You are on page 1of 4

Doxofylline

ชื่อการค้ า1
Puroxan®
ผู้ผลิต 1 M & H Manufacturing Co., Ltd.
รูปแบบยา 1 Syrup 100 mg/5mg
Tablet 400 mg/tablet
ชื่อเคมี
1
7-(1,3-dioxzlan-2-ylmethyl) theophyline
สูตรโมเลกุล 2 C11H14N4O4 
สูตรโครงสร้ าง 2

สมบัติทางเคมี-ฟิ สิกส์2
CAS: 69975-86-6 
Molecular weight: 266.26 
Melting point: 142.5-144.5 
White crystalline powder 
การเก็บรักษา 1 เก็บในที่แห้ งและเย็น(25˚C)
เภสัชวิทยา 1 Doxofylline เป็ นยาในกลุม ่ xanthine ซึง่ แตกต่างจาก theophyline ที่ตำแหน่ง 7 ของ
Doxofylline มีหมู่ dioxalane ด้ านกลไกการออกฤทธิ์เหมือน theophyline โดยยับยังเอนไซม์้
phosphodiesterase แต่จะมีผลกับ adenosine A1 และ A2 น้ อยกว่า theophyline ทำให้ ยามี
ความปลอดภัยมากกว่า
กลไกการออกฤทธิ์3คาดว่า Theophylline สามารถขยายหลอดลมและลดการอักเสบได้ จากหลายกลไกแต่ยงั ไม่มีการ
พิสจู น์จนเป็ นที่แน่ชดั โดย Theophylline สามารถยับยัง้ phosphodiesterase (PDE) enzyme
โดยเมื่อยับยัง้ PDE แล้ วจะมีผลเพิม่ cAMP และ cGMP ในบางเนื ้อเยื่อ ซึง่ ผลที่ตามมาคือ การกระตุ้
นการทำงานของหัวใจ กล้ ามเนื ้อ
เรี ยบคลายตัว และลดการหลัง่ สาร
สื่ออักเสบ โดยคาดว่า PDE4 จะมี
ผลต่อทางเดินหายใจมากที่สดุ ซึง่
พบว่ายาที่ออกฤทธิ์เฉพาะเจาะจง
กับ PDE4 จะมีประสิทธิภาพ
มากกว่าในผู้ป่วยที่เป็ น COPD

เภสัชจลนศาสตร์ 4
Absorption ค่า bioavailability เมื่อให้
โดยการรับประทานประมาณ 62.6% ที่ pH 7.4
Distribution มีปริ มาตรการกระจายประมาณ 1 L/kg, ค่าโปรตีน binding 48%
Metabolism 90% ถูกเปลี่ยนแปลงที่ตบ
ั ได้ metabolite เป็ น Hydroxyethyltheophylline มีคา่ ครึ่ง
ชีวิตประมาณ 6-8 ชัว่ โมงจึงควรจะให้ วนั ละ 3 ครัง้
Excretion ถูกกำจัดผ่านไตในรูปที่ไม่เปลี่ยนแปลงน้ อยกว่า 4% ของขนาดยาที่รับประทาน
** จากการทดลองพบว่ายาจะถึง steady state ภายใน 4 วันหลังให้ ยาทุก 8- 10 ชัว่ โมง
ข้ อบ่งใช้ 4 สำหรับรักษาโรคระบบทางเดินหายใจเรื อ้ รัง bronchial asthma และ chronic obstructive
pulmonary disease (COPD) ในผู้ใหญ่
ขนาดและการบริ หารยา 3, 4
Syrup ปริ มาณยา 1 ml ประกอบด้ วย doxyfylline 20 mg
ขนาดยาในเด็ก: 12 mg/kg/day แบ่งให้ วนั ละ 2 ครัง้ อาจเพิ่มขนาดได้ ถึง 18 mg/kg/day
ขนาดยาในผู้ใหญ่: รับประทานครัง้ ละ 20 ml (400mg) วันละ 2 ครัง้
ขนาดยาในผู้สงู อายุ: รับประทานครัง้ ละ 10 ml (200mg) วันละ 2 ครัง้
Tablet ในหนึง่ เม็ดประกอบด้ วย doxyfylline 400 mg
ผู้ใหญ่รับประทานครัง้ ละ 1 เม็ด วันละ 2 ครัง้ เพิ่มขนาดยาสูงสุดได้ เป็ น 1 เม็ดวันละ 3 ครัง้
ควรปรับลดขนาดยาเป็ น ½ เม็ดวันละ 2 ครัง้ ในผู้ป่วยสูงอายุ, ผู้ที่มีโรคหัวใจและหลอด
เลือด, โรคตับ, โรคไต, และโรคระบบทางเดินอาหาร

ข้ อห้ ามใช้ 3, 4ผู้ที่ทราบว่าแพ้ ยา หรื อองค์ประกอบอื่นในยา รวมถึงผู้ที่เป็ น myocardial infarction,


hypotension, และในหญิงให้ นมบุตร
อาการไม่พงึ ประสงค์4
คลื่นไส้ , อาเจียน, ปวดท้ อง, ปวดหัว, กระสับกระสาย, นอนไม่หลับ, ใจสัน่ (หัวใจเต้ นเร็ว), รบกวน
จังหวะการเต้ นของหัวใจ, หายใจเร็ว และพบ ภาวะระดับน้ำตาลในเลือดสูง พบ albumin ในปั สสาวะ
ได้ บ้าง
ผลจากการได้ รับยาเกินขนาด 4
แม้ วา่ Doxofylline จะไม่มีรายงานว่าทำให้ เกิดหัวใจเต้ นผิดจังหวะที่ชดั เจน (major arrhythmia)
แต่ก็ควรระวังการรบกวนการเต้ นของหัวใจเมื่อได้ รับยาเกินขนาด ผู้ป่วยอาจมีอาการชักซึง่ การชักน่าจะ
เป็ นอาการแรกที่น่าจะเกิดขึ ้นเมื่อได้ รับยาเกินขนาด การรักษาเมื่อได้ รับยาเกินขนาดทำได้ เพียงรักษา
ตามอาการเนื่องจากยังไม่มี antidote ที่จำเพาะกับ Doxofylline

อันตรกิริยาของยา 4ไม่ควรบริ หารร่วมกับอนุพนั ธ์ของ xanthine อื่นๆ (เช่น theophylline, aminophylline


theobromine เป็ นต้ น), ephedrine เนื่องจากจะเสริ มฤทธิ์ในการเกิดพิษของ Doxofylline การให้
ยาร่วมกับ erythromycin, troleanodomycin, lincomycin, clindamycin, allopurinol,
cimetidine, ranitidine, propranolol และวัคซีนป้องกันไข้ หวัดใหญ่อาจจะลดการกำจัด
Doxofylline ที่ตบั ได้
การใช้ ยาในผู้ป่วยกลุม่ พิเศษ 4

ผู้ป่วยโรคไต: ควรมีการตรวจติดตามระดับยา doxofylline ในเลือด(บางรายงานบอกว่าไม่จำเป็ น


เนื่องจากการเกิดพิษไม่สมั พันธ์กบั ระดับยาในเลือด )
ผู้ป่วยโรคตับ: ค่าครึ่งชีวิตของยา Doxofylline ในผู้ป่วยโรคตับจะเพิ่มขึ ้นควรมีการลดขนาดการใช้ ยา
ในผู้ป่วยโรคตับ
หญิงตังครรภ์
้ : การศึกษาในสัตว์ทดลองไม่พบว่า Doxofylline ทำให้ ตวั อ่อนในครรภ์ผิดปกติ แต่การ
ศึกษาในมนุษย์ยงั มีจำกัด จึงควรใช้ Doxofylline เฉพาะเมื่อเห็นว่ายามีประโยชน์กบั ผู้ป่วยอย่าง
ชัดเจนเท่านัน้
หญิงให้ นมบุตร: ห้ ามใช้ ในหญิงที่กำลังให้ นมบุตร
เด็ก: ขนาดยาที่แนะนำในเด็กคือ 12 mg/kg/day อาจเพิ่มได้ มากถึง 18 mg/kg/day
ผู้สงู อายุ: ที่มีโรคร่วมเกี่ยวกับ หัวใจและเลือด โรคตับ โรคทางเดินอาหาร ควรลดขนาดยาที่ใช้ ลงครึ่ง
หนึง่ จากขนาดปกติ (800 mg/day)
การศึกษาทางคลินิก 5
Bagnato และคณะได้ ทำการศึกษาเปรี ยบเทียบระหว่างการใช้ doxofylline ในขนาด 12 mg/kg (6mg/kg
ทุก 12h) กับ placebo เป็ นระยะเวลา 2 สัปดาห์ในเด็กอายุระหว่าง 6-12 ปี กลุม่ ที่ใช้ doxofylline มีคา่ ทาง
spirometric parameters ที่ดีขึ ้นเมื่อติดตามในวันที่ 7 และ 14 ของการศึกษาซึง่ แตกต่างอย่างมีนยั สำคัญเมื่อเทียบกับ
placebo
นอกจากนี ้ Bagnato และคณะเดิมยังได้ ทำการศึกษาแบบ open label retrospective clinical study โดย
เก็บข้ อมูลจากแพทย์ 102 คน ที่มีประสบการณ์ใช้ ยา Doxofylline ในเด็ก โดยใช้ ยาในรูปแบบ sachets ขนาด 200 mg
ให้ ขนาด 6 mg/kg ทุก 12 ชัว่ โมง และเพิ่มได้ สงู สุด 9 mg/kg ทุก 12 ชัว่ โมงในผู้ที่อาการยังไม่ดีขึ ้นจนเป็ นที่น่าพอใจ ใน
การศึกษานี ้ยา Doxofylline ถูกใช้ ร่วมกับยาอื่นๆ จำนวนมาก เช่น β2-agonists, mucolytics, glucocorticosteroids,
antibiotics, non-steroid anti-inflammatory เป็ นต้ น ซึง่ มีผ้ เู ข้ าร่ วมการศึกษามากกว่าครึ่งหนึง่ ที่ได้ รับยาร่ วมจากผู้
เข้ าร่วมการศึกษาทังหมด
้ 807 คน จากผู้เข้ าร่วมการศึกษาทังหมดมี
้ ผ้ ทู ี่พบอาการไม่พงึ ประสงค์ทงหมด
ั้ 11% ซึง่ พิจารณา
แล้ วว่าเกี่ยวข้ องกับยา 6% มีผ้ อู อกจากการศึกษาเนื่องจากผลข้ างเคียง 5% อาการข้ างเคียงที่พบบ่อยที่สดุ ได้ แก่ the
gastro- intestinal system(76%), central nervous system(16%), cardiovas- cular system(9%)

การศึกษาอื่นๆ ได้ สรุปไว้ ดงั ตารางข้ างล่างนี ้ไปนี 5้


Authors Design, size Outcome
Goldstein MF et al. Randomized controlled trial (n = 346; There was a significant increase inFEV1 after
mean age 35.5 ±17.0 yrs); doxofylline the administration of doxofylline 200 mg or
400 mg thrice daily vs 400 mg t.i.d or theophylline for 12 weeks
doxofylline 200 mg thrice daily vs when compared to placebo. Significantly more
theophylline vs placebo patient shad to interrupt treatment because of
adverse events under theophylline than under
doxofylline ateitherdose (p = 0.01).
Melillo G et al. Randomized controlled trial (n = 139; Both drugs significantly increased spirometric
age17-77 yrs); doxofylline vs parameters and reduced rescue salbutamol
theophylline use. Doxofylline was better tolerated than
theophylline when considering the adverse
events definitely related to the drug (6with
doxofylline and 17 with theophylline) and the
number of drop-outs due to adverse events (5
with doxofylline and 10 with theophylline).
Bagnato et al. Randomized controlled trial (n = 11; Significant improvement of spirometric
age6-12 yrs); doxofylline vs placebo parameters in the doxofylline group. None of
the patients treated complained of any side
effects.
Bagnato et al. Retrospective study(n = 806; age3-16 Proportion of patients reporting adverse
yrs); doxofylline only events were 6%. The percent of patient drop-
outs related to side effects was only 5%.
Cogo R et al. Effects of doxofylline (400mgbid) on Doxofylline administered for 3 months
inflammation in airway mucosa of significantly reduced histological changes in
patients with COPD (n = 14) airway mucosa.
Orefice U et al. Randomized trial(n = 150; age45-68 FEV1 improved significantly fordoxofylline(p <
yrs); 0.05) whilst neither bamiphylline and placebo
doxofylline vs bamiphylline vs placebo showed any significant improvement at any
time. Doxofylline use also produced a
decrease in β2-agonist use (p < 0.05).
Dolcetti A et al. Randomized controlledtrial(n = 10; Doxofylline increased FEV1 by 20% after 2 h (p
age26-79 yrs); Doxofylline vs placebo < 0.01) and 31% after 4 h (p < 0.01) when
compared with baseline. No signs of local
systemic side effects were observed with its
use.
Bossi R et al. Randomized trial(n = 125; Spirometric variables changed significantly for
meanage56.5yrs); doxofylline vs both drugs (p < 0.01). 8 adverse events
aminophylline occurred with doxofylline, and12 with
aminophylline.

สรุป
ยา doxofylline เป็ นยาในกลุม่ methylxanthine ซึง่ เป็ นอนุพนั ธ์ของ theophylline ลดการออกฤทธิ์ที่
adenosine A1 และ A2 receptor, เน้ นการออกฤทธิ์ที่ PDE ยา doxofylline ใช้ ในการรักษา asthma และ COPD ซึง่
มีประสิทธิภาพในการขยายหลอดลมไม่แตกต่างจากยา theophylline, และ aminophylline แต่พบอาการข้ างเคียง
น้ อยกว่า ยาถูกกำจัดผ่านตับเป็ นส่วนใหญ่จงึ ควรปรับขนาดยาลงครึ่งหนึง่ ในผู้ป่วยโรคตับ ยามีคา่ ครึ่งชีวิตประมาณ 8
ชัว่ โมง สามารถให้ วนั ละ 2 ครัง้ ได้ โดยปกติใช้ ในขนาด 800 mg ต่อวัน ในเด็กให้ ในขนาด 12 mg/kg/day เพิ่มขนาดยา
สูงสุดได้ เป็ น 18 mg/kg/day ห้ ามใช้ ยานี ้หญิงให้ นมบุตร myocardial infarction, hypotension และผู้ที่แพ้ ยาโดย
เด็ดขาด ควรใช้ ด้วยความระมัดระวังหรื อหลีกเลี่ยงการให้ หรื อควรปรับขนาดการใช้ ยานี ้ใน หญิงตังครรภ์้ ผู้ป่วยโรคหัวใจ
ผู้ป่วยโรคตับ ผู้ป่วยโรคไต ผู้ป่วยสูงอายุ อาการไม่พงึ่ ประสงค์ที่ สำคัญและพบมาก ได้ แก่ คลื่นไส้ , อาเจียน, ปวดท้ อง,
ปวดหัว, กระสับกระสาย, นอนไม่หลับ(พบได้ น้อยกว่า theophylline), ใจสัน่ (หัวใจเต้ นเร็ว), รบกวนจังหวะการเต้ นของ
หัวใจ, หายใจเร็ว การติดตามระดับยาในเลือดนันไม่ ้ จำเป็ นเนื่องจากยามี therapeutic range ที่กว้ าง

เอกสารอ้ างอิง
1. Puroxan® bronchodilator [pamphlet]. Samutprakarn, LE GRAND PHARMA
2. Hubei YuanCheng Pharmaceutical Co., Ltd [Internet] unknown [Updated: 2011 Mar 23; cited
2011 Jul 20]. Available from: http://yuanchengfu.en.ec21.com/print_offer_detail.jsp?
offer_id=OF0010093510
3. Katzung, BG. Basic and Clinical Pharmacology, 10th ed. The McGraw-Hill Companies Inc. Toronto,
Canada. 2006. Chaptor 20, Drug used in ashma; p.464-88
4. Doxofylline ZORDOX®[Internet] unkown [Updated: May 2009; cited 2011 Jul 20] . Available
from: http://www.cipladoc.com/therapeutic/pdf_cipla/zordox.pdf
5. Page CP. Doxofylline:A “Novofylline”. Pulmonary Pharmacology & Therapeutics 2010:(23);231-
234

You might also like