลังทางบก
ทรัพยากรได้โดยตรงอย่างต่อเนื่อง และกว้างขวาง (Leverage)
(๒) เป็ นกำลังทีใ่ ช้ดำเนินการโดยเด็ดขาดในขัน
้ สุดท้ายเพื่อ
บังคับให้อีกฝ่ ายปฏิบัตต
ิ ามความประสงค์ของตน ข้อจำกัด
(๓) เป็ นกำลังทีใ่ ช้เป็ นหลักในการรักษาเสถียรภาพและ (๑) ต้องใช้ท่าเทียบเรือ
ความมั่นคงภายใน (๒) ยากต่อการป้ องกันการก่อวินาศกรรมฐานทัพ
(๓) เคลื่อนที่ได้ช้า
ข้อจำกัด (๔) ยากต่อการป้ องกันการโจมตีทางอากาศได้
(๑) เคลื่อนที่จำกัดขึน
้ อยู่กับภูมิประเทศ และประเภทของ (๕) ต้องอาศัยการส่งกำลังบำรุงอย่างต่อเนื่อง
หน่วย (๖) มีข้อจำกัดในการปฏิบต
ั ิเวลากลางคืน หรือเมื่อสภาพ
(๒) ต้องการรับการสนับสนุนทางการส่งกำลังบำรุงอย่าง อากาศไม่ดี
ต่อเนื่อง
(๓) เป็ นเป้ าหมายทีเ่ สียเปรียบ และล่อแหลมต่อการโจมตี กำลังทางอากาศ
ทางอากาศ และระดมยิงจากกำลังทางเรือ ธรรมชาติ เป็ นกำลังที่มีความซับซ้อน มีราคาแพง และมี
จำนวนจำกัด ดังนัน
้ การใช้งานต้องเป็ นไปอย่างละเอียด
การปฏิบัติการทางบก รอบคอบ และมุ่งเน้นให้เกิดประโยชน์และความคุ้มค่า
(๑) การปฏิบัตก
ิ ารรบด้วยวิธีรุก ก่อให้เกิดชัยชนะอย่าง สูงสุด
เด็ดขาด คุณลักษณะ ความเร็ว (Speed) / พิสัย (Range) / ความ
(๒) การปฏิบัตก
ิ ารรบด้วยวิธีรับ เพื่อยับยัง้ ข้าศึก อ่อนตัว (Flexibility)/ ความแม่นยำ (Flexibility)
(๓) การปฏิบัตก
ิ ารรบด้วยวิธีร่นถอย เพื่อดึงข้าศึกเข้ามา
ในพื้นทีท
่ ี่ไม่เกื้อกูลต่อข้าศึก ขีดความสามารถ

57698340.docx หน้าที่ 1 จาก ฒ หน้า


สรุปเนื้อหาที่สำคัญ สำหรับตอบคำถามเอาใจ อ.เป้ ครัง้ ที่ ๒
(๑) การตอบสนอง (RESPONSIVENESS)
(๒) ความคล่องตัว (MOBILITY) ขีดความสามารถ มีคุณลักษณะผสมผสานระหว่างความ
(๓) ความอยู่รอด (SURVIVABILITY) เป็ นพลเรือน ตำรวจ และทหารเข้าด้วยกัน / สามารถ
(๔) การแสดงท่าที (PRESENTATION) ดำเนินการจับกุมและปราบปรามอาชญากรรมได้ /
(๕) อำนาจการทะลุทะลวง (PENETRATIVE ABILITY) สามารถปฏิบัติการรบนอกแบบ โดยเฉพาะการรบแบบ
(๖) อำนาจการทำลาย (DESTRUCTIVENESS) กองโจร ป้ องกันและปราบปรามการก่อความไม่สงบ /
(๗) การตรวจการณ์ (OBSERVATION) ดำเนินการด้านการข่าว / การพัฒนาช่วยเหลือประชาชน
(๘) บรรทุกอาวุธกระสุนใหม่ได้ (RELOAD) เพื่อความมั่นคงของชาติ / การบรรเทาภัย / ปฏิบต
ั ิการ
(๙) เรียกกลับมาได้ (RECALL) ภายใต้การควบคุมของทหาร

ข้อจำกัด ข้อจำกัด
(๑) มีจำนวนจำกัด (๑) ไม่สามารถทำการรบแบบกองทัพประจำถ้าไม่ได้รับ
(๒) ต้องใช้เทคโนโลยีที่ซับซ้อนมาก การฝึ กเพิ่มเติมอย่างพอเพียง
(๓) อากาศยานแต่ละชนิดแต่ละแบบมีคุณสมบัตเิ ฉพาะ (๒) ใช้ระบบและวิธีการส่งกำลังบำรุงอย่างตำรวจ ซึ่ง
แตกต่างกัน เหมาะสมกับการปฏิบัติในสภาวะปกติ
(๔) ต้องพึ่งระบบควบคุมการปฏิบัติทางอากาศยุทธวิธี (๓) มีอาวุธยุทโธปกรณ์ประจำกาย ประจำหน่วย เครื่อง
(๕) เมื่ออยู่บนพื้นดินไม่สามารถป้ องกันตนเองได้ มือสื่อสาร และยานพาหนะจำนวนจำกัด
(๖) ค่าใช้จ่ายสูง HIGH COST (๔) ไม่สามารถทดแทนกำลังพลได้ทน
ั ทีเมื่อเกิดการสูญ
(๗) เปราะบาง ถูกทำลายง่าย เมื่ออยู่บนพื้นดิน เสีย
(๘) ต้องอาศัยฐานบิน และสิ่งอำนวยความสะดวก
(๙) ไม่สามารถยึดครองพื้นที่ได้ กำลังพลเรือน (โดยเอ็กซ์)
(๑๐) มีข้อจำกัดทางการเมืองสูง ธรรมชาติ เตรียมทรัพยากรตัง้ แต่ในภาวะปกติเพื่อ
สนับสนุนและชดเชยทรัพยากรทีก
่ องทัพขาดแคลน
กำลังตำรวจตระเวนชายแดน (โดยเอ็กซ์) คุณลักษณะ ทีความทันสมัย-เชีย
่ วชาญเฉพาะด้าน /
ธรรมชาติ หน่วยระดับหมวดสามารถปฏิบัติการอิสระได้ กระจายอยูท
่ ั่วไป / ใช้เวลาในการเตรียมการนาน
/ กองร้อยเป็ นหน่วยหลักในการดำเนินกลยุทธด้านการ
ทหาร และปฏิบต
ั ิงานด้านการเมืองในพื้นที่รับผิดชอบ / ขีดความสามารถ
ควรมอบภารกิจควบคู่กับพื้นที่ปฏิบัตก
ิ าร (๑) มีทรัพยากรครอบคลุมหลายสาขา
(๒) มีการพัฒนาและวิจัยทรัพยากร
คุณลักษณะ (๓) ทีต
่ งั ้ กระจายทุกพื้นที่ ในการระดมส่งกำลังบำรุง
(๑) สามารถทำการรบได้อย่างทหารราบด้วยหน่วยขนาด (๔) กำลังประชาชนกระจายอยูท
่ ุกพื้นที่
เล็ก (๕) ช่วยในการพิทก
ั ษ์พ้น
ื ที่ส่วนหลัง
(๒) สามารถป้ องกันและปราบปรามอาชญากรรมได้อย่าง
ตำรวจ ข้อจำกัด
(๓) สามารถให้บริการแทนกระทรวง ทบวง กรมต่างๆ ได้ (๑) การเตรียมผูเ้ ชี่ยวชาญใช้เวลาในการสร้างองค์ความรู้
อย่างพลเรือน และประสบการณ์

57698340.docx หน้าที่ 2 จาก ฒ หน้า


สรุปเนื้อหาที่สำคัญ สำหรับตอบคำถามเอาใจ อ.เป้ ครัง้ ที่ ๒
(๒) ทรัพยากรบางประเภทไม่สามารถจัดหาได้อย่างเร่ง (๒) การปฏิบัตก
ิ ารจากทะเล ประกอบด้วย
ด่วน - การปฏิบัตก
ิ ารสะเทินน้ำสะเทินบก
(๓) ขาดความรู้ ความเข้าใจของภาคส่วนในการสนับสนุน - การป้ องกันกำลังรบบนฝั่ ง
กองทัพ - การอพยพประชาชนออกจากพื้นที่การรบ
(๔) ขาดประสบการณ์ในการทำงานร่วมกับฝ่ ายทหาร - ใช้กำลังทางเรือสนับสนุนทางการทูต
(๕) ในการเกิดภัยอื่นในคราวเดียวกันกับการสู้รบ ส่งผลก - การปฏิบัตก
ิ ารสนับสนุนการรักษาสันติภาพ
ระทบต่อการจัดสรรทรัพยากรที่มีจำกัด (๓) การรักษากฎหมาย ประกอบด้วย
- การกีดกันทางเศรษฐกิจและการกักด่าน
ข้อ ๑.๒ : แนวความคิดการใช้กำลังของ ทบ. ทร. ทอ. - การรักษาสันติภาพ
และ ทอ. มิตรประเทศ (สิงคโปร์/อินโดนีเชีย/มาเลเซีย) - การปราบปรามการกระทำอันเป็ นโจรสลัด
แนวคิดการใช้กำลังทางบก การป้ องกันประเทศ / การ - การต่อต้านการก่อการร้าย
รักษาความมั่นคงภายใน / การรักษาความสงบเรียบร้อย (๔) ภารกิจช่วยเหลือ ประกอบด้วย
ภายในประเทศ / การพัฒนาประเทศ / การปฏิบัตก
ิ าร - การช่วยเหลือผู้ประสบภัยในทะเลและบรรเทา
ทางทหารที่ไม่ใช่สงคราม สาธารณภัย
การปฏิบัติการทางบก - การอนุรก
ั ษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมทางทะเล
(1) การปฏิบัติการรบด้ววิธีรุก ก่อให้เกิดชัยชนะอย่างเด็ด - การช่วยเหลือทางมนุษยธรรม
ขาด - การปฏิบัตก
ิ ารร่วมกับมิตรประเทศและชาติ
(2) การปฏิบัติการรบด้วยวิธีรับ เพื่อยับยัง้ ข้าศึก พันธมิตร
(3) การปฏิบัติการรบด้วยวิธีร่นถอย เพื่อดึงข้าศึกเข้ามาใน - การพัฒนาประเทศ
พื้นที่ที่ไม่เกื้อกูลต่อข้าศึก
แนวคิดการใช้กำลังของ ทอ.
แนวคิดการใช้กำลังทางเรือ ประกอบด้วย การครอง
(ความเชื่อในการใช้กำลังทางอากาศ) (อ้างอิงจาก
ทะเล (Command at Sea) / การควบคุมทะเล (Sea
แนวทางการปฏิบัติการร่วม)
Control)
(1) รวมการควบคุม แยกการปฏิบต
ั ิ – กำลังทาง
การปฏิบัติการทางทะเล
อากาศมีราคาสูง ซับซ้อน และน้อย
(๑) การปฏิบัตก
ิ ารในทะเล ประกอบด้วย
(2) ความอ่อนตัวและความสามารถรอบตัว – ใช้ได้ทงั ้
- ควบคุมทะเล(ตำบลที่สำคัญ/พื้นที่/ในทะเลเปิ ด/
ระดับยุทธศาสตร์ ยุทธการ และ ยุทธวิธี
การกำหนดเขตหวงห้ามเฉพาะทางทะเล)
(3) ความต่อเนื่องในการปฏิบัติ – ไม่จำเป็ นต้องครอบ
- การปิ ดล้อม
ครองภูมิประเทศหรืออยู่บริเวณใกล้เคียง แต่
- การคุ้มครองเส้นทางคมนาคม
สามารถปฏิบัติการซ้ำได้
- การปฏิบัตก
ิ ารเป็ นพื้นที่และการตัง้ แนวสกัดกัน

(4) ดำรงไว้ซึ่งความมุ่งหมายหลัก – มีน้อยต้องใช้ตรง
- การป้ องกันทางลึก
ทีเ่ ป็ นประโยชน์จริงๆ และทุ่มเทลงไปในที่นน
ั้
- การรบเฉพาะตำบลที่
(5) ลำดับความเร่งด่วนในการปฏิบัติ – จัดลำดับการ
- การยับยัง้ ข้าศึกโดยการเบี่ยงเบนความสนใจ
ใช้ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์
- การลาดตระเวนตรวจการณ์ทางทะเล
(6) ความสมดุลในกาปฏิบต
ั ิ – เช่น ระหว่างภารกิจ
- การสนับสนุนกำลังรบในทะเล
และความอยู่รอด

57698340.docx หน้าที่ 3 จาก ฒ หน้า


สรุปเนื้อหาที่สำคัญ สำหรับตอบคำถามเอาใจ อ.เป้ ครัง้ ที่ ๒
(7) การผนึกกำลังทางอากาศและการข่าวสาร – หลักพื้นฐานการยุทธร่วม (Fundamentals of Joint
ข่าวสารดี – เป้ าหมายตรง – คำนวณอาวุธตรง – Warfare)
ดำเนินการสำเร็จ (1) เอกภาพของความพยายาม (Unity of effort)
(2) การรวมกำลังอำนาจกำลังรบทางทหาร
แนวคิดการใช้กำลังทางอากาศของมิตรประเทศ (โดย (Concentration of military power)
Howe) (3) ดำรงและรักษาความริเริ่ม (Seizing and
Indonesia “Wing of the Motherland” เป็ นแนวทาง maintaining the initiative)
ระดับยุทธศาสตร์ในการกำลังทางอากาศ ผ่านการดำเนิน (4) ความคล่องตัว (Agility)
การให้มเี อกภาพในการปฏิบัตเิ พื่อให้บรรลุภารกิจของกอง (5) การปฏิบัติการซึ่งขยายผลทัง้ ทางกว้างและทางลึก
ทัพอากาศ ทัง้ นีพ
้ ิจารณาจากภัยคุกคามโดยรอบ และผล (Operations extended to fullest breadth and
ประโยชน์หลักและที่สำคัญ โดยมีภารกิจในการทำการรบ depth)
จัดการภาวะวิกฤต และปฏิบัติการรักษาความสงบ (6) การดำรงเสรีในการปฏิบัติ (Maintaining freedom
นานาชาติ of action)
(7) การดำรงความต่อเนื่องในการรบ (Sustaining
Malaysia ยุทธศาสตร์ในการพัฒนากองกำลังในการ operations)
ป้ องกันทัง้ หมดและการป้ องกันแนวหน้า โดยมีภารกิจใน (8) ความชัดเจน (Clarity of Expression)
การต่อต้านทางอากาศ การใช้กำลัง การสนับสนุนและ (9) รู้เขารู้เรา (Knowledge)
การเพิ่มศักยภาพของกองกำลัง
ข้อ ๑.๔ : หลักนิยมการปฏิบต
ั ิการร่วมกองทัพไทย พ.ศ.
๒๕๕๐ ด้านต่างๆ (กำลังพลร่วม ข่าวกรองร่วม ยุทธการ
Singapore เพื่อสนับสนุนให้มีการครองข้อมูลข่าวสารใน
ร่วม การส่งกำลังบำรุงร่วม กิจการพลเรือนร่วม สื่อสาร
สนามรบ และส่งผลต่อการตัดสินใจในยุทธภูมิ โดย
ร่วม)
สอดคล้องกับภัยคุกคามทุกรูปแบบ ทัง้ นีม
้ ีหลักนิยมอยู่บน
พื้นฐานของ กรอบแนวความคิด บุคลากร และเทคโนโลยี
หลักนิยมการปฏิบัติการร่วมของกองทัพไทยด้านกำลัง
อีกทัง้ ภารกิจหลักคือการป้ องกันและการครองอากาศ
พลร่วม (โดยหลวง)
ภารกิจ
ข้อ ๑.๓ : แนวคิด/หลักการ รวมทัง้ หลักการพื้นฐาน ของ
มีหน้าที่ประสานงานการสนับสนุนกำลังพลอย่างทันเวลา
การปฏิบัตก
ิ ารร่วม (หลักการยุทธร่วม ๙ ข้อ)
ต่อผู้บัญชาการกำลังรบร่วม เพื่อให้เกิดความพร้อมรบและ
หลักการยุทธร่วม ๙ ข้อ
รักษาระดับขีดความสามารถในระดับยุทธการของกอง
การยุทธร่วม / การปฏิบัตก
ิ ารร่วม (Joint
กำลังทัง้ หมด ในอันที่จะทำให้เกิดความมั่นใจว่าจะประสบ
Operations) เป็ นการปฏิบัตก
ิ ารทางทหารซึ่งกระทำโดย
ความสำเร็จตลอดห้วงระยะเวลาของการปฏิบัตก
ิ ารทาง
กองกำลังรบร่วม หรือกำลังเหล่าทัพต่างๆ โดยมีความ
ทหาร
สัมพันธ์แบบต่างๆ
การยุทธร่วม คือ การร่วมรบ ณ รอยตะเข็บ ซึ่ง ณ
รอยตะเข็บนัน
้ แหละคือ ตำบลที่ข้าศึกจะทำอันตรายเรา
และเป็ นตำบลทีเ่ รามักจะฆ่ากันเอง
พันธกิจ

57698340.docx หน้าที่ 4 จาก ฒ หน้า


สรุปเนื้อหาที่สำคัญ สำหรับตอบคำถามเอาใจ อ.เป้ ครัง้ ที่ ๒
(๑) การเตรียมพล เป็ นการกำหนดนโยบาย แผน (๒) การวางแผนและการปฏิบัตก
ิ ารสนับสนุนด้าน
และข้อแนะนำเกี่ยวกับการกำลังพลร่วม รวมทัง้ การ กำลังพลส่งผลกระทบต่อการปฏิบัตด
ิ ้านอื่นๆ เช่น การส่ง
ปฏิบัตก
ิ ารกำลังพลร่วมอย่างกว้าง ๆ แผนการเตรียมพล กำลังบำรุง เป็ นต้น ดังนัน
้ จึงต้องมีการประสานงานกับ
จะรวมถึงการพัฒนาแผนการเสนอความต้องการในการ ฝ่ ายเสนาธิการร่วมด้านอื่นๆ
ระดมพลด้วย (๓) มีความต้องการด้านการบริการกำลังพล
(๒) การจัดการกำลังพล/คนร่วม เป็ นการกำหนด เป็ นการดำเนินการทางธุรการเช่น การพักผ่อน การฟื้ นฟู
นโยบายกว้าง ๆ เกี่ยวกับการจัดการกำลังพลร่วม รวมถึง กำลังพล การให้รางวัลและบำเหน็จความชอบ เงินเดือน
กำลังพลทีเ่ ป็ นพลเรือนด้วย รวมถึงเงินชดเชยต่างๆ
(๓) การบริหารกำลังพล เป็ นการดำเนินการด้าน
ธุรการให้กับกำลังพล เช่น การพักผ่อน การฟื้ นฟูกำลังพล หลักนิยมการปฏิบัติการร่วมของกองทัพไทยด้านข่าว
การให้รางวัล และบำเหน็จความชอบเงินเดือน รวมทัง้ เงิน กรองร่วม (โดยหลวง)
ชดเชยต่างๆ
ภารกิจ สนับสนุนโดยตรงแก่ผู้บังคับบัญชาในภาพรวม
ขีดความสามารถ ของสถานการณ์ ด้วยข้อมูลที่ครบถ้วน ทันต่อเวลา และ
(๑) มีจิตสำนึกและอุดมการณ์ในความเป็ นกองทัพ ตรงตามความต้องการ เพื่อการตัดสินใจของ ผบช.
เพื่อป้ องกันสถาบันหลักของชาติ มีความเสียสละ ความ
กล้าหาญ และความเข้มแข็งทัง้ ทางด้านร่างกายและจิตใจ พันธกิจ
(๒) มีความรู้ความสามารถและความชำนาญใน (๑) เพื่อสนับสนุนผู้บญ
ั ชาการ และฝ่ ายเสนาธิการ
ภารกิจของเหล่าทัพตัวเองสูง โดยการทำให้แน่ใจว่า ข่าวกรองสามารถใช้ประโยชน์ได้
(๓) เป็ นพื้นฐานของการบูรณาการเพื่อสนับสนุน และเชื่อถือได้ รายงานสิ่งบอกเหตุ และแจ้งเตือนทีท
่ ัน
และเสริมสร้างความเข้มแข็งในหลายมิติของกองทัพให้สูง เวลาในลักษณะของพื้นที่ เข้าร่วมในการวางแผน การ
ขึน
้ รวมถึงเป็ นการเพิ่มผลผลิตและผลลัพธ์จากทรัพยากร ประสาน การกำกับ การสนธิ และการควบคุม ของฝ่ าย
ด้านกำลังพลที่มีอยู่แล้วในแต่ละเหล่าทัพ เสนาธิการร่วม ทุ่มเทความพยายามของข่าวกรองบนข่าว
(๔) การลดข้อจำกัดด้านทรัพยากรด้านกำลังพลของ ทีเ่ กี่ยวกับฝ่ ายตรงข้ามเพื่อประโยชน์ด้านข่าวกรองของ
ประเทศ เนื่องจากการแลกเปลี่ยนหรือการมีส่วนร่วมด้าน ฝ่ ายเรา ณ เวลาที่เหมาะสม
กำลังพลในแต่ละเหล่าทัพ (๒) ทำให้แน่ใจในการรวบรวมข่าวกรองที่พอเพียง
และสามารถรายงานเพื่อเปิ ดเผยขีดความสามารถ และ
ข้อจำกัด/ข้อพิจารณา เจตนาของฝ่ ายตรงข้ามอย่างเร็วที่สด
ุ เท่าที่จะทำได้ และ
(๑) กำลังพลร่วมในระดับผู้ปฏิบัติและระดับการ สนับสนุนภารกิจการคุ้มครองกำลังรบของ ผบ.กำลังรบ
วางแผนการยุทธ์ร่วม มักจะขาดความเข้าใจในธรรมชาติ ร่วม
และขีดความสามารถของเหล่าทัพอื่น อันเนื่องมาจาก
การขาดพื้นฐานการศึกษาเกี่ยวกับ การปฏิบัติการร่วม ขีดความสามารถ
ระหว่างเหล่าทัพ และวัฒนธรรมของสังคมไทย ที่มก
ั จะ (๑) เป็ นการบูรณาการการปฏิบัติการข่าวกรองของ
ขาดธรรมชาติของการทำงานร่วมกันเป็ นหมู่คณะ ทุกหน่วยงาน อย่างต่อเนื่อง ๒๔ ชั่วโมงทัง้ ในยามปกติ
(Teamwork) และยามสงคราม

57698340.docx หน้าที่ 5 จาก ฒ หน้า


สรุปเนื้อหาที่สำคัญ สำหรับตอบคำถามเอาใจ อ.เป้ ครัง้ ที่ ๒
(๒) ผู้ปฏิบัติงานด้านการข่างกรอง จำเป็ นต้องมี ภารกิจ การสนธิภารกิจของแต่ละเหล่าทัพเข้าด้วยกัน
ความรู้ ความเข้าใจ ทัง้ ฝ่ ายเราและฝ่ ายข้าศึกเป็ นอย่างดี เพื่อใช้ลักษณะที่แตกต่างของแต่ละเหล่าทัพในการปฏิบัติ
ตลอดจนต้องมีประสบการณ์ในการวิเคราะห์ ประเมิน ภารกิจร่วมทีเ่ หมาะสมที่สุดเพื่อบรรลุภารกิจและพันธกิจ
ข่าวสารให้เป็ นข่าวกรองได้อย่างถูกต้อง และทันเวลา ร่วมของกองทัพไทย โดยในภาวะสงครามจะต้อง จัดทำ
(๓) ระบบการติดต่อสื่อสารจำเป็ นต้องมี แผน และพัฒนาแผน
ประสิทธิภาพสูง สามารถรับ-ส่งข่าวสารได้จากทุกสถานที่
และทุกเวลา โดยต้องมีประสิทธิภาพในการต่อต้านข่าว ขีดความสามารถ เป็ นการสนธิการใช้กำลังของแต่ละ
กรอง เหล่าทัพเข้าปฏิบัติการต่อภารกิจ ภายใต้คุณลักษณะและ
ข้อจำกัด ขีดความสามารถที่มีอยู่ เป็ นพื้นฐานหลักในการเสริมสร้าง
(๑) สื่อมวลชนยังขาดความเข้าใจ และความสำคัญ ความแข็งแกร่งของกองทัพ ต้องเป็ นปฏิบต
ั ิการที่
ของรักษาความลับ และ/หรือการเผยแพร่ข่าวสารที่อาจมี สอดคล้องและทวีกำลัง โดยรวมพลังทุกภาคส่วนเข้าด้วย
ผลต่อความมั่นคงของชาติ และ/หรือต่อการปฏิบัตก
ิ าร กัน ให้พร้อมเผชิญสงครามหลากหลายมิติ
ข่าวกรองร่วม
(๒) สิ่งอุปกรณ์ทส
ี่ ามารถใช้ควบคุม สืบค้น ค้นหา ข้อจำกัด หลักนิยมในการปฏิบัตก
ิ ารร่วม / งบประมาณ
รวบรวมข่าวสารได้ตลอดเวลา และทุกสถานทีท
่ ี่ต้องการ / การฝึ ก / ความสัมพันธ์ระหว่างเหล่าทัพ
เช่น ดาวเทียมเพื่อการททหาร ซึ่งในปั จจุบันได้อาศัย
ดาวเทียมที่มีวัตถุประสงค์ด้านอื่นรวบรวมข้อมูล ข่าวสาร หลักนิยมการปฏิบัติการร่วมของกองทัพไทยด้านส่ง
จึงต้องทำให้ต้องมาดำเนินกรรมวิธีแปลความ และ/หรือ กำลังบำรุงร่วม (โดยหลวง)
หาข้อมูล ข่าวสารเพิ่มเติม เพื่อประเมินเป็ นข่าวกรอง
ทางการทหาร ภารกิจ วางแผน ประสานงาน และกำกับดูแล การส่ง
(๓) เจ้าหน้าที่ และประชาชน ทั่วไปยังมีความรู้ กำลัง การซ่อมบำรุง การซ่อมแซม การส่งกลับ การขนส่ง
ความเข้าใจ และให้ความสำคัญต่อการปฏิบัติการข่าว การซ่อมบำรุง การกู้ซ่อม การจัดหา การบริการทางการ
กรองค่อนข้างน้อย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการต่อต้านข่าว แพทย์ การศพ สนับสนุนระบบการสื่อสาร อีกทัง้ กำหนด
กรอง นโยบาย เพื่อทำให้แน่ใจว่าการสนับสนุนทางการส่งการ
(๔) แต่ละเหล่าทัพ และหน่วยงานอื่นๆ มี ลังบำรุง มีประสิทธิภาพสำหรับกำลังทัง้ หมดในกอง
วัตถุประสงค์ ความต้องการข่าวกรองที่แตกต่างกัน บัญชาการ และประสานการปฏิบัติตามนโยบาย และ
เนื่องจากการปฏิบัตก
ิ ารทางทหารส่วนใหญ่ของแต่ละ แนวทางของผู้บญ
ั ชาการรบ
เหล่าทัพ ไม่ได้ปฏิบัติการตามหลักการแนวทางการปฏิบัติ
การร่วม จึงทำให้แนวทางการปฏิบัตก
ิ ารข่างกรองร่วมของ พันธกิจ การส่งกำลัง และ การบริการ
ผู้แทน และ/หรือหน่วยงานข่าวกรองที่สนับสนุนฝ่ ายข่าว
กรอง ขีดความสามารถ  มีโครงสร้างการส่วนการส่งกำลัง
บำรุง / มียท
ุ โธปกรณ์ที่สามารถนำสอดประสานเสริมกัน /
หลักนิยมการปฏิบัติการร่วมของกองทัพไทยด้าน ให้การส่งกำลังบำรุงเป็ นเส้นเลือดใหญ่ในการสนับสนุน
ยุทธการร่วม (โดยหลวง) กำลังรบ /มีความพร้อมในระดับสูงเมื่อเทียบกับประเทศ
เพื่อนบ้านในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

57698340.docx หน้าที่ 6 จาก ฒ หน้า


สรุปเนื้อหาที่สำคัญ สำหรับตอบคำถามเอาใจ อ.เป้ ครัง้ ที่ ๒
ข้อจำกัด ขาดทักษะการประสานงานเพื่อให้เกิดการบู ปฏิบัตก
ิ ารในตัวของมันเองและต้องพยายามเชื่อมโยง
รณาการส่งกำลังบำรุงร่วม / งบประมาณที่จำกัดในการส่ง ข่ายงานในหน้าที่ของฝ่ ายทหารแขนงอื่นๆกับข่ายงานฝ่ าย
กำลังบำรุงร่วม / แต่ละเหล่าทัพมีธรรมชาติลักษณะ รูป พลเรือนและอาจรวมถึงภาคเอกชนทีต
่ ้องเกี่ยวข้องกับ
แบบ ระบบการบริหาร หลักนิยมค่านิยมความคิดที่แตก ภารกิจให้สอดคล้องกันอย่างเป็ นระบบ สำหรับขอบเขต
ต่างกัน / ปั ญหาการสื่อสารระหว่างเหล่าทัพ / ขาดการ การอำนวยการและการปฏิบัตก
ิ ารดังกล่าวขึน
้ อยูก
่ ับ
แบ่งขอบเขตสิทธิหน้าที่ระหว่างกันในโครงสร้างการส่ง หน้าที่ และขีดความสามารถของเจ้าหน้าทีก
่ ิจการพลเรือน
กำลังบำรุงร่วม / ขาดประสบการณ์การส่งกำลังบำรุงร่วม ของหน่วยงานนัน
้ ๆ
ในสถานการณ์สงครามจริง / ไทยขาดประสบการณ์ใน
การระดมสรรพกำลังด้านการส่งกำลังบำรุงจากทุกภาค ข้อจำกัด ต้องพิจารณาถึงสถานการณ์และพันธะเงื่อนไข
ส่วนของสังคม / ความต้องการ สป.(สิ่งอุปกรณ์) ของ ทางกฎหมายต่างๆของประเทศ และในทางสากล ตลอด
แต่ละเหล่าทัพบางส่วนไม่เหมือนกัน จนสนธิสญ
ั ญาและข้อตกลงระหว่างประเทศ เพื่อหลีก
เลีย
่ งการละเมิดสิทธิและเสรีภาพของปวงชน และสิทธิ
หลักนิยมการปฏิบัติการร่วมของกองทัพไทยด้านกิจการ ด้านมนุษย์ชน
พลเรือนร่วม (โดยหลวง)
หลักนิยมการปฏิบัติการร่วมของกองทัพไทยด้านสื่อสาร
ภารกิจและพันธกิจ มีหน้าทีพ
่ ิจารณาเสนอความเห็น ร่วม (โดยหลวง)
เกี่ยวกับนโยบาย วางแผน อำนวยการ ประสานงาน
กำกับดูแล และดำเนินการในด้านกิจการพลเรือน ภารกิจและพันธกิจ การกำหนดภารกิจ หน้าที่ ความรับ
ของกองบัญชาการกองทัพไทย รวมทัง้ ดำเนินการใน ผิดชอบ ของหน่วยทหารสื่อสาร รวมทัง้ นโยบาย และ
หน้าที่ของสำนักงานเลขานุการคณะกรรมการปฏิบัตก
ิ าร แนวทางในการปฏิบัตใิ นระดับกองบัญชาการกองทัพไทย
จิตวิทยาแห่งชาติ การแบ่งมอบเป็ นส่วนราชการขึน
้ ตรง โดยมอบความรับผิดชอบให้แก่เหล่าทัพ (๑) ในการเตรียม
กองบัญชาการกองทัพไทย การขยาย และเพิ่มเติม ระบบข่ายการสื่อสารที่วางไว้แล้ว
ในยามปกติจัดให้มีเจ้าหน้าที่เครื่องมือสื่อสาร และชิน
้ ส่วน
ขีดความสามารถ ซ่อมสำหรับการปฏิบต
ั ิในยามสงครามอย่างเพียงพอ (๒)
๑. งานกิจการพลเรือนทางยุทธศาสตร์ มุ่งหมาย จัดให้มีหน่วยงานรับผิดชอบระบบข่ายการสื่อสาร
สนับสนุนยุทธศาสตร์ชาติ ทัง้ ๕ ด้าน มีวัตถุประสงค์หรือ แผนการบรรจุกำลังพล และการฝึ กกำลังสำรองตามแผน
เป้ าหมายระยะปานกลางจนถึงระยะยาวครอบคลุมพื้นที่ ป้ องกันประเทศ (๓) ให้ความช่วยเหลือ และร่วมมือแก่
ภายในประเทศ และพื้นทีภ
่ ายนอกประเทศซึ่งอยู่ในพื้นที่ เหล่าทัพอื่น ในการปฏิบัติและประสานงานด้านการ
อิทธิพลครอบครองของฝ่ ายเดียวกัน ฝ่ ายเป็ นกลาง หรือ สื่อสารเป็ นส่วนรวม หรือตามที่หน่วยเหนือกำหนด โดย
ฝ่ ายตรงข้าม เฉพาะอย่างยิ่งการจัดให้มีนายทหารติดต่อของแต่เหล่า
๒. งานกิจการพลเรือนทางยุทธวิธี มุ่งหมายเพื่อ ทัพอยู่ในหน่วยบัญชาการเพื่อการประสานงานในการ
สนับสนุนการปฏิบต
ั ิการรบหรือปฏิบัติอ่ น
ื ๆ ของฝ่ าย เชื่อมต่อระหว่างเหล่าทัพด้วย
ทหารหรือของฝ่ ายพลเรือน มีวัตถุประสงค์หรือเป้ าหมาย
ในระยะสัน
้ เฉพาะหน้า ครอบคลุมพื้นที่ในเขตหนึ่งๆ ขีดความสามารถ
๓. การดำเนินงานกิจการพลเรือนในทุกระดับหน่วย
นัน
้ จะมีลักษณะผสมระหว่างการอำนวยการกับการ

57698340.docx หน้าที่ 7 จาก ฒ หน้า


สรุปเนื้อหาที่สำคัญ สำหรับตอบคำถามเอาใจ อ.เป้ ครัง้ ที่ ๒
(๑) การวางโครงข่ายระบบโทรคมนาคมด้านการ (๕) การจัดโครงสร้างกองทัพ ไม่สนับสนุนการรบ
สื่อสารร่วมระหว่างเหล่าทัพต่างๆและ บก.ทท. มีประสิทธ ร่วม ทำให้การติดต่อประสานงานไม่มีประสิทธิภาพเพียง
ภาพการส่งข้อมูลสูง พอ ไม่มีคำสั่งชัดเจน ในการปฏิบต
ั ิภารกิจรบร่วม ไม่มี
(๒) การวางระบบการสื่อสารร่วม สามารถเชื่อมต่อ แผนการปฏิบัติ
การสื่อสาร บก.ทท.เหล่าทัพ และส่วนราชการทีเ่ กีย
่ วข้อง
ได้ ข้อ ๑.๕ : ข้อดีและข้อเสียของการปฏิบัติการร่วม
(๓) หน่วยที่ดำเนินการวางระบบสื่อสาร สามารถ งงกับแนวทางข้อสอบที่อาจารย์ให้มาเหมือนกัน แต่จาก
อำนวยความสะดวกด้านการสื่อสารที่จำเป็ นสำหรับเหล่า ประสบการณ์จากการสอบครัง้ ที่๑ “ผมเดาว่า” แกถาม
ทัพในการปฏิบัติตามแผนป้ องกันประเทศ คำถามพร้อมเฉลยคำตอบมาแล้วเราแค่หาคำมาขยาย
(๔) สามารถควบคุมการใช้ช่องสื่อสาร ของ บก.ทท. ความตามหัวข้อดังนี ้
เหล่าทัพ ซึ่งจะได้รับมอบช่องสื่อสารปลายทางให้ใช้
เฉพาะ ขยายของเขตภารกิจ – เมื่อมีการปฏิบัตก
ิ ารร่วม แสดง
(๕) หน่วยงานดูแลการสื่อสารร่วมสามารถควบคุม ว่าขอบเขตของภารกิจจะต้องมีขนาดใหญ่ขน
ึ ้ การวางแผน
กำกับดูแล รวมถึงการแบ่งมอบ และการเรียกคืนช่อง ต้องมีความซับซ้อนและยุ่งยากมากขึน
้ จังหวะเวลาในการ
สื่อสารได้ เพื่อประกันว่าระบบการสื่อสารที่ใช้ร่วมจะไม่ รบมีความสำคัญและละเอียดมากขึน
้ เช่น กรณีของบ้าน
ขาดการติดต่อ หรือหยุดชะงัก ร่มเกล้า จังหวะเวลาไม่ดี (หรือการวางแผนร่วมไม่ดี) ก่อ
(๖) สามารถตอบสนองภารกิจด้านการสื่อสารของ ให้เกิดความสูญเสีย
การปฏิบัตก
ิ ารร่วมเมื่อมีหน่วยหลายหน่วยที่ปฏิบต
ั ิอยูใ่ น
พื้นที่เดียวกัน เสริมขีดความสามารถ – การปฏิบต
ั ิการร่วมทำให้ ขีด
ความสามารถของกองทัพ (Force) เพิ่มขึน
้ เช่น กองทัพ
ข้อจำกัด บกพึ่งข้อมูลจากการลาดตระเวณของกำลังทางอากาศ
(๑) ระเบียบปฏิบต
ั ิแต่ละเหล่าทัพไม่เป็ นมาตรฐาน ช่วยเพิ่มความตระหนักรู้ในสถานการณ์การรบได้ดียิ่งขึน

เดียวกัน เป็ นต้น
(๒) หน่วยงานรับผิดชอบของการสื่อสารร่วมไม่มี
อำนาจทีเ่ ป็ นเอกภาพในการดำเนินการด้านการสื่อสาร ลดข้อจำกัด – สืบเนื่องมาจากขีดความสามารถที่เพิ่มขึน

ร่วม ส่งผลให้ข้อจำกัดบางประการที่มน
ี น
ั ้ ถูกลดหรือขจัดให้
(๓) มาตรฐานของระบบการบังคับบัญชา การ หมดไป เช่น การไปโจมตีสานามบินข้าศึกในครัง้ นีม
้ ีโอกาส
ควบคุม การสื่อสาร คอมพิวเตอร์ และงานข่าวกรอง ยังไม่ ที่จะล้มเหลวสูงเนื่องจากข้าศึกมีระบบป้ องกันภัยทาง
สามารถเข้ากันได้ดี เพียงพอ ทำให้มีการรบกวนซึ่งกันและ อากาศที่แข็งแกร่งหรือต้องใช้ระเบิดมหาศาลเกินกว่าที่เรา
กัน และสามารถปฏิบัติงานร่วมกันได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ มี เราพิจารณาแล้วอาจเลือกใช้หน่วยรบพิเศษไปทำลาย
เนื่องจากการกำหนดมาตรฐานยังไม่เป็ นรูปธรรม เส้นทางสื่อสารของระบบบัญชาการและควบคุมแทน
(๔) มาตรฐานที่มีปัญหามากทีส
่ ุดได้แก่ มาตรฐาน เป็ นต้น
ข้อมูลทัง้ นีเ้ นื่องจาก การที่เหล่าทัพต่างๆ ไม่ป้อนข้อมูลที่
ถูกต้องตามความเป็ นจริงในปั จจุบันลงในส่วนของฐาน เพิ่มประสิทธิภาพ – เนื่องจากว่าขีดความสามารถเพิ่มขึน

ข้อมูล ทำให้ข้อมูลดิบไม่มีความน่าเชื่อถือและไม่มี และข้อจำกัดในการปฏิบต
ั ิภารกิจลดลง ย่อมส่งผลให้การ
ประสิทธิภาพในการนำไปใช้จริง

57698340.docx หน้าที่ 8 จาก ฒ หน้า


สรุปเนื้อหาที่สำคัญ สำหรับตอบคำถามเอาใจ อ.เป้ ครัง้ ที่ ๒
ปฏิบัติภารกิจให้สำเร็จนัน
้ ใช้ความพยายามน้อยลง หรือ CFE เป็ นคณะกรรมการหรือคณะทำงานประสาน
ประสิทธิภาพเพิ่มขึน
้ นั่นเอง สอดคล้องการยุทธ์ เป็ นการทำงานข้ามสายงานของฝ่ าย
อำนวยการเพื่อประสานสอดคล้องข้อมูลและการปฏิบัติ
ประหยัด/สิน
้ เปลือง – การปฏิบัตก
ิ ารร่วมมักจะทำให้มี เช่น คณะทำงานปฏิบัตก
ิ ารพลเรือน-ทหาร และคณะ
ความสิน
้ เปลืองมากขึน
้ เพราะมีกองกำลังในการปฏิบัติ กรรมการการยิงและผลที่ต้องการ สิ่งที่สำคัญที่สุด : CFE
ภารกิจที่มากขึน
้ นัน
่ เอง คือกำลังทัง้ สามเหล่าทัพปฏิบต
ั ิ เอื้อให้เราสามารถ “ระดม” ทรัพยากรด้านความรู้ต่างๆ
ภารกิจร่วมกันเพียงหนึ่งเดียว ที่มีให้กับ ผบช. ทำให้มีข้อมูลสำหรับการตกลงใจมากขึน

และทำให้เกิดการตกลงใจเร็วขึน
้ ได้ (ความว่องไวและ
ปั ญหา/อุปสรรค – อุปสรรคสำคัญคือแนวทาง/หลักการ/ ความอ่อนตัว)
คู่มือในการปฏิบัตก
ิ ารร่วมที่ชัดเจนและเป็ นรูปธรรม (บ้าน
B2C2WG (Board Bureau Center Cell Working
เรายังไม่มีคู่มือที่เขียนขึน
้ เองจริงๆ ที่มีอยู่กค
็ ือลอกมาจาก
Group)
ตำราการฝึ กคอบบร่าโกลด์) และปั ญหาเรื่องอำนาจในการ
มุ่งเน้นการดำเนินการของฝ่ ายอำนวย
สั่งการและปฏิบัติของหน่วยรับผิดชอบนัน
้ ไม่มีอยู่จริง
(วางแผน,อำนวยการ,ประสานงาน) เพื่อการตัดสินตกลง
ใจของ ผบช. และเอื้อให้เกิดการเชื่อมโยงกับ
ข้อ ๑.๖ : หลักสำคัญของการอำนวยการปฏิบต
ั ิการร่วม
องค์กร/หน่วยงาน เมื่อร่วมกับ B2C2WG จะช่วยการ
ประสานงานในกระบวนการฝ่ ายอำนวยการและการตกลง
หลักสำคัญของการอำนวยการปฏิบัติการร่วม (โดยพี่
ของ ผบช. ในห้วง ๓ ระยะ ได้แก่ ปั จจุบัน ระยะใกล้
อ่าง)
และระยะยาว ประกอบด้วย
KM (KNOWLEDGE MANAGEMENT)
(๑) คณะกรรมการ (Board): การประชุมที่มี
KM มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดการความรู้เพื่อให้เข้าใจใน
หัวหน้าระดับอาวุโสเป็ นประธานและมีตัวแทนจากฝ่ ายเส
สถานการณ์ ใช้เป็ นเครื่องมือที่ช่วยในการตัดสินตกลงใจ
นาธิการหลักๆ ทัง้ หมดเข้าร่วม โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้
ของ ผบช. กระบวนการ KM ดังกล่าวจำเป็ นต้องอาศัย
แนวทางหรือการตัดสินใจ (เช่น คณะกรรมการการยิงและ
คน (PEOPLE) กระบวนการ (PROCESS) และเทคโนโลยี
ผลที่ต้องการผสม)
(TECHNOLOGY)
UNCLASSIFIED
(๒) สำนักงาน (Bureau): เป็ นองค์กรหรือหน่วยงาน
พีรมิดแห่งความรู้
ระยะยาวที่ปฏิบัตก
ิ ารตามหน้าที่ หน่วยงานนีม
้ ท
ี ี่ตงั ้ หรือ
สิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ พร้อมทัง้ ฝ่ ายสนับสนุนที่ทำ
ความเข้าใจใน
สถานการณ์
ตัดสินใจ
ความรู้
หน้าทีเ่ ฉพาะด้านภายใต้บก. (เช่น สำนักงานผู้มาเยือน
การรับรู้
ข้อมูล
ร่วม หรือ Joint Visitors Bureau)
เข้ากระบวนการ
ข้อมูลดิบ
(๓) ศูนย์ (Center): เป็ นองค์กรหรือหน่วยงานที่มท
ี ี่
การตระหนักรู้ในสถานการณ์ การเข้ าใจในสถานการณ์ ตัง้ หรือสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ พร้อมทัง้ ฝ่ าย
การจั ดการข้ อมูล การจั ดการความรู้
สนับสนุนที่ได้รับมอบหมายให้ทำหน้าทีใ่ นภาพรวมภายใต้
UNCLASSIFIED 5
ฝ่ ายอำนวยการ (เช่น และศูนย์ปฏิบัติการร่วม COC และ

CFE (CROSS FUNCTIONAL ELEMENT) การ ศูนย์ข่าวกรองผสม)

ประสานสอดคล้องการยุทธ์ (๔) เซลล์ (Cell): เป็ นองค์กรหรือหน่วยงานที่ถูกจัด


ตัง้ ขึน
้ เพื่อหน้าที่เฉพาะด้าน เซลล์อาจเป็ นส่วนหนึ่งของทัง้

57698340.docx หน้าที่ 9 จาก ฒ หน้า


สรุปเนื้อหาที่สำคัญ สำหรับตอบคำถามเอาใจ อ.เป้ ครัง้ ที่ ๒
ฝ่ ายโครงสร้างฝ่ ายอำนวยตามแบบและฝ่ ายอำนวยการ เกินกว่าทีฝ
่ ่ ายพลเรือนจะเป็ นผู้รับมือได้ น่าจะเป็ นเรื่องที่
ตามหน้าที่ (traditional and functional staff เหมาะสมทีส
่ ุดในสถานการณ์โลกปั จจุบัน
structure)
(๕) คณะทำงาน (Working Group): เป็ นองค์กร หลักการ MOOTW (แนะนำให้ท่องภาษาอังกฤษว่า
หรือหน่วยงานที่ถูกจัดตัง้ ขึน
้ เพื่อหน้าทีเ่ ฉพาะด้าน โดยมี PERTLOS)
จุดประสงค์เพื่อดำเนินการวิเคราะห์ให้ผู้ใช้ คณะทำงานนี ้ (๑) Objective วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้อย่าง
อาจประกอบด้วยกลุ่มตามหน้าที่หลักฝ่ ายสนับสนุนอื่นๆ ชัดเจนและเป็ นจริงได้ด้วยความถูกต้องว่าอะไรเป็ นส่วน
รวมทัง้ ตัวแทนจากส่วนต่างๆ โดยมีหัวหน้าที่ปฏิบัติงาน ประกอบของความสำเร็จ
ตามหน้าที่เป็ นประธาน ทัง้ นี ้ อาจเป็ นคณะทำงานถาวร (๒) Unity of Effort เอกภาพของความพยายามที่
หรือเฉพาะกิจก็ได้ (เช่น คณะทำงานการยิงและผลกระ มุ่งไปสู่จุดประสงค์เดียวกัน โดยมีการประสานงานกันใน
ทบผสม) หลายหน่วยงาน
(๓) Security ความปลอดภัย มีการรักษาความ
BATTLE RHYTHM (จังหวะการรบ) ปลอดภัยทางกายภาพและมาตรการป้ องกันอื่นๆ เพื่อ
เป็ นตารางเวลาหรือกำหนดการ (Timeline) ของ ป้ องกันบุคคล และหน่วยงานจากการบ่อนทำลาย การก่อ
เหตุการณ์สำคัญยิ่งในแต่ละห้วงเวลาทีกำ
่ หนดไว้ เป็ นผล วินาศกรรม
มาจากกระบวนการแสวงข้อตกลงใจทางทหาร (MDMP) (๔) Restraint ข้อจำกัด กฎการปะทะ การใช้กำลัง
การประเมินจังหวะ(ความเร็ว)ของสนามรบ, การปฏิบัตท
ิ ี่ อย่างถูกต้องตามกฎหมายและให้เหมาะสมกับการปฏิบัติ
สำคัญในสนามรบ หรือการปะทะกับกำลังฝ่ ายตรงข้าม การให้มากที่สด

โดยตรง ซึ่งกำหนดบทบาท/หน้าที่/หน่วย/เครื่องมือที่ (๕) Perseverance ความบากบั่น เนื่องจากมี
สำคัญอย่างชัดเจน เพื่อป้ องกันความสับสนในการปฏิบัติ โอกาสทีย
่ ืดเยื้อ (ไม่ได้ใช้อาวุธหนัก) การดำเนินการตาม
วัตถุประสงค์และเป้ าหมายของชาติตอ
้ งใช้ความอดทนใน
การแก้ปัญหาอย่างต่อเนื่อง
(๖) Legitimacy ความชอบธรรม ความถูกต้องใน
ข้อ ๑.๗ : การปฏิบัตก
ิ ารทางทหารที่ไม่ใช่สงคราม (หมูทำ การกระทำด้านกฎหมาย ศีลธรรมหรือศาสนา การรับรู้
มาสมบูรณ์แบบมาก) ความชอบธรรม และความมั่นใจว่าการใช้อำนาจเป็ นเรื่อง
จริงที่มีเหตุผล
การปฏิบัติการทางทหารที่ไม่ใช่สงคราม (โดยสัญญา (๗) Transition การเปลี่ยนผ่าน ซึ่งอาจเป็ นการ
รัก) เปลีย
่ นผ่านจากการปฏิบัตก
ิ ารที่มิใช่การรบไปสู่การปฏิบัติ
ความหมายคือ การปฏิบต
ั ิการทางทหารใดๆ ที่ มุ่งไปที่ การรบ การเปลี่ยนผ่านจากการอพยพพลเรือนที่ไม่ถูกต่อ
การยับยัง้ /ขัดขวางการเกิดสงคราม และการส่งเสริมให้ ต้าน กลายเป็ นการอพยพพลเรือนที่ถก
ู ต่อต้าน ซึ่งการ
เกิดสันติภาพ การช่วยเหลือทางมนุษยธรรม การปฏิบัติ เปลีย
่ นแปลงทัง้ หมดนีอ
้ าจเกิดขึน
้ ได้ อย่างสวนทาง หรือ
การรักษาสันติภาพ เกิดขึน
้ ได้ในเวลาเดียวกัน

แนวคิด ใช้กำลังทหารร่วมกับเครื่องมืออื่นๆ ของชาติเพื่อ ประเภท/ รูปแบบ


สนองตอบต่อผลประโยชน์ชาติ เพื่อป้ องกันมิให้เกิด รูปแบบของ รูปแบบของการ รูปแบบของการ
สงครามขึน
้ ในภาวการณ์ที่ปัญหาต่างๆ ทวีความรุนแรงจน การปฏิบัติ ปฏิบัตก
ิ ารที่ ปฏิบต
ั ิมิใช่การ

57698340.docx หน้าที่ 10 จาก ฒ หน้า


สรุปเนื้อหาที่สำคัญ สำหรับตอบคำถามเอาใจ อ.เป้ ครัง้ ที่ ๒
การรบ คาบเกีย
่ วกับ รบ (๒) นโยบายการต่างประเทศ ประเทศไทยมีนโย
การรบ บายการคบค้ากันอย่างสร้างสรรค์ (Constructive
การบังคับให้ การต่อสู้การ การสนับสนุน Engagement) และป้ องกันประเทศเชิงรับ
มีการคว่ำ ก่อการร้าย การควบคุม (๓) ไม่ร้จ
ู ักตนเอง จากวัฒนธรรม ความเชื่อหรือ
บาตร อาวุธ หลักนิยมของคนไทย มีเมตตาสงสารอยากช่วยเหลือ แต่
การบังคับเขต การปฏิบัตก
ิ าร การปฏิบัติการ ศักยภาพไม่ถึงจะเข้าทำนอง “เห็นช้างขี ้ ขีต
้ ามช้าง”
หวงห้าม ต่อต้านยาเสพ สนับสนุนภายใน (๔) การจัดองค์กร กองทัพไทยไม่มีกำลังทางอากาศ
ติด ประเทศ ยุทธศาสตร์ ไม่มีหน่วยปฏิบัตก
ิ ารทางอากาศพิเศษ ไม่มี
การป้ องกัน การประกันเสรี การช่วยเหลือ ปฏิบัตก
ิ ารในอวกาศ ไม่มีฐานปฏิบัตก
ิ ารนอกประเทศ
การขนส่งทาง ในการเดินเรือ ด้านมนุษยธรรม
เรือ และเดินอากาศ ในต่างประเทศ แนวทางการพัฒนาการปฏิบัติการทางทหารที่ไม่ใช่
การโจมตีและ การปฏิบัตก
ิ าร การช่วยเหลือ สงครามของ ทอ.ไทย
การโจมตีโฉบ อพยพพลเรือน ต่างชาติ จากการบรรยาย สรุปว่า ทอ. สามารถดำเนินการได้ใน
ฉวย ปั จจุบัน ๒ เรื่อง
การปฏิบัตก
ิ าร การแสดงกำลัง (๑) การรักษาสันติภาพ (Peace Keeping) ปฏิบัติ
สันติภาพ การภายใต้กฎบัตรสหประชาชาติในบทที่ ๖ (Under

การปฏิบัตก
ิ าร การสนับสนุน Chapter VI of the UN Charter) ภายใต้การได้รับ

ส่งกลับ การก่อความไม่ ฉันทานุมัติจากเหล่าสมาชิกสหประชาชาติ รวมทัง้ การ

สงบ ให้การสนับสนุนข้อตกลงเพื่อสันติภาพ
(๒) ปฏิบต
ั ิการเพื่อมนุษยธรรม (Humanitarian

ความสามารถของการปฏิบัติภารกิจทางทหารที่ไม่ใช่ Operation) เป็ นปฏิบัตก


ิ ารที่มุ่งผลในการบรรเทาทุกข์

สงคราม ให้แก่ประชาชน กิจกรรมทางทหารด้านมนุษยธรรมอาจ

(๑) สยบสงคราม ป้ องกันไม่ให้เกิดสงคราม จะเป็ นการสนับสนุน หรือปฏิบต


ั ิร่วมกับองค์กรด้าน

(๒) แก้ปัญหาความขัดแย้ง ของบุคคลที่มีผล มนุษยธรรมต่างๆ

ประโยชน์ ความเชื่อหรือประเพณีที่ต่างกัน
(๓) ส่งเสริมสันติภาพ ให้เกิดขึน
้ ในบริเวณทีเ่ คยมี โดยในอนาคต ผู้บรรยายคาดว่าจะสามารถดำเนินการได้

สงคราม สร้างและรักษาสันติภาพทีเ่ กิดขึน


้ ใหม่ ในเรื่อง

(๔) สนับสนุนองค์กรพลเรือน ช่วยเหลือทาง (๑) การป้ องกันความขัดแย้ง (Conflict

มนุษยธรรม Prevention) เป็ นปฏิบัตก


ิ ารภายใต้บทบัญญัตท
ิ ี่ ๖
(Chapter VI) ของกฎบัตรสหประชาชาติ ครอบคลุม

ขีดจำกัด ตัง้ แต่การริเริ่มทางการทูต (Diplomatic Initiatives)

(๑) ฐานะและพลังอำนาจ ประเทศไทยไม่ได้อยู่ใน จนถึงการเคลื่อนย้ายกำลังทางทหารเพื่อการป้ องปรามมิ

ฐานะผู้กำหนดระเบียบโลก และมีพลังอำนาจด้าน ให้สถานการณ์ลุกลามขยายตัวจนเป็ นการใช้อาวุธเข้าห่ำ

เศรษฐกิจ หั่นกัน
(๒) การทำให้เกิดสันติภาพ (Peace Making) เป็ น
มาตรการที่ใช้การดำเนินการทางการทูต ตัง้ แต่ความขัด

57698340.docx หน้าที่ 11 จาก ฒ หน้า


สรุปเนื้อหาที่สำคัญ สำหรับตอบคำถามเอาใจ อ.เป้ ครัง้ ที่ ๒
แย้งเริ่มต้นขึน
้ โดยมุ่งหวังให้เกิดการหยุดยิง วิวัฒนาการในกิจการทหารอดีตถึงปั จจุบัน (โดยโอฐ)
(Establishing cease-fire) และหันกลับไปสู่การแก้ ด้านอากาศยาน จนถึงปั จจุบันได้มีการพัฒนาจนทำ
ปั ญหาอย่างสันติ (Peaceful Settlement) อากาศยานสามารถปฏิบัตภ
ิ ารกิจได้หลายรูปแบบ มีสมร
(๓) การสร้างสันติภาพ (Peace Building) หมายถึง รนทีส
่ ูง ถูกตรวจจับโดยเรดาร์ได้ยากยิ่งขึน
้ ตลอดจน
การกระทำการช่วยเหลือประเทศใดใด ด้วยการเกื้อหนุน สามารถปฏิบัติภารกิจร่วมกับกองกำลังทางบก ทางทะเล
เครื่องมือ และโครงสร้างทางการเมือง, เศรษฐกิจ, สังคม, และใต้ทะเลได้อย่างเป็ นระบบโดยใช้เครือข่ายเป็ น
และการทหาร เพื่อวัตถุประสงค์ในการสร้างความ ศูนย์กลางในการแลกเปลี่ยนข้อมูล-ข่าวสาร และการ
แข็งแกร่ง และความมั่นคงทางการเมือง ซึ่งจะเป็ นการ บัญชาการควบคุม ตลอดจนได้มก
ี ารพัฒนาให้สามารถ
ชดเชยสาเหตุของความขัดแย้ง ปฏิบัตก
ิ ารได้โดยไม่ต้องมีนักบินอยู่ภายในอากาศยาน
เพื่อลดการสูญเสีย และสามารถปฏิบัติภารกิจที่มีความ
แนวทางพัฒนา กองปฏิบัตก
ิ ิจพิเศษ กรมยุทธการทหาร เสีย
่ งสูงได้มากยิ่งขึน
้ อีกด้วยเช่นกัน
อากาศเป็ นผู้ประสานหากำลังพลทอ. เข้าร่วมภารกิจของ
ศูนย์ปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ บก.ทท.ซึ่งเป็ นหน่วย ด้านอาวุธ ได้มีการพัฒนาขึน
้ อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะ
ประสานระหว่างเหล่าทัพ อีกทัง้ ต้องพัฒนาความสัมพันธ์ อย่างยิ่งในด้านความแม่นยำ เพื่อลดความเสียหายข้าง
ระหว่างองค์กรพลเรือน และต่างเหล่าทัพ ทัง้ โดยทางตรง เคียง แต่เนื่องจากสงครามแบบอสมมาตรในปั จจุบันจึงได้
และทางอ้อมผ่านการประชาสัมพันธ์ของสื่อมวลชน เพื่อ มีการพัฒนาอาวุธที่มีความส่งผลกระทบอย่างรุนแรง-
เพิ่มประสิทธิภาพของการปฏิบต
ั ิการทางทหารที่ไม่ใช่ กว้างขวาง ค่าใช้จ่ายต่ำ ง่ายในการประกอบ-สร้างและใช้
งาน

ตอนที่ ๕ เทคโนโลยีทางการทหาร
ด้านยุทธวิธี เทคโนโลยีเป็ นตัวขับการเปลี่ยนแปลง
ข้อ ๒.๑ ความหมายของวิวัฒนาการในกิจการทหาร
ยุทธวิธี โดยเมื่อเทียบกับสมัยสงครามโลกครัง้ ที่ ๑-๒ ได้ใช้
เครื่องบินในการสอดแนม ทิง้ ระเบิดเพื่อทำลายการส่ง
วิวัฒนาการในกิจการทหาร (โดยพี่สกรรจ์)
กำลังบำรุง และการขับไล่สกัดกัน
้ จากนัน
้ เมื่อเทคโนโลยี
เปลีย
่ นแปลงขนานใหญ่ในเรื่อง Character of War
ทัง้ ในด้านอากาศยาน อาวุธ และ ISR มีความก้าวหน้า
คือ การปฏิวัติกิจการทางทหาร โดยมีผลจากการพัฒนา
มากขึน
้ จึงมีการปรับยุทธวิธีเป็ นการเข้าโจมตีเป้ าหมาย
ทางด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ที่ถูกบูรณาการเพื่อ
ทางยุทธศาสตร์ในแนวลึก แทนที่จะใช้ในการสนับสนุน
นำไปปรับใช้ทางทหาร ประกอบกับการ บูรณาการของ
อย่างใกล้ชิด
การเปลี่ยนแปลงในเรื่อง เทคโนโลยีทางทหาร, แนวคิด
การยุทธ์ใหม่ และองค์ทางทหารใหม่ โดยสรุปแล้ว RMA
ด้าน Sensor การตรวจจับถือว่าเป็ นสิ่งสำคัญในการ
เกิดจาก ๒ ปั จจัยสำคัญ คือ เทคโนโลยี และ หลักนิยม
ปฏิบัตก
ิ ารทางอากาศทัง้ เชิงรุก และเชิงรับ โดยได้มก
ี าร
ซึ่งหลักนิยมนี ้ จะเป็ นตัวสร้าง แนวความคิดในการปฏิบัติ
พัฒนาขึน
้ มาอย่างต่อเนื่องตัง้ แต่สมัยสงครามโลกครัง้ ที่ ๒
และ โครงสร้างการจัดองค์กร
เป็ นต้นมา จนในปั จจุบันสามารถตรวจจับวัตถุที่มีขนาด
เล็ก และครอบคลุมพื้นทีท
่ ี่กว้างขว้างมากยิ่งขึน
้ แต่เนื่อง
ข้อ ๒.๒ วิวัฒนาการในกิจการทหารตัง้ แต่อดีตจนถึง
ด้วยข้อจำกัดของคลื่นที่ใช้ในการตรวจจับที่ได้รับผลจาก
ปั จจุบันในด้านต่างๆ
ลักษณะภูมิศาสตร์ จึงได้มก
ี ารพัฒนาการตรวจจับจาก
อากาศ โดยการติดตัง้ ระบบตรวจจับไว้กับอากาศยาน แต่

57698340.docx หน้าที่ 12 จาก ฒ หน้า


สรุปเนื้อหาที่สำคัญ สำหรับตอบคำถามเอาใจ อ.เป้ ครัง้ ที่ ๒
ข้อจำกัดในด้านระยะเวลาปฏิบัติการ จึงได้พัฒนาใช้ ข้อมูล ข่าวกรอง สารสนเทศ และองค์ความรู้ สามารถ
ดาวเทียมในอวกาศในการตรวจจับ ติดตาม และชีเ้ ป้ า ไหลเวียนไปมายังระบบต่าง ๆ ที่เชื่อมต่อได้
หมายเป็ นลำดับต่อมา (๓) Space Warfare ระบบทางอวกาศเป็ นเทคโนโลยี
ที่จำเป็ นสำหรับสงครามที่มีเครือข่ายเป็ นศูนย์กลางโดย
ด้านอื่นๆ วิทยาการด้านอื่นๆ ที่ได้รับการพัฒนาใน การใช้ห้วงอวกาศ ดาวเทียมเป็ นตัวเชื่อมเพื่อให้หน่วยและ
ทางทหาร เช่น นาโนเทคโนโลยี เพื่อทำให้วัสดุ สิ่งอุปกรณ์ ระบบต่าง ๆ สามารถติดต่อกันได้ รวมถึงการเสริมระบบ
ยุทโธปกรณ์มีขนาดเล็ก คุณสมบัติเฉพาะสูงขึน
้ หรือด้าน อาวุธ และตัวตรวจจับในอวกาศ
การสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพในการรับ-ส่งข้อมูลได้รวดเร็ว แบบจำลอง สนามรบทางอากาศในอนาคตจะเปลี่ยน
จำนวนมาก และมีความปลอดภัยมากยิ่งขึน
้ โดยทัง้ นีไ้ ด้ จากการรบเดิมทีกำ
่ ลังรบด้าน “จำนวน” เป็ นตัวชีว้ ัด
มุ่งเน้นเพื่อสนับสนุนการปฏิบัตภ
ิ ารกิจให้มีความปลอดภัย ความได้เปรียบ จะถูกแทนทีด
่ ้วย “คุณภาพ” ของกอง
รวดเร็ว เพิ่มอัตราความสำเร็จ และลดความเสี่ยงมากยิ่ง กำลังรบ ซึ่งเกิดจากการผสมผสานการใช้เทคโนโลยีทงั ้
ขึน
้ สามด้านเข้าด้วยกันเพื่อสร้างความได้เปรียบต่อฝ่ ายตรง
ข้าม สงครามจะมีลักษณะเป็ นการรบร่วม(Joint
ข้อ ๒.๓ แนวโน้มเทคโนโลยีและแบบจำลองสนามรบทาง Warfare) ) เพื่อเพิ่มขีดความสามารถและลดข้อจำกัดของ
อากาศในอนาคตที่มเี ทคโนโลยีเป็ นตัวขับเคลื่อน แต่ละเหล่า และการใช้เครือข่ายเป็ นศูนย์กลาง(Network
Centric Operation) ที่ให้ทุกเหล่าทัพรับรู้เท่าทัน
แนวโน้ม และแบบจำลองการรบในอนาคต (โดยพี่วร สถานการณ์ มีความเร็วในการสั่งการ จังหวะของการ
วุฒิ ป.) ปฏิบัตก
ิ ารถูกต้อง และมีการปฏิบัติทส
ี่ อดประสานกัน
แบบจำลองสนามรบทางอากาศเกิดจากการขับเคลื่อน เป็ นสิ่งที่ช่วยให้เกิดชัยชนะและสูญเสียน้อยในการเข้าทำ
ทางเทคโนโลยีที่สำคัญ ๓ ส่วนคือ สงคราม
(๑) ระบบอาวุธ ทีมีขีดความสามารถสูงประกอบ จำภาพแล้วเขียนบรรยายก็ได้ครับ
ด้วย 3SF ดังนี ้ Precision Strike อาวุธจะมีความแม่นยำ
สูงมากขึน
้ / Stand-Off การใช้อาวุธสามารถทำได้จาก
ระยะไกลนอกเขตพื้นที่ปฏิบัติการ / Stealth
Technology เทคโนโลยีล่องหนเพื่อลดการถูกตรวจจับ /
Fire & Forget เพิ่มขีดความสามารถที่เมื่อใช้อาวุธแล้ว
ออกจากพื้นที่นน
ั ้ ได้เลยเพื่อลดความเสี่ยงต่อการถูกยิง
สวนจากข้าศึก
(๒) Information Warfare: มี ๒ ส่วนหลักที่สำคัญ
คือ C4ISR (Command, Control, computer,
communication, Intelligence, Surveillance and
Reconnaissance) เพื่อช่วยในการรวบรวมและกระจาย
ข้อ ๒.๔ ความหมาย รูปแบบ และลักษณะการปฏิบัตก
ิ าร
ข้อมูล/ข่าวกรอง ระหว่างผู้บังคับบัญชากับหน่วยปฏิบัติ
ทีใ่ ช้เครือข่ายเป็ นศูนย์กลางของ ทอ. ไทย
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในยามปกติและยามสงครามได้
อย่างถูกต้อง และรวดเร็ว และ Network มุ่งเน้นไปที่
ระบบสารสนเทศทีเ่ ชื่อมต่อกันบนระบบเครือข่าย ช่วยให้

57698340.docx หน้าที่ 13 จาก ฒ หน้า


สรุปเนื้อหาที่สำคัญ สำหรับตอบคำถามเอาใจ อ.เป้ ครัง้ ที่ ๒
การปฏิบัติการที่ใช้เครือข่ายเป็ นศูนย์กลาง (NCO) รบ เพื่อตอบสนองต่อภัยคุกคามทุกรูปแบบ บนพื้นฐาน
(โดยโอฐ) ของการพึ่งพาตนเองให้มากที่สด

ความหมาย คือการปฏิบต
ั ิการยุคใหม่ทใี่ ช้เครือข่ายเป็ น ข้อ ๒.๕ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีต่อไปนีใ้ ห้เกิดมูลค่า
ศูนย์กลางในการปฏิบัตภ
ิ ารกิจเป็ นส่วนสำคัญ ทำให้เกิด เพิ่มกับกำลังทางอากาศ การใช้กำลังทางอากาศ และการ
การเปลี่ยนแปลงทัง้ ในด้านเทคโนโลยี แนวคิด หลักการ ปฏิบัตก
ิ ารที่ใช้เครือข่ายเป็ นศูนย์กลาง
โครงสร้างการจัดหน่วย และกระบวนการทำงาน
เป็ นการปฏิบัติการในยุคข้อมูลข่าวสาร (Information การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีกับการใช้กำลังทางอากาศ
Age) ที่ให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับรู้เท่าทันสถานการณ์ และ NCO (โดยพี่สุนันท์)
(Shared Situation Awareness) มีความเร็วในการสั่ง ยุทธศาสตร์กองทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๕๑-๒๕๖๒ (ฉบับ
การ (Speed of Command) จังหวะของการปฏิบัติการ ปรับปรุง พ.ศ.๒๕๕๒) ได้วางรากฐานแนวคิดของ กำลัง
ถูกต้อง (Tempo of Operation) และมีการปฏิบัติทส
ี่ อด ทางอากาศและการใช้กำลังทางอากาศ โดยใช้เครือข่าย
ประสานกัน (Self Synchronization) เป็ นศูนย์กลาง ในการเชื่องโยงข้อมูลระหว่าง Sensors,
อีกนัยหนึ่ง NCO คือ การทำให้ OODA Loop ได้แก่ Shooters & Operators, และ C2 (Command &
เฝ้ าดู (Observe) กำหนดตำแหน่ง (Orient) สั่งการ Control) โดยแนวคิดของการปฏิบัติการที่ใช้เครือข่าย
(Direct) และปฏิบัติ (Act) ของฝ่ ายเราเร็วกว่าของฝ่ าย เป็ นศูนย์กลาง จากเทคโนโลยีต่างๆ สามารถนำมา
ข้าศึก ประยุกต์เข้าในกลุ่มต่างๆ ๔ กลุ่มดังนี ้ คือ Sensors,
(See First, Understand First and Act First) Shooters, C2, และ Network Centric ได้ดังนี ้
(๑) Sensors สามารถนำ
รูปแบบ เป็ นการปฏิบต
ั ิการทีใ่ ช้ ICT (เทคโนโลยี ๑.๑ UAV มาประยุกต์ใช้ปฏิบัติการทางอากาศ
สารสนเทศ) เชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยกองกำลังต่างๆ ในการข่าวกรอง (Intelligence) การเฝ้ าตรวจ
ได้แก่ หน่วยตรวจรับสัญญาณ (Sensors) ผู้ตด
ั สินใจ (Surveillance) การค้นหาและติดตามเป้ าหมาย (Target
(Decision Makers / Command & Control) และ Acquisition) และการลาดตระเวนทางอากาศ
หน่วยยิง (Shooters) ให้เป็ นเครือข่ายทีเ่ ป็ นศูนย์กลาง (Reconnaissance) หรือที่เรียกย่อๆ ว่า ภารกิจ ISTAR
แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารที่จำเป็ นในการรบ เพื่อให้ร้เู ท่า ๑.๒ ดาวเทียมและอวกาศ มาประยุกต์ใช้ถ่าย
ทันสถานการณ์ (SA: Situation Awareness) สามารถ ภาพจากอวกาศและ Remote Sensing ทำให้ได้ข้อมูลใน
ช่วงชิงความได้เปรียบเหนือข้าศึกได้ ส่วนของการข่าวกรองสำหรับจัดทำแฟ้ มเป้ าหมายทาง
ทัง้ นีย
้ ังคงต้องอาศัยบุคลากร (Human), พฤติกรรม อากาศอีกทางหนึ่ง นอกจากนัน
้ ยังสามารถนำภาพถ่าย
(Behavior), โครงสร้างองค์กร (Organization) และกระ ดวงเทียมความระเอียดสูงมาใช้ทำ Digital Map
ขบวนการทำงาน (Process) เป็ นพื้นฐานและเสริมให้ Generating System (DMGS) ให้แก่ Grippen ได้อก

NCO สำเร็จและมีประสิทธิภาพ ด้วย
๑.๓ เรดาร์ มาประยุกต์ใช้เฝ้ าตรวจอากาศยาน
ลักษณะ NCO ของ ทอ.ไทย ใช้เทคโนโลยีเครือข่ายและ แล้วแลกเปลี่ยนข้อมูลนีก
้ ับ Shooters & Operators
ระบบเชื่อมโยงข้อมูลทางยุทธวิธี (Tactical Data Link, ทำให้ Shooters & Operators เกิดการตื่นตัวใน
TDL) ในการปฏิบัติการรบ และการปฏิบัติการที่ไม่ใช่การ สถานการณ์ (Situation Awareness) เพราะเห็นภาพ
การตรวจจับอากาศยานในห้วงอากาศได้ไกลกว่าเดิมมาก

57698340.docx หน้าที่ 14 จาก ฒ หน้า


สรุปเนื้อหาที่สำคัญ สำหรับตอบคำถามเอาใจ อ.เป้ ครัง้ ที่ ๒
(๒) Shooters & Operators สามารถนำ เวลาจริง (Real Time) การทำให้ OODA Loop ของฝ่ าย
๒.๑ อากาศยาน ประยุกต์ใช้ เครื่องบินขับไล่ เราหมุนเร็วกว่ามาก จนเกิดการใช้กำลังทางอากาศที่
สมรรถนะสูง รุ่นที่ ๕ (Generation 5) เป็ นการเพิ่มศักย์ เหมือนกว่า เนื่องจาก See First, Understand First
สงคราม ให้แก่กำลังทางอากาศ and Act First และที่สำคัญอย่างยิ่งนอกเหนือไปกว่านัน

๒.๒ อาวุธอากาศยาน/ต่อสู้อากาศยาน/ขีปนาวุธ คือ Situation Awareness First, Situation
ทีท
่ ันสมัยมีความแหม่นยำสูงเช่น GBU-32 Joint Direct Understanding First and Wisdom First
Attack Munitions (JDAM) มาประยุกต์ใช้ ทำสามารถ
ลดจำนวนเครื่องบินและเที่ยวบินในการไปทิง้ ระเบิดเพื่อ
ทำลายเป้ าหมายได้ จนเกิดแนวคิด One Bomb One
Target
๒.๓ UCAV มาประยุกต์ใช้เพื่อเน้นการโจมตีเป้ า
หมาย เช่น ภารกิจ Suppression of Enemy Air
Defense (SEAD), Electronic Attack, Strike, และ
Surveillance
๒.๔ นิวเคลียร์ ชีวะ เคมี มาประยุกต์ใช้ผลิต
อาวุธทำลายล้างสูง เพื่อคานอำนาจกับประเทศ
มหาอำนาจ
๒.๕ นาโนเทคโนโลยี มาประยุกต์ใช้ผลิตวัสดุที่
ลดการสะท้อนคลื่นวิทยุความถี่สูง (ลดการตรวจจับ
สัญญาณสะท้อนเรดาร์) ในการสร้างเครื่องบินขับไล่
สมรรถนะสูงแบบ Stealth
(๓) C2 (Command & Control) สามารถนำ
ระบบสื่อสารและสารสนเทศ มาประยุกต์ใช้ประมวลผล
ข้อมูล (Data) เปลีย
่ นเป็ น ข่าวกรอง (Information) เกิด
การตื่นตัวในสถานการณ์ (Situation Awareness)
ประมวลผลข่าวกรอง (Information) เปลี่ยนเป็ น ความ
เข้าใจ (Knowledge) เกิดความเข้าใจในสถานการณ์
(Situation Understanding) และ ประมวลผลความ
เข้าใจ (Knowledge) ให้ได้เป็ น ปั ญญา (Wisdom) เกิด
การตัดสินตกลงใจที่รอบรู้สถานการณ์โดยรอบบนพื้นฐาน
ของปั ญญา
(๔) Network Centric สามารถนำ ระบบสื่อสาร
และสารสนเทศ มาประยุกต์ใช้ในการโยงเชื่อมข้อมูล
ข่าวสารทัง้ ระบบ ตัง้ แต่ Sensors, Shooters &
Operators, และ C2 และเกิดการแลกเปลีย
่ นตัง้ แต่
Data, Information, Knowledge, และ Wisdom ใน

57698340.docx หน้าที่ 15 จาก ฒ หน้า

You might also like