You are on page 1of 42

ประวัติ

ท่านพระอาจารย์ มัน

ภูรท
ิ ัตตเถระ

โดย ท่านอาจารย์พระมหาบัว
ญาณสัมปั นโน
แห่งวัดป่ าบ้านตาด จังหวัดอุดรธานี

ฉบับสมบูรณ์ เผยแพร่ทางอินเตอร์เน็ต
www.luangta.com

ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 1
2

ส า ร บ า
หน้า
1. ประวัติ

2. เกิดสุบินนิ มิต

3. เกิดสมาธินิมิต

4. เวลาท่านพักอยู่ในถ้้านี้ มีรูอะไรแปลก ๆ หลาย
อย่าง ๑๘
5. พระสาวกอรหันต์มาแสดงธรรมใหูฟัง
๒๘
6. ขูอวัตรประจ้าองค์ท่านโดยเฉพาะในมัชฌิมวัย
๖๘
7. พระพุทธเจูาและพระสาวกอรหันต์เสด็จมา
อนุโมทนา ๑๐๔
8. เทวดาประเทศเยอรมันมาขอฟั งเทศน์ท่าน
๑๓๑
9. ทูาวสักกเทวราชบนสวรรค์มาเยี่ยมท่านเสมอ
๑๔๐
10. ลูกศิษย์กับอาจารย์โตูนรก-สวรรค์กน

๑๕๐
11. ท่านพิจารณาเห็นถ้้าดูวยตาทิพย์
๑๕๕
ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 2
3

12. พระอรหันต์มานิ พพานที่ถ้ าเชียงดาว ๓ องค์


๑๖๓
13. พระมหาเถระถามปั ญหาท่านพระอาจารย์ม่ัน
๑๗๗
14. ท่านพระอาจารย์ม่ันเริ่มป่ วย และเริ่มลาวัฏวนเป็ น
ครั้งสุดทูาย ๒๒๒
15. ท่านเทศน์อัศจรรย์ครั้งสุดทูาย
๒๒๔
16. อัฐิท่านพระอาจารย์ม่ันกลายเป็ นพระธาตุ
๒๔๒
17. ปั ญหา ม.ร.ว.คึกฤทธิ ์
๒๗๒
จากหนังสือพิมพ์สยามรัฐ ฉบับลงวันที่
23 มี.ค.2515
18. อันเนื่ องมาแต่ประวัติท่านพระอาจารย์ม่ัน ภูริทต
ั ต
เถระ ๒๗๖
โดยม.ล.จิตติ นพวงศ์ คัดจาก
หนังสือพิมพ์ศรีสัปดาห์ ฉบับที่ 1075
วันศุกร์ท่ี 31 มีนาคม 2515
19. ตอบปั ญหาของท่านผููถามเกี่ยวกับพระอาจารย์ม่ัน
ภูริทัตตเถระ ๒๗๘
โดย พระมหาบัว ญาณสัมปั นโน วัดป่ าบูานตาด
จังหวัดอุดรธานี
❈❈❈❈❈❈❈❈❈❈❈

คำานำา โดย พระ


ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 3
4

ห นั ง สื อป ร ะ วั ติ ท่ า น พ ร ะ อา จ าร ย์ มั่ น ภู ริ ทั ต ต เ ถ ร ะ
ปรากฏว่ามีท่านผููสนใจมากเป็ นที่น่าภูมิใจ สมกับประเทศไทย
เป็ นเมืองพระพุทธศาสนาที่ชาวไทยนับถือเป็ นชีวิตจิตใจตลอด
มา ทั้งที่ทราบจากคราวที่ “ศรีสัปดาห์” พิมพ์เป็ นอนุสรณ์ใน
พระราชพิธีรัชดาภิเษก เพื่อแจกเป็ นธรรมทาน จ้า นวนหลาย
พั น เล่ ม ซึ่ ง ถู า คิ ด เป็ นมู ล ค่ า ก็ ค งไม่ ต่ ้ ากว่ า ๒ แสนบาท เมื่ อ
แถลงใหูทราบทาง “ศรีสัปดาห์” เพื่อแจกทาน ก็มีท่านที่สนใจ
มารั บ เป็ นจ้า นวนมาก จนหนั ง สื อ ไม่ พ อแจกและหมดไปใน
เวลาอันรวดเร็ว ทราบว่าทาง “ศรีสัปดาห์” ตูองพิมพ์เพิ่มอีก
จ้า นวน ๒ พั น เล่ ม เพื่ อเป็ นน้้ าใจแด่ ท่ า นที่ เ ป็ นสมาชิ ก แห่ ง
“ศรีสั ปดาห์ ” แมูเช่นนั้นก็ยังไม่พอกับความตูองการ จ้าเป็ น
ตูองขอความเห็นใจที่ “ศรีสัปดาห์ ” ไม่สามารถปฏิบัติกับทุก
ท่านไดูโดยทั่วถึง ดังนี้ จึงท้าใหูรูสึกว่าหนังสือประวัติท่านเล่ม
นี้ เป็ นที่น่าสนใจแก่ชาวพุทธเราอยู่มาก
ดูวยเหตุน้ี ในวาระต่อมาจึงไดูคิดรวมศรัทธากันจัดพิมพ์
ขึ้ น ใหม่ อี ก โดยขอใหู ผู เ ขี ย นประวั ติ ท่ า นเป็ นผูู น้า ในการจั ด
พิ ม พ์ หนั ง สื อ ประวั ติ ท่ า นพระอาจารย์ อ งค์ ส้า คั ญ นี้ จึ ง ไดู
ส้า เร็ จ เป็ นเล่ ม ขึ้ น มาดู ว ยก้า ลั ง ศรั ท ธาของท่ า นที่ ใ จบุ ญ ทั้ ง
หลาย แต่ ไ ม่ ส ามารถออกนามใหู ท่ั ว ถึ ง ไวู ณ ที่ น่ี ไดู เพราะ
มากท่ า นดู ว ยกั น ที่ ร่ ว มบริ จ าค จึ ง ขออภั ย ทุ ก ท่ า นดู ว ยความ
เสียใจอย่างยิ่ง กรุณายึดมั่นตามหลักธรรมว่า “บุญย่อมเกิดที่
น้้าใจของท่านผููเป็ นตูนเหตุแห่งศรัทธาบริจาค ไม่เกิดในที่อ่ ืน
ใด และใจจะเป็ นผููรับผลแห่งบุญทั้งหลายที่ตนบ้าเพ็ญไวูแลูว”
ท่านจะเป็ นสุขใจตลอดกาล ไม่มีอะไรมากวนใจ
หนังสือเล่มนี้ ผูเขียนมีความมุ่งหมาย ประสงค์ใหูทุกท่าน
ที่ มี ศ รั ท ธาเป็ นเจู า ของดู ว ยกั น พิ ม พ์ เ ป็ นธรรมทานไดู ทุ ก
โ อกาส ไม่ ตู อ งขออนุ ญ าต แ ต่ อย่ าง ใ ด ส่ ว น จ ะพิ ม พ์ เ พื่ อ
จ้าหน่ ายจึงขอสงวนลิขสิทธิ ์ ดังที่เคยปฏิบัติมาทุกเล่มที่ผูเขียน
เป็ นตูนฉบับ เพื่อเทิดทูนพระศาสนาและครูอาจารย์ตามก้าลัง
ดูวยความบริสุทธิใ์ จ
ขออ้า นาจคุณพระศรีรัตนตรัยและคุณท่านพระอาจารย์
มั่ น ผูู เ ป็ นเจู า ของประวั ติ จงก้า จั ด ภั ย พิ บั ติ ส ารพั ด อั น ตราย
อย่าไดูมีแก่ท่านทั้งหลาย ขอใหูมีแต่คุณธรรมที่พึงปรารถนา
และความสุขกายสบายใจ เพราะอ้า นาจแห่งบุญเป็ นที่พึ่งพิง
อิงแอบแนบเนื้ อท่านไปตลอดสาย อย่าไดูมีวันเสื่อมคลายหาย
สู ญ จงสมบู ร ณ์ พู น ผลไปดู ว ยสมบั ติ อั น อุ ด มมงคลนานา

ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 4
5

ประการ ตลอดวันย่างเขูาสู่พระนิ พพานอันเป็ นบรมสุขทุกทั่ว


หนูากันเทอญ
บัว

ประวัติ ท่านพระอาจารย์มัน
่ ภู
ชีวประวัติและปฏิปทาคือจริยธรรมของท่านพระอาจารย์
มั่ น ภู ริ ทั ต ตเถระ ที่ ท่ า นก้า ลั ง อ่ า นอยู่ ข ณะนี้ ผูู เ ขี ย น (ท่ า น
อาจารย์ พ ระมหาบั ว ญาณสั ม ปั นโน) ไดู พ ยายามเสาะ
แสวงหามารวบรวมตามก้าลังความสามารถจากพระอาจารย์
หลายท่านที่เคยเป็ นศิษย์อยู่ศึกษาอบรมกับท่านมาเป็ นยุค ๆ
จนถึงวาระสุดทูาย แต่คงไม่ถูกตูองแม่นย้าตามประสงค์เท่าไร
นัก เพราะท่านที่จดจ้า มาและผููรวบรวมคงไม่อาจรููและจ้า ไดู
ทุกประโยค และทุกกาลสถานที่ท่ีท่านเที่ยวจาริกบ้าเพ็ญและ
แสดงใหู ฟั งในที่ ต่ า ง ๆ กั น ถู า จะรอใหู จ้า ไดู ห มดทุ ก แง่ ทุ ก
กระทงถึ งจะน้า มาลงก็นั บวั น จะลบเลื อ นและหลงลื ม ไปหมด
คงไม่ มี ห วั ง ไดู น้า มาลงใหู ท่ า นผูู ส นใจไดู อ่ า น พอเป็ นคติ แ ก่
อนุชนรุ่นหลังอย่างแน่ นอน
ดังนั้ น แมูจะเป็ นประวัติท่ีไม่สมบูรณ์ท้า นองลู มลุกคลุก
คลาน ก็ยัง หวั งว่ าจะเกิด ประโยชน์อ ยู่ บูา ง การเขี ยนประวั ติ
และจริ ย ธรรมของท่ า น ทั้ ง ภายนอกที่ แ สดงออกทางกาย
วาจา และภายในที่ท่านรููเห็นเฉพาะใจแลูวแสดงใหูฟังนั้น จะ
เขียนเป็ นท้า นองเกจิอาจารย์ท่ีเขียนประวัติของพระสาวกทั้ง
หลาย ดังที่ ไดู เห็ นในต้า รา ซึ่ งแสดงไวูต่ าง ๆ กัน เพื่ ออนุชน
รุ่ น หลั ง จะไดู เ ห็ น ร่ อ งรอยที่ ธ รรมแสดงผลแก่ ท่ า นผูู ส นใจ
ปฏิ บั ติ ต ามมาเป็ นยุ ค ๆ จนถึ ง สมั ย ปั จจุ บั น หากไม่ ส มควร
ประการใด แมู จ ะเป็ นความจริ ง ดั ง ที่ ไ ดู ยิ น ไดู ฟั งมาจากท่ า น
แต่ ก็ ห วั ง ว่ า คงไดู รั บ อภั ย จากท่ า นผูู อ่ า นทั้ ง หลาย เนื่ องจาก
เจตนาที่มีต่อท่านผููสนใจในธรรม อาจไดูคติขูอคิดบูาง จึงไดู
ตัดสินใจเขียนทั้งที่ไม่สะดวกใจนัก
ท่ า นพระอาจารย์ ม่ั น ภู ริ ทั ต ตเถระ เป็ นอาจารย์ ท าง
วิ ปัสสนา ซึ่งควรไดู รับยกย่ องสรรเสริญ อย่ างยิ่ ง จากบรรดา
ศิษย์ผูอยู่ใกลูชิดท่าน ว่าเป็ นอาจารย์วิปัสสนาชั้นเยี่ยมในสมัย

ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 5
6

ปั จจุบัน จากเนื้ อธรรมที่ท่านแสดงออกซึ่งเป็ นธรรมชั้นสูง ผููท่ี


อยู่ใกลูชิดไดูมีโอกาสฟั งอย่างถึงใจตลอดมา ท้า ใหูปราศจาก
ความสงสั ย ในองค์ ท่ า นว่ า สมควรตั้ ง อยู่ ใ นภู มิ ธ รรมขั้ น ใด
ท่ า นมี ค นเคารพนั บถื อมาก ทั้ ง บรรพชิ ต และคฤหั ส ถ์ ใ นภาค
ต่าง ๆ เกือบทั่วประเทศไทย นอกจากนั้น ท่านยังมีสานุศิษย์
ทั้ ง นั ก บวชและฆราวาสในประเทศลาวอี ก มากมายที่ เ คารพ
เลื่อมใสในท่านอย่างถึงใจตลอดมา ท่านมีประวัติงดงามมาก
ทั้ ง เวลาเป็ นคฤหั ส ถ์ แ ละเวลาทรงเพศเป็ นนั ก บวช ตลอด
อวสานสุดทูาย ไม่มีความด่างพรูอยเลย ซึ่งเป็ นประวัติท่ีหาไดู
ยากในสมัยปั จจุบัน ความเป็ นผููมีประวัติอันงดงามตลอดสาย
นี้ รูสู ึกจะหายากยิ่งกว่าหาเพชรหาพลอยเป็ นไหน ๆ
ท่ า นก้า เนิ ด ในสกุ ล แก่ น แกู ว โดยนายค้า ดู ว งเป็ นบิ ด า
นางจั น ทร์ เ ป็ นมารดา นั บ ถื อ พระพุ ท ธศาสนาประจ้า สกุ ล
ตลอดมา เกิดวันพฤหัสบดี เดือนยี่ ปี มะแม วันที่ ๒๐ มกราคม
พ.ศ. ๒๔๑๓ ที่บูานค้าบง ต้าบลโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี
มีพ่ีนูองร่ว มทู องกัน ๙ คน แต่เ วลาท่ านมรณภาพปรากฏว่ า
ยังเหลือเพียง ๒ คน ท่านเป็ นคนหัวปี มีร่างเล็ก ผิวขาวแดง มี
ความเขูมแข็งว่องไวประจ้า นิ สัย มีสติปัญญาเฉลียวฉลาดมา
แต่เล็ก พออายุไดู ๑๕ ปี ไดูบรรพชาเป็ นสามเณรอยู่ในส้านัก
วั ด บู า นค้า บง มี ค วามสนใจและรั ก ชอบในการศึ ก ษาธรรมะ
เรี ย นสู ต รต่ า ง ๆ ในส้า นั ก อาจารย์ ไ ดู อ ย่ า งรวดเร็ ว มี ค วาม
ประพฤติและอัธยาศัยเรียบรูอย ไม่เป็ นที่หนักใจหมู่คณะและ
ครูอาจารย์ท่ีใหูความอนุเคราะห์
เมื่อบวชไดู ๒ ปี ท่านจ้าตูองสึกออกไปตามค้าขอรูองของ
บิ ด าที่ มี ค วามจ้า เป็ นต่ อ ท่ า น แมู สึ ก ออกไปแลู ว ท่ า นก็ ยั ง มี
ความมั่ น ใจที่ จ ะบวชอี ก เพราะมี ค วามรั ก ในเพศนั ก บวชมา
ประจ้า นิ สั ย เวลาสึ ก ออกไปเป็ นฆราวาสแลู ว ใจท่ า นยั ง
ประหวัดถึงเพศนักบวชมิไดูหลงลืมและจืดจาง ทั้งยังปั กใจว่า
จะกลั บ มาบวชอี ก ในไม่ ชู า ทั้ งนี้ อาจจะเป็ นเพราะอ้า นาจ
ศรัทธาที่มีก้าลังแรงกลูาประจ้านิ สัยมาดั้งเดิมก็เป็ นไดู
พออายุไดู ๒๒ ปี ท่านมีศรัทธาอยากบวชเป็ นก้าลังจึงไดู
ลาบิ ด ามารดา ท่ า นทั้ ง สองก็ อ นุ ญ าตตามใจไม่ ขั ด ศรั ท ธา
เพราะมีความประสงค์จะใหูลูกของตนบวชอยู่แลูว พรูอมทั้งมี
ศรัทธาจัดแจงบริขารในการบวชใหูลูกอย่างสมบูรณ์ ท่านไดู
เขูาอุปสมบทเป็ นพระภิกษุท่ีวัดศรีทองในตัวเมืองอุบล มีท่าน
พระอริยกวีเป็ นพระอุปัชฌาย์ ท่านพระครูสีทาเป็ นพระกรรม
ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 6
7

วาจาจารย์ ท่ านพระครู ป ระจั ก ษ์อุบ ลคุ ณ เป็ นพระอนุ ส าวนา


จารย์ เมื่อวันที่ ๑๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๓๖ พระอุปัชฌายะใหู
นามฉายาว่ า ภู ริ ทั ต โต เมื่ออุปสมบทแลูวไดูมาอยู่ในส้านัก
วิ ปัสสนากับท่านพระอาจารย์ เ สาร์ กัน ตสีโ ล วั ด เลีย บ เมื อ ง
อุบล

เกิดสุบิน
เมื่อท่านเริ่มปฏิบัติวิปัสสนาใหม่ ๆ ในส้านักพระอาจารย์
เสาร์ กันตสีโล วัด เลีย บ อุบ ลราชธานี ท่านบริ กรรมภาวนา
ดูวยบท พุทโธ ประจ้านิ สัยที่ชอบกว่าบรรดาบทธรรมอื่น ๆ ใน
ขั้ น เริ่ ม แรกยั ง ไม่ ป รากฏเป็ นความสงบสุ ข มากเท่ า ที่ ควร
ท้า ใหูมีความสงสัยในปฏิปทาว่าจะถูกหรือผิดประการใด แต่
มิไดูลดละความเพียรพยายาม ในระยะต่อมาผลปรากฏเป็ น
ความสงบพอใหู ใ จเย็ น บู า ง ในคื น วั น หนึ่ ง เกิ ด สุ บิ น นิ มิ ต ว่ า
ท่านออกเดินทางจากหมู่บูานเขูาสู่ป่าใหญ่อันรกชัฏที่เต็มไป
ดู ว ยขวากหนามจนจะหาที่ ดู น ดั้ นผ่ า นไปแทบไม่ ไ ดู ท่ า น
พยายามซอกซอนไปตามป่ านั้นจนพูนไปไดูโดยปลอดภัย พอ
พู น จากป่ าไปก็ ถึ ง ทุ่ ง กวู า งจนสุ ด สายตา เดิ น ตามทุ่ ง ไปโดย
ล้า ดั บไม่ล ดละความพยายาม ขณะที่ เ ดิ นตามทุ่ ง ไปไดู พ บไมู
ตู น หนึ่ ง ชื่ อตู น ชาติ ซึ่ ง เขาตั ด ลู ม เอง ขอนจมดิ น อยู่ เ ป็ นเวลา
นานปี เปลือกและกระพี้ผุพังไปบูางแลูว ไมูตูนนั้นรููสึกใหญ่โต
มาก ท่านเองก็ปีนขึ้นและไต่ไปตามขอนชาติท่ีลูมนอนอยู่น้ั น
พรูอมทั้ง พิจ ารณาอยู่ ภายใน และรููขึ้นมาว่ า ไมูน้ี จะไม่ มีก าร
งอกขึ้นไดูอีก ซึ่งเทียบกับชาติของท่านว่าจะไม่ก้า เริบใหูเ ป็ น
ภพ-ชาติสืบต่อไปอีกแน่ นอน
ค้าว่าขอนชาติท่านพิจารณาเทียบกับชาติความเกิดของ
ท่ า นที่ เ คยเป็ นมา ที่ ข อนชาติ ผุ พั ง ไปไม่ ก ลั บ งอกขึ้ น ไดู อี ก
เทียบกับชาติของท่านว่าจะมีทางสิ้นสุดในอัตภาพนี้ แน่ ถูาไม่
ลดละความพยายามเสี ย ทุ่ ง นี้ เวิ้ ง วู า งกวู า งขวางเที ย บกั บ
ความไม่ มี สิ้ น สุ ด แห่ ง วั ฏ วนของมวลสั ต ว์ ขณะที่ ก้า ลั ง ยื น
พิ จารณาอยู่ ปรากฏว่ ามี มู า สี ข าวตั ว หนึ่ ง รู ป ร่ า งใหญ่ แ ละสู ง
เดินเขูามาเทียบที่ขอนชาติน้ัน ท่านนึ กอยากจะขี่มูาขึ้นมาใน
ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 7
8

ขณะนั้น เลยปี นขึ้นบนหลังมูาตัวแปลกประหลาดนั้น ขณะนั้น


ปรากฏว่ามูาไดูพาท่านวิ่งไปอย่างเต็มก้า ลังฝี เทูา ท่านเองก็
มิไดูนึกว่าจะไปเพื่อประโยชน์อะไร ณ ที่ใด แต่มูาก็พาท่านวิ่ง
ไปอย่างไม่ลดละฝี เทูา โดยไม่ก้า หนดทิศทางและสิ่ งที่ ตนพึ ง
ประสงค์ ใ ด ๆ ในขณะนั้ น ระยะทางที่ มู า พาวิ่ ง ไปตามทุ่ ง อั น
กวูางขวางนั้น รููสึกว่าไกลแสนไกลโดยไม่อาจจะคาดไดู ขณะ
ที่มูาก้า ลังวิ่งไปนั้น ไดูแลเห็นตููใบหนึ่ ง ในความรููสึกว่าเป็ นตูู
พระไตรปิ ฎกซึ่งวิจิตรดูวยเงินสีขาวงดงามมาก มูาไดูพาท่าน
ตรงเขูาไปสู่ตูน้ันโดยมิไดูบังคับ พอถึงตููพระไตรปิ ฎกมูาก็หยุด
ท่ า นก็ รี บ ลงจากหลั ง มู า ทั น ที ดู ว ยความหวั ง จะเปิ ดดู ตู พ ระ
ไตรปิ ฎกที่ต้ังอยู่เฉพาะหนูา ส่วนมูาก็ไดูหายตัวไปในขณะนั้น
โดยมิ ไ ดู ก้า หนดว่ า ไดู ห ายไปในทิ ศ ทางใด ท่ า นไดู เ ดิ น ตรง
เขู า ไปหาตูู พ ระไตรปิ ฎกที่ ต้ั ง อยู่ ท่ี สุ ด ของทุ่ ง อั น กวู า งนั้ น ซึ่ ง
มองจากนั้นไปเห็นมีแต่ป่ารกชัฏที่เต็มไปดูวยขวากหนามต่าง
ๆ ไม่ มี ช่ องทางพอจะเดิ น ต่ อ ไปอี ก ไดู แต่ มิ ทั น จะเปิ ดดู ตู พ ระ
ไตรปิ ฎกว่ามีอะไรอยู่ขูางในบูาง เลยรููสึกตัวตื่นขึ้น
สุ บิ น นิ มิ ต นั้ น เป็ นเครื่ องแสดงความมั่ น ใจว่ า จะมี ท าง
ส้า เร็ จ ตามใจหวั ง อย่ า งแน่ น อนไม่ เ ป็ นอย่ า งอื่ น ถู า ไม่ ล ดละ
ความเพี ย รพยายามเสี ย เท่ า นั้ น จากนั้ นท่ า นไดู ต้ั งหนู า
ประกอบความเพียรอย่างเขูมแข็ง มีบทพุทโธเป็ นค้าบริกรรม
ประจ้า ใจในอิ ริ ย าบถต่ า ง ๆ อย่ า งมั่ น ใจ ส่ ว นธรรมคื อ ธุ ด งค
วัตรที่ท่านศึกษาเป็ นประจ้าดูวยความรักสงวนอย่างยิ่งตลอด
มา นั บแต่ เ ริ่ ม อุ ปสมบทจนถึ ง วั น สุด ทู า ยปลายแดนแห่ ง ชี วิ ต
ไดูแก่ ถือผูาบังสุกุลเป็ นวัตร ไม่รับคหปติจีวรที่เขาถวายดูวย
มือ ๑ บิณฑบาตเป็ นวัตรประจ้าวันไม่ลดละ เวูนเฉพาะวันที่ไม่
ฉันเลยก็ไม่ไป ๑ ไม่รับอาหารที่ตามส่งทีหลัง คือรับเฉพาะที่
ไดูมาในบาตร ๑ ฉันมื้อเดียว คือฉันวันละหน ไม่มีอาหารว่าง
ใด ๆ ที่เป็ นอามิสเขูามาปะปนในวันนั้น ๆ ๑ ฉันในบาตร คือมี
ภาชนะใบเดียวเป็ นวัตร ๑ อยู่ในป่ าเป็ นวัตร คือเที่ยวอยู่ตาม
ร่ มไมูบูาง ในป่ าธรรมดา ในภูเ ขาบูา ง หุบ เขาบู า ง ในถ้้ า ใน
เงื้ อมผาบู าง ๑ ถื อ ผู า ไตรจี ว รเป็ นวั ต ร คื อ มี ผูา ๓ ผื น ไดู แ ก่
สังฆาฏิ จีวร สบง (เวูนผูาอาบน้้าฝนซึ่งจ้าเป็ นตูองมีในสมัยนี้ )

ธุดงค์นอกจากนี้ ท่านก็สมาทานและปฏิบัติเป็ นบางสมัย
ส่วน ๗ ขูอนี้ ท่านปฏิบัติเป็ นประจ้า จนกลายเป็ นนิ สัยซึ่งจะหา
ผููเสมอไดูยากในสมัยปั จจุบัน ท่านมีนิสัยท้า จริงในงานทุกชิ้น
ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 8
9

ทั้งกิจนอกการในไม่เหลาะแหละ มีความมุ่งหวังต่อแดนหลุด
พูนอย่างเต็มใจ ในอิริยาบถต่าง ๆ เต็มไปดูวยความพากเพียร
เพื่อถอดถอนกิเลสทางภายใน ไม่ มีค วามฟู ุ งเฟู อเห่ อเหิม เขู า
มาแอบแฝงไดู ทั้ ง ๆ ที่ มี กิ เ ลสเหมื อ นสามั ญ ชนทั่ ว ๆ ไป
เพราะท่านไม่ยอมปล่อยใจใหูกิเลสย้่ายีไดู มีการตูานทานห้้า
หั่นดูวยความเพียรอย่างไม่ลดละ ซึ่งผิดกับคนธรรมดาอยู่มาก
(ตามท่านเล่าใหูฟังในเวลาบ้าเพ็ญ)
ใน ระยะต่ อ มาที่ แ น่ ใจ ว่ า จิ ต มี ห ลั ก ฐาน มั่ น ค ง พ อจ ะ
พิจารณาไดูแลูว ท่านจึงยูอนมาพิจารณาสุบินนิ มิตจนไดูความ
โดยล้าดับว่า การออกบวชปฏิบัติตนสมควรแก่ธรรมก็เท่ากับ
การยกระดับจิตใหูพูนจากความผิดมีประเภทต่าง ๆ ซึ่งเปรียบ
เหมื อ นบู า นเรื อ นอั น เป็ นที่ ร วมแห่ ง สรรพทุ ก ข์ และป่ าอั น
รกชัฏทั้งหลายอันเป็ นที่ซุ่มซ่อนแห่งภัยทั้งปวง ใหูถึงที่เวิ้งวูาง
ไม่ มี จุ ด หมาย ซึ่ ง เมื่ อเขู า ถึ ง แลู ว เป็ นคุ ณ ธรรมที่ แ สนสบาย
หายกังวลโดยประการทั้งปวง ดูวยปฏิปทาขูอปฏิบัติท่ีเปรียบ
เหมือนมูาตัวองอาจเป็ นพาหนะขับขี่ไปถึงที่อันเกษม และพา
ไปพบตูู พ ระไตรปิ ฎกอั น วิ จิ ต รสวยงาม แต่ ว าสนาไม่ อ้า นวย
สมบู ร ณ์ จึ ง เป็ นเพีย งไดู เ ห็ น แต่ มิ ไ ดู เ ปิ ดตูู พ ระไตรปิ ฎกออก
ชมอย่ า งสมใจเต็ ม ภู มิ แ ห่ ง จตุ ป ฏิ สั ม ภิ ท าญาณทั้ ง สี่ อั น เป็ น
คุณธรรมยังผููเขูาถึงใหูเป็ นผููฉลาดปราดเปรื่องเลื่องลือระบือ
ทั่วไตรโลกธาตุ มีความฉลาดกวูางขวางในอุบายวิธีประหนึ่ ง
ทู อ งฟู ามหาสมุ ท ร ไม่ มี ค วามคั บ แคู น จนมุ ม ในการอบรมสั่ ง
สอนหมู่ ช นทั้ ง เทวดาและมนุ ษ ย์ ทุ ก ชั้ น แต่ เ พราะกรรมอั น ดี
เยี่ยมไม่เพียงพอ บารมีไม่ใหู โอกาสวาสนาไม่อ้านวย จึงเป็ น
เพียงไดูชมตููพระไตรปิ ฎก และตกออกมาเป็ นผลใหูท่านไดูรับ
เพี ย งชั้ น ปฏิ สั ม ภิ ท านุ ศ าสน์ มี เ ชิ ง ฉลาดในเทศนาวิ ธี อั น เป็ น
บาทวิ ถี แ ก่ ห มู่ ชนพอเป็ นปากเป็ นทางเท่ า นั้ น ไม่ลึ ก ซึ้ ง กวู า ง
ขวางเท่าที่ควร ทั้งนี้ แมูท่านจะพูดว่า การสั่งสอนของท่านพอ
เป็ นปากเป็ นทางอั น เป็ นเชิ ง ถ่ อ มตนก็ ต าม แต่ บ รรดาผูู ท่ี ไ ดู
เห็นปฏิปทาคือขูอปฏิบัติท่ีท่านพาด้าเนิ นและธรรมะที่ท่านน้า
มาอบรมสั่งสอน แต่ละบทละบาท แต่ละครั้งละคราว ลูวนเป็ น
ความซาบซึ้งใจไพเราะเหลือจะพรรณนาและยากที่จะไดูเห็น
ไดูยิน จากที่ อ่ ืน ใดในสมั ยปั จจุ บัน ซึ่ง เป็ นสมั ยที่ตู องการคนดี
อยู่มาก

ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 9
10

เกิดสมาธิ
เมื่อท่านพักอบรมภาวนาดูวยบทพุทโธ อยู่ท่ีวัดเลียบ จัง
หวั ด อุ บ ลฯ ขณะที่ จิ ต สงบลง ปรากฏเป็ นอุ ค หนิ มิ ต ขึ้ น มาใน
ลั ก ษณะคนตายอยู่ ต่ อ หนู า แสดงอาการพุ พ องมี น้ าเน่ า น้้ า
หนองไหลออกมา มีแรูงกาและสุนัขมากั ดกิน และยื้อแย่ งกัน
อยู่ต่อหนูาท่าน จนซากนั้นกระจัดกระจายไปทั่วบริเวณ เป็ นที่
น่ าเบื่อหน่ ายและสลดสังเวชเหลือประมาณในขณะนั้น เมื่อจิต
ถอนขึ้นมา ในวาระต่อไปไม่ว่าจะนั่งภาวนา เดินจงกรม หรือ
อยู่ในท่าอิริยาบถใด ท่านก็ถือเอานิ มิตนั้นเป็ นเครื่องพิจารณา
โดยสม้่าเสมอไม่ลดละ จนนิ มิตแห่งคนตายนั้ น ไดู กลับ กลาย
มาเป็ นวงแกูวอยู่ต่อหนูาท่าน เมื่อเพ่งพิจารณาวงแกูวนั้นหนัก
ๆ เขูาก็ย่ิงแปรสภาพไปต่าง ๆ ไม่มีทางสิ้นสุด ท่านพยายาม
ติ ด ตามก็ ย่ิ ง ปรากฏเป็ นรู ป ร่ า งต่ า ง ๆ จนไม่ มี ป ระมาณว่ า
ความสิ้นสุดแห่งภาพนิ มิตจะยุติลง ณ ที่ใด ยิ่งเพ่งพิจารณาก็
ยิ่งแสดงอาการต่าง ๆ ไม่มีสิ้นสุด โดยเป็ นภูเขาสูงขึ้นเป็ นพัก
ๆ บูาง ปรากฏว่าองค์ท่านสะพายดาบอัน คมกลู าและเทูา ทั้ง
สองมี ร องเทู า สวมอยู่ บู า ง แลู ว เดิ น ไป-มาบนภู เ ขานั้ น บู า ง
ปรากฏเห็นก้าแพงขวางหนูามีประตูบูาง ท่านเปิ ดประตูเขูาไป
ดูเห็นมีท่ีน่ังและที่อยู่ของพระ ๒-๓ รูป ก้า ลังนั่ งสมาธิอยู่บูาง
บริ เ วณก้า แพงนั้ น มี ถ้ าและเงื้ อมผาบู า ง มี ด าบสอยู่ ใ นถ้้ านั้ น
บูาง มียนต์คลูายอู่ มีสายหย่อนลงมาจากหนูาผาบูาง ปรากฏ
ว่าท่านขึ้นสู่อู่ขึ้นไปบนภูเขาบูาง มีส้าเภาใหญ่อยู่บนภูเขาบูาง
เห็ น โต๊ ะ สี่ เ หลี่ ย มอยู่ ใ นส้า เภาบู า ง มี ป ระที ป ความสว่ า งอยู่
บริเวณรอบ ๆ หลังเขานั้นบูาง ปรากฏว่าท่านฉันจังหันอยู่บน
ภูเขานั้นบูาง จนไม่อาจจะตามรููตามเห็นใหูสิ้นสุดลงไดู
สิ่ ง ที่ ท่ า น ไดู เ ห็ น เ กี่ ย ว กั บ นิ มิ ต เ ป็ น เ ห ตุ ใ หู รูู สึ ก ว่ ามี
มากมาย จนไม่อาจจะน้า มากล่าวจบสิ้นไดู ท่านพิจ ารณาใน
ท้านองนี้ ถึง ๓ เดือน โดยการเขูา ๆ ออก ๆ ทางสมาธิภาวนา
พิจารณาไปเท่าไร ก็ย่ิงรููย่ิงเห็นสิ่งที่จะมาปรากฏจนไม่มีทาง
สิ้ น สุ ด แต่ ผ ลดี ป รากฏจากการพิ จ ารณา ไม่ ค่ อ ยมี พ อเป็ น
เครื่ องยื น ยั น ไดู ว่ า เป็ นวิ ธี ท่ี ถู ก ตู อ งและแน่ ใ จ เมื่ อออกจาก
สมาธิประเภทนี้ แลูว ขณะกระทบกับอารมณ์ต่าง ๆ ที่มีอยู่ท่ัว

ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 10
11

ๆ ไปก็ เ กิ ด ความหวั่ น ไหว คื อ ท้า ใหู ดี ใ จ เสี ย ใจ รั ก ชอบ และ


เกลี ย ดชั ง ไปตามเรื่ องของอารมณ์น้ั น ๆ หาความเที่ ย งตรง
คงตัวอยู่มิไดู จึงเป็ นเหตุใหูท่านส้านึ กในความเพียรและสมาธิ
ที่เคยบ้า เพ็ญมาว่า คงไม่ใช่ทางแน่ ถูา ใช่ ท้า ไมถึง ไม่ มีค วาม
สงบเย็นใจและด้ารงตนอยู่ดูวยความสม้่าเสมอ แต่ท้า ไมกลับ
กลายเป็ นใจที่วอกแวกคลอนแคลนไปตามอารมณ์ต่าง ๆ ไม่มี
ประมาณ ซึ่ ง ไม่ ผิ ด อะไรกั บ คนที่ เ ขามิ ไ ดู ฝึ กหั ด ภาวนาเลย
ชะรอยจะเป็ นความรููความเห็นที่ส่งออกนอก ซึ่งผิดหลักของ
การภาวนาไปกระมัง? จึงไม่เกิดผลแก่ใจใหูไดูรับความสงบ
สุขเท่าที่ควร
ท่านจึงท้า ความเขูาใจเสียใหม่ โดยยูอนจิตเขูามาอยู่ใน
วงแห่งกาย ไม่ส่งใจไปนอก พิจารณาอยู่เฉพาะกาย ตามเบื้อง
บน เบื้องล่าง ดูานขวาง สถานกลาง โดยรอบ ดูวยความมีสติ
ตามรักษา โดยการเดินจงกรมไป-มา มากกว่าอิริยาบถอื่น ๆ
แมูเวลานั่งท้า สมาธิภาวนาเพื่อพักผ่อนใหูหายเมื่อยบูางเป็ น
บางกาล ก็ไม่ยอมใหูจิตรวมสงบลงดังที่เคยเป็ นมา แต่ใหูจิต
พิจารณาและท่องเที่ยวอยู่ตามร่างกายส่วนต่าง ๆ เท่านั้น ถึง
เวลาพักผ่อนนอนหลับก็ใหูหลับดูวยพิจารณากายเป็ นอารมณ์
พยายามพิ จ ารณาตามวิ ธี น้ี อ ยู่ ห ลายวั น จึ ง ตั้ ง ท่ า นั่ ง ขั ด สมาธิ
พิจารณาร่างกายเพื่อใหูใจสงบดูวยอุบายนี้ อันเป็ นเชิงทดลอง
ดูว่าจิตจะสงบแบบไหนกันอี กแน่ ความที่ จิต ไม่ ไดู พักสงบตัว
เลยเป็ นเวลาหลายวั น พรู อ มกั บ ไดู รั บ อุ บ ายวิ ธี ท่ี ถู ก ตู อ งเขู า
กล่อมเกลา จิตจึงรวมสงบลงไดูอย่างรวดเร็วและง่ายดายผิด
ปกติ ขณะที่ จิ ต รวมสงบตั ว ลงไป ปรากฏว่ า ร่ า งกายไดู แ ตก
ออกเป็ นสองภาค และรูู ขึ้ น มาในขณะนั้ น ว่ า “นี้ เ ป็ นวิ ธี ท่ี ถู ก
ตู อ งแน่ น อนแลู ว ไม่ ส งสั ย ” เพราะขณะที่จิตรวมลงไปมีสติ
ประจ้า ตัวอยู่กับที่ ไม่เหลวไหลและเที่ยวเร่ร่อนไปในที่ต่าง ๆ
ดังที่เคยเป็ นมา
และนี้ คืออุบายที่แน่ ใจว่าเป็ นความถูกตูองในขั้นแรกของ
การปฏิ บั ติ ในวาระต่ อ ไปก็ ถื อ อุ บ ายนี้ เป็ นเครื่ องด้า เนิ น ไม่
ลดละ จนสามารถท้าความสงบใจไดูตามตูองการ และมีความ
ช้านิ ช้านาญขึ้นไปตามก้าลังแห่งความเพียร ไม่ลดหย่อนอ่อน
ก้า ลัง นั บว่าไดูหลักฐานทางจิ ตใจที่ ม่ันคงดู วยสมาธิ ไม่ หวั่ น
ไหวคลอนแคลนอย่ างง่ า ยดาย ไม่ เ หมื อ นคราวบ้า เพ็ ญ ตาม
นิ มิตในขั้นเริ่มแรก ซึ่งท้าใหูเสียเวลาไปเปล่าตั้ง ๓ เดือน โทษ

ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 11
12

แห่งความไม่มีครูอาจารย์ผูฉลาดคอยใหูอุบายสั่งสอน ย่อมมี
ทางเป็ นไปต่าง ๆ ดังที่เคยพบเห็นมาแลูวนั้นแล อย่างนูอยก็
ท้า ใหู ล่ าชู า มากกว่ า นั้ น ก็ ท้า ใหู ผิ ด ทาง และมี ท างเสี ย ไปไดู
อ ย่ า ง ไ ม่ มี ปั ญ ห า ท่ า น เ ล่ า ว่ า ส มั ย ที่ ท่ า น อ อ ก บ้า เ พ็ ญ
กรรมฐานภาวนาครั้งโนูน ไม่มีใครสนใจท้า กันเลย ในความ
รููสึกของประชาชนสมัยนั้น คลูายกับว่า การบ้าเพ็ญกรรมฐาน
เป็ นของแปลกปลอม ไม่ เคยมี ใ นวงของพระและพระศาสนา
เลย แมูแต่ชาวบูานเองพอมองเห็นพระกรรมฐานเดินธุดงค์ไป
ซึ่งอยู่ห่างกันคนละฟากทุ่ งนา เขายั งพากั นแตกตื่นและกลั ว
กันมาก
ถู า อยู่ ใ กลู ห มู่ บู า นก็ จ ะพากั น วิ่ ง เขู า บู า นกั น หมด ถู า อยู่
ใกลูป่าก็พากันวิ่งเขูาหลบซ่อนในป่ ากันหมด ไม่กลูามายืนซึ่ง
ๆ หนูา พอใหูเราไดูถามหนทางที่จะไปสู่หมู่บูาน ต้าบลต่าง ๆ
บู า งเลย บางครั้ ง เราเดิ น ทางไปเจอกั บ พวกผูู ห ญิ ง ที่ ก้า ลั ง
เที่ยวหาอยู่หากิน เที่ยวเก็บผักหาปลาตามป่ าตามภูเขา ซึ่งมี
เด็ ก ๆ ติ ด ไปดู ว ย พอมองเห็ น พระธรรมกรรมฐานเดิ น มา
เสี ย งรู อ งลั่ น บอกกั น ดู ว ยความตกใจกลั ว ว่ า “พระธรรมมา
แลูว” พรูอมกับทิ้งหาบหรือสิ่งของอยู่บนบ่าลงพื้นดินเสียงดัง
ตูมตาม โดยไม่อาลัยเสียดายว่าอะไรจะแตก อะไรจะเสียหาย
ส่วนตัวก็ต่างคนต่างวิ่งหาที่หลบซ่อน ถูาอยู่ใกลูป่าหรืออยู่ใน
ป่ าก็ พ ากั น วิ่ ง เขู า ป่ า ถู า อยู่ ใ กลู ห มู่ บู า นก็ พ ากั น วิ่ ง เขู า บู า น
ส่ วนเด็ก ๆ ที่ ไม่ รูเดี ยงสาเห็น ผููใ หญ่ รูอ งโวยวายและต่ า งคน
ต่ า งวิ่ ง หนี เจู าตั ว ก็รู องไหู ว่ิ ง ไปวิ่ ง มาอยู่ บ ริ เ วณนั้ น โดยไม่ มี
ใครกลูาออกมารับเอาเด็ก ไปดูว ยเลย เด็กจะวิ่ งตามผููใ หญ่ ก็
ไม่ทัน เลยตูองวิ่งหันรีหันขวางอยู่แถว ๆ นั้นเอง ซึ่งน่ าขบขัน
และน่ าสงสารเด็กที่ไม่เดียงสา ซึ่งรูองไหูว่ิงตามหาผููใหญ่ดูวย
ความตกใจและความกลัวเป็ นไหน ๆ
ส่วนพระธรรมท่านเห็นท่าไม่ดี กลัวเด็กจะกลัวมากและ
รูองไหูใหญ่ ก็ตูองรีบกูาวเดินเพื่อผ่านไปใหูพูน ถูาขืนไปถาม
เด็กเขูาคงไดูเรื่องแน่ ๆ คือเด็กยิ่งจะกลัวและรูองไหูว่ิงไปวิ่ง
มา และยิ่งจะรูองไหูใหญ่ไปทั่วทั้งป่ า ส่วนผููใหญ่ท่ีเป็ นแม่ของ
เด็ ก ก็ ยื น ตั ว สั่ น อยู่ ใ นป่ าอย่ า งกระวนกระวาย ทั้ ง กลั ว พระ
ธรรมกรรมฐาน ทั้งกลัวเด็กจะวิ่งเตลิดเปิ ดเปิ งหนี ไปที่อ่ ืนอีก
ใจเลยไม่เป็ นใจเพราะความกระวนกระวายคิดถึงลูก เวลาพระ
ธรรมผ่านไปแลูว แม่ว่ิงหาลูก ลูกวิ่งหาแม่วุ่น วายไปตาม ๆ
กั น กว่ า จะออกมาพบหนู า กั น ทุ ก คนบรรดาที่ ไปดู ว ยกั น
ประหนึ่ งบูานแตกสาแหรกขาดไปพักหนึ่ ง พอออกมาครบถูวน
ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 12
13

หนู า แลู ว ต่ า งก็ พู ด และหั ว เราะกั น ถึ ง เรื่ องชุ ล มุ น วุ่ น วาย


เพราะความกลั ว พระธรรมกรรมฐานไปยกใหญ่ ก่ อ นที่ จ ะ
เที่ยวหากินตามปกติ
เ รื่ อง เ ป็ น เ ช่ น นี้ โ ด ย ม า ก ค น ส มั ย ที่ ท่ า น อ อ ก ธุ ด ง ค
กรรมฐาน เขาไม่เ คยพบเคยเห็ น กั นเลย จึ ง แสดงอาการตื่ น
เตูนตกใจและกลัวกันส้า หรับผููหญิงและเด็ก ๆ ฉะนั้น เมื่อคบ
กันในขั้นเริ่มแรกจึงไม่ค่อยมีใครสนใจธรรมะกับพระธุดงค์นัก
นอกจากจะกลั ว กัน เป็ นส่ ว นมาก ทั้ ง นี้ อ าจจะเป็ นเพราะเหตุ
หลายประการ เช่ น มารยาทท่ า นก็ อ ยู่ ใ นอาการส้า รวม
เคร่งขรึม ไม่ค่อยแสดงความคูน ุ กับใครนัก ถูาไม่คบกันนาน ๆ
จนรููนิสั ยกัน ดีก่อนแลู ว และผู า สั ง ฆาฏิ จี ว ร สงบ อั ง สะ และ
บริขารอื่น ๆ โดยมากยูอมดูวยสีกรัก คือสีแก่นขนุน ซึ่งเป็ นสี
ฉูดฉาดน่ ากลัวมากกว่าจะน่ าเลื่อมใส
เวลาออกเดินทางเพื่อเจริญสมณธรรมในที่ต่ าง ๆ ท่า น
ครองจี ว รสี แ ก่ น ขนุ น บ่ า ขู า งหนึ่ ง แบกกลด ซึ่ ง มี ข นาดใหญ่
กว่ า ร่ ม ธรรมดาที่ โ ลก ๆ ใชู กั น ทั่ ว ๆ ไป บ่ า ขู า งหนึ่ ง สะพาย
บาตร ถูามีดูวยกันหลายองค์ เวลาออกเดินทางท่านเดินตาม
หลังกันเป็ นแถว ครองจีวรสีกรักคลูายสีน้ าตาล เห็ นแลู วน่ า
คิด น่ าทึ่ง อยู่ ไม่ นูอยส้า หรับ ผููท่ี ยัง ไม่ เคยพบเห็ น มาก่ อ น และ
น่ าเลื่อมใสส้าหรับผููท่ีเคยรููอัธยาศัยและจริยธรรมท่านมาแลูว
ประชาชนที่ ยั ง ไม่ ส นิ ท กั บ ท่ า นจะเกิ ด ความเลื่ อมใสก็ ต่ อ เมื่ อ
ท่านไปพักอยู่นาน ๆ เขาไดูรับค้าชี้แจงจากท่านดูวยอุบายต่าง
ๆ หลายครั้ง หลายคราว นานไปใจก็ค่ อ ยโอนอ่ อ นต่ อ เหตุ ผล
อรรถธรรมไปเอง จนเกิ ด ความเชื่ อเลื่ อมใส กลายเป็ นผูู มี
ธรรมในใจ มีความเคารพเลื่อมใสในครูอาจารย์ผูใหูโอวาทสั่ง
สอนอย่างถึงใจ ก็มีจ้านวนมาก
พระธุดงค์ผูมุ่งปฏิบัติเพื่ออรรถเพื่อธรรมจริง ๆ เขูาถึงใจ
ประชาชนไดู ดี แ ละท้า ประโยชน์ ไ ดู ม าก โดยไม่ อ าศั ย ค้า
โฆษณา แต่ ก ารประพฤติ ป ฏิ บั ติ ตั ว โดยสามี จิ ก รรมย่ อ มเป็ น
เครื่องดึงดูดจิตใจผููอ่ ืนใหูเกิดความสนใจไปเอง
การเที่ย วแสวงหาที่วิ เวกเพื่อความสงั ดทางกายทางใจ
ไม่พลุกพล่านวุ่นวายดูวยเรื่องต่าง ๆ เป็ นกิจวัตรประจ้า นิ สัย
ของพระธุดงคกรรมฐานผููมุ่งอรรถธรรมทางใจ ดังนั้น พอออก
พรรษาแลูว ท่านพระอาจารย์ม่ันจึงชอบออกเที่ยวธุดงค์ทุก ๆ
ปี โดยเที่ยวไปตามป่ าตามภูเขา ที่มีหมู่บูานพอไดูอาศัยโคจร
บิณฑบาต ทางภาคอีสานท่านชอบเที่ย วมากกว่ าทุ ก ๆ ภาค
เพราะมี ป่ ามี ภู เ ขามาก เช่ น จั ง หวั ด นครพนม สกลนคร
ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 13
14

อุดรธานี หนองคาย เลย หล่มสัก และทางฝั่ งแม่น้ าโขงของ


ประเทศลาว เช่น ท่าแขก เวียงจันทน์ หลวงพระบาง ที่มี ป่า
เขาชุกชุมมาก เหมาะแก่การบ้า เพ็ญสมณธรรม การบ้า เพ็ญ
เพียรในท่าอิริยาบถต่าง ๆ นั้น ไม่ว่าท่านจะพักอยู่ในสถานที่
ใด ไม่มี การลดละทั้งกลางวั นกลางคืน ถือเป็ นงานส้า คั ญ ยิ่ ง
กว่ า งานอื่ นใด เพราะนิ สั ย ของท่ า นพระอาจารย์ ม่ั น ไม่ ช อบ
ทางการก่ อ สรู า งมาแต่ เ ริ่ ม แรก ท่ า นชอบการบ้า เพ็ ญ เพี ย ร
ทางใจโดยเฉพาะ และไม่ชอบเกาะเกี่ยวกับเพื่อนฝูงและหมู่ชน
ชอบอยู่ ล้า พั ง คนเดี ย ว มี ค วามเพี ย รเป็ นอารมณ์ท างใจ มี
ศรัทธามุ่งมั่นต่อแดนพูนทุกข์อย่างแรงกลูา ดังนั้น เวลาท่าน
ท้า อะไรจึงชอบท้า จริงเสมอ ไม่มีนิสัยโกหกหลอกลวงตนเอง
และผููอ่ ืน
การบ้าเพ็ญเพียรของท่านเป็ นเรื่องอัศจรรย์ไปตลอดสาย
ทั้ ง มี ค วาม ขยั น ทั้ ง มี ค ว าม ท ร ห ด อด ท น แ ล ะมี นิ สั ย ชอ บ
ใคร่ครวญ จิตท่านปรากฏมีความกูาวหนูาทางสมาธิและทาง
ปั ญญ าอย่ า งส ม้่ าเส มอ ไ ม่ ล่ าถ อยแ ละเสื่ อม โทร ม การ
พิ จารณากายนั บแต่วัน ที่ท่ านไดู อุบ ายจากวิ ธีท่ี ถูกตู องในขั้ น
เริ่มแรกมาแลูว ไม่ยอมใหูเสื่อมถอยลงไดูเลย ท่านยึดมั่นใน
อุ บ ายวิ ธี น้ั น อย่ า งมั่ น คง และพิ จ ารณากายซ้้ า ๆ ซาก ๆ จน
เกิดความช้า นิ ช้า นาญ แยกส่วนแบ่งส่ วนแห่ งกายใหูเ ป็ นชิ้น
เล็กชิ้นใหญ่และท้า ลายลงดูวยปั ญญาไดู ตามตู องการ จิตยิ่ ง
นั บ วั น หยั่ ง ลงสู่ ค วามสงบเย็ น ใจไปเป็ นระยะไม่ ข าดวรรค
ขาดตอน เพราะความเพียรหนุนหลังอย่ต ู ลอดเวลา
ท่านเล่าว่า ท่านไปที่ใด อยู่ท่ีใด ใจท่านมิไดูเหินห่างจาก
ความเพี ย ร แมู ไ ปบิ ณ ฑบาต กวาดลานวั ด ขั ด กระโถน
ท้า ความสะอาด เย็ บ ผู า ยู อ มผู า เดิ น ไปมาในวั ด นอกวั ด
ตลอดการขบฉัน ท่ า นท้า ความรูู สึ ก ตั ว อยู่ กั บ ความเพี ย รทุ ก
ข ณ ะ ที่ เ ค ลื่ อ น ไ ห ว ไ ม่ ย อ ม ใ หู เ ป ล่ า ป ร ะ โ ย ช น์ จ า ก ก า ร
เคลื่อนไหวใด ๆ ทั้งสิ้น นอกจากเวลาหลับนอนเท่านั้น แมูเช่น
นั้น ท่านยังตั้งใจไวูเมื่อรููสึกตัวจะรีบลุกขึ้นไม่ยอมนอนซ้้าอีก
จะเป็ นความเคยตั ว ต่ อไปและจะแกู ไ ขไดู ย าก ตามปกตินิ สั ย
พอรููสึกตัวท่านรีบลุกขึ้นลูางหนูาแลูวเริ่มประกอบความเพียร
ต่ อ ไป ขณะที่ ต่ ื นนอนขึ้ น มาและลู า งหนู า เสร็ จ แลู ว ถู า ยั ง มี
อาการง่ ว งเหงาอยู่ ท่ านไม่ ย อมนั่ ง สมาธิ ใ นขณะนั้ น กลั ว จะ
หลับใน ท่านตูองเดินจงกรมเพื่อแกูความโงกง่วงที่คอยแต่จะ
หลับในเวลาเผลอตัว การเดินจงกรม ถูากูาวขาไปชูา ๆ ยังไม่
อาจระงั บ ความง่ ว งเหงาไดู ท่ า นตู อ งเร่ ง ฝี กู า วใหู เ ร็ ว ขึ้ น จน
ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 14
15

ความง่วงหายไป เมื่อรููสึกเมื่อยเพลียและไม่มีความง่วงเหลือ
อยู่ในเวลานั้น ท่านถึงจะออกจากทางจงกรมเขูามาที่พักหรือ
กุฏิ แลูวนั่งสมาธิภาวนาต่อไปจนสมควรแก่กาล
เมื่ อถึ ง เวลาบิ ณ ฑบาตก็ เ ตรี ย มน่ ุ ง สบง ทรงจี ว ร ซู อ น
สังฆาฏิ สะพายบาตรขึ้นบนบ่า ออกบิณฑบาตในหมู่บูานโดย
อาการส้า รวม ท้า ความรูู สึ ก ตั ว กั บ ความเพี ย รไปตลอดสาย
บิณฑบาตทั้งไปและกลับถือเป็ นการเดินจงกรมไปในตัว มีสติ
ประคองใจ ไม่ปล่อยใหูเพ่นพ่านโลเลไปตามอารมณ์ต่าง ๆ ที่มี
อยู่ท่ั วไป เมื่อกลับถึง ที่พั กหรือ วัด แลู ว เตรี ย มจั ด อาหารที่ ไ ดู
มาจากบิณฑบาตลงในบาตร ตามปกติท่านไม่ยอมรับอาหารที่
ศรั ท ธาตามมาส่ ง ท่ า นรั บ และฉั น เฉพาะที่ บิ ณ ฑบาตไดู ม า
เท่านั้น ตอนชรามากแลูวท่านถึงอนุโลมผ่อนผัน คือรับอาหาร
ที่ศรัทธาน้ามาถวาย ฉะนั้น อาหารนอกบาตรจึงไม่มีในระยะ
นั้น
เมื่อเตรียมอาหารใส่ลงในบาตรเสร็จแลูว เริ่มพิจารณา
ปั จจเวกขณะเพื่อระงับดับไฟนรก คือตัณหาอั นอาจแทรกขึ้น
มาตามความหิ ว โหยไดู ใ นขณะนั้ น คื อ จิ ต อาจบริ โ ภคดู ว ย
อ้า นาจตัณหาความสอดส่ ายในอาหารประณี ตบรรจง และมี
รสเอร็ ด อร่ อ ย โดยมิ ไ ดู ค้า นึ ง ถึ ง ความเป็ นธาตุ แ ละปฏิ กู ล ที่
แฝงอยู่ในอาหารนั้น ๆ ดูวย ปฏิสังขา โยนิ โส ฯลฯ เสร็จแลูว
เริ่มฉันโดยธรรม มิใหูเป็ นไปดูวยตัณหาในทุก ๆ ประโยคแห่ง
การฉัน จนเสร็ จ ไปดู ว ยดี ซึ่ ง จั ด ว่ า มี วั ต รในการขบฉัน หลั ง
จากนั้นก็ลูางบาตร เช็ดบาตรใหูแหูง แลูวผึ่งแดดชั่วคราวถูามี
แดด และน้าเขูาถลกยกไปไวูในสถานที่ควร แลูวเริ่มท้าหนูาที่
เผาผลาญกิเ ลสใหูว อดวายหายซากไปเป็ นล้า ดั บ จนกว่ า จะ
ดับสนิ ทไม่มีพิษภัยเครื่องก่อกวนและรังควานจิตใจต่อไป แต่
การเตรียมเผากิเลสนี้ รูสึกเป็ นงานที่ยากเย็นเข็ญใจเหลือ จะ
กล่าว เพราะแทนที่เราจะเผามันใหูฉิบหาย แต่มันกลับเผาเรา
ใหู ไ ดู รั บ ความทุ ก ข์ รู อ นและตายจากคุ ณ งามความดี ท่ี ค วร
บ้าเพ็ญไปอย่างสด ๆ รูอน ๆ และบ่อนท้าลายเรา ทั้ง ๆ ที่เห็น
ๆ มันอยู่ต่อหนูาต่อตา แต่ไม่กลูาท้าอะไรมันไดู เพราะกลัวจะ
ล้าบาก
ผลสุดทูายมันก็ปีนขึ้นนั่งนอนอยู่บนหัวใจเราจนไดู และ
เป็ นเจู า ใหญ่ น ายโตตลอดไป แทบจะไม่ มี เ พศมี วั ย ใด และ
ความรููความฉลาดใดจะต่อสููและเอาชนะมันไดู โลกจึงยอมมัน
ทั่ วไตรภพ น อก จากพร ะศาส ดาเพี ยง อง ค์ เ ดี ย วเ ท่ านั้ น
ที่ ท้า การกวาดลู า งมั น ใหู สิ้ น ซากไปจากใจไดู ไม่ ก ลั บ แพู อี ก
ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 15
16

ตลอดอนั น ตกาล เมื่ อพระองค์ ท รงชนะแลู ว ก็ ท รงแผ่ เ มตตา


แหวกหาหนทางเพื่ อสาวกและหมู่ ช นดู ว ยการประทานพระ
ธรรมสั่ ง สอน จนเกิ ด ศรั ท ธาเลื่ อมใสและปฏิ บั ติ ต ามพระ
โอวาทดูวยความไม่ประมาทนอนใจ บ้า เพ็ญไปไม่ล ดละตาม
รอยพระบาท คือแนวทางที่เสด็จผ่านไป ก็สามารถตามเสด็จ
จนเสร็ จ สิ้ น ทางเดิ น คื อ บรรลุ ถึ ง พระนิ พพาน ดู ว ยการดั บ
กิเลสขาดจากสันดานกลายเป็ นพระอรหันต์ขึ้นมาเป็ นล้า ดับ
ล้าดา ใหูโลกไดูกราบไหวูบูชาเป็ นขวัญตาขวัญใจตลอดมา นี้
คือท่านผููสังหารกิเลสตัวมหาอ้า นาจใหูขาดกระเด็นออกจาก
ใจ หายซากไปโดยแทู ไม่ แ ปรผั น เป็ นอย่ า งอื่ น ท่ า นพระ
อาจารย์ม่ัน ท่านเจริญตามรอยพระบาทพระศาสดา มีความ
เพียรอย่างแรงกลูา มีศรัทธาเหนี ยวแน่ น ไม่พูดพล่ามท้าเพลง
พอเสร็จภัตกิจแลูว ท่านกูาวเขูาสู่ป่าเดินจงกรมเพื่อสงบ
อารมณ์ ใ นรมณี ย สถานอั น เป็ นที่ ใหู ค วามสุ ข ส้า ราญทาง
ภายใน ทั้งเดินจงกรม ทั้งนั่งสมาธิภาวนา จนกว่าจะถึงเวลา
อันควร จึงพักผ่อนกายเพื่อคลายทุกข์ พอมีก้าลังบูางแลูวเริ่ม
ท้างานเพื่อเผาผลาญกิเสสตัวก่อภพก่อชาติภายในใจต่อไป ไม่
ลดหย่อนอ่อนขูอใหูกิเลสหัวเราะเยูยหยัน การท้า สมาธิก็เขูม
ขูนเอาการ การท้า วิปัสสนาปั ญญาก็หมุนตัวอย่างไม่หยุดยั้ง
ทั้ ง สมาธิ แ ละวิ ปั สสนาท่ า นด้า เนิ น ไปอย่ า งสม้่ าเสมอ ไม่ ใ หู
บกพร่องในส่วนใดส่วนหนึ่ ง
จิ ตท่านไดูรั บความสงบสุข โดยสม้่าเสมอ ที่มี ชูา อยู่ บูา ง
ในบางกาล ตามที่ ท่ า นเล่ า ว่ า เพราะขาดผูู แ นะน้า ในเวลา
ติดขัด ล้า พังตนเองเพียงไปเจอเขูาแต่ละเรื่อง กว่าจะหาทาง
ผ่ า นพู น ไปไดู ก็ ตู อ งเสี ย เวลาไปหลายวั น ทั้ ง จ้า ตู อ งใชู ค วาม
พิจารณาอย่างมากและละเอียดถี่ถูวน เพราะนอกจากติดขัด
จนไปไม่ไ ดูแ ลูว ยัง กลับมาเป็ นภั ย แก่ตั ว เองอี ก ดู ว ย หากมี ผู
คอยเตือนและใหูค้า แนะน้า ในเวลาเช่นนั้ นบู าง รููสึกว่ าไปไดู
อย่ า งรวดเร็ ว ไม่ ตู อ งเสี ย เวลา และเป็ นที่ แ น่ ใ จดู ว ย ฉะนั้ น
กัลยาณมิตรจึงเป็ นสิ่งส้าคัญมากส้าหรับผููก้าลังอยู่ในระหว่าง
แห่ ง การบ้า เพ็ ญ ทางใจ ท่ า นเคยเห็ น โทษของความขาด
กัลยาณมิตรมาแลูวว่าเป็ นสิ่งไม่ดีเลย และเป็ นความบกพร่อง
อย่างบอกไม่ถูก
ในบางครั้ง แมูมีค วามอบอุ่ นว่ าตนมี ครู อาจารย์ ค อยใหู
ความร่มเย็นอยู่ก็ตาม เวลาไปเที่ยวธุดงค์ในที่ต่าง ๆ กับท่าน
พระอาจารย์เสาร์ผูเป็ นบุพพาจารย์ แต่เวลาเกิดขูอขูองใจขึ้น
มา ไปกราบเรียนถามท่าน ท่านก็ตอบว่า ผมไม่เคยเป็ นอย่าง
ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 16
17

ท่าน เพราะจิ ตท่ านเป็ นจิ ตที่ ผาดโผนมาก เวลาเกิด อะไรขึ้น


มาแต่ ละครั้ง มัน ไม่ พอดี เดีย ๋ วจะเหาะขึ้ นบนฟู าบู าง เดีย ๋ วจะ
ด้า ดิ น ล ง ไ ป ใ ตู พื้ น พิ ภ พ บู า ง เ ดี ๋ ย ว จ ะ ด้า น้้ า ล ง ไ ป ใ ตู กู น
มหาสมุ ท รบู า ง เดี ๋ย วจะโดดขึ้ น ไปเดิ น จงกรมอยู่ บ นอากาศ
บูาง ใครจะไปตามแกูทัน ขอใหูท่านใชูความพิจารณาและค่อย
ด้า เนิ นไปอย่างนั้ นแหละ แลูว ท่า นก็ ไม่ใ หูอุบายอะไรพอเป็ น
หลั ก ยึ ด เลย ตั ว เองตู องมาแกู ตั ว เอง กว่ า จะผ่ า นไปไดู แ ต่ ล ะ
ครั้ง แทบเอาตัวไม่รอดก็มี
ท่านเล่าว่า นิ สัยของท่านพระอาจารย์เสาร์ เป็ นไปอย่าง
เรียบ ๆ และเยือกเย็นน่ าเลื่อมใสมาก ที่มีแปลกอยู่บูางก็เวลา
ท่านเขูาที่น่ังสมาธิ ตัวของท่านชอบลอยขึ้นเสมอ บางครั้งตัว
ท่ า นลอยขึ้ น ไปจนผิ ด สั ง เกต เวลาท่ า นนั่ ง สมาธิ อ ยู่ ท่ า นเอง
เกิดความแปลกใจในขณะนั้นว่า “ตัวเราถูาจะลอยขึ้นจากพื้น
แน่ ๆ” เลยลืมตาขึ้นดูตัวเอง ขณะนั้นจิตท่านถอนออกจาก
สมาธิพอดี เพราะพะวักพะวงกับเรื่องตัวลอย ท่านเลยตกลง
มากูนกระแทกกับพื้นอย่างแรง ตูองเจ็บเอวอยู่หลายวัน ความ
จริงตัวท่านลอยขึ้นจากพื้นจริง ๆ สูงประมาณ ๑ เมตร ขณะที่
ท่านลืมตาดูตัวเองนั้น จิตไดูถอนออกจากสมาธิ จึงไม่มีสติพอ
ยับยั้งไวูบูาง จึงท้า ใหูท่านตกลงสู่พ้ ืนอย่างแรง เช่นเดียวกับ
สิ่งต่าง ๆ ตกลงจากที่สูง ในคราวต่อไป เวลาท่านนั่งสมาธิ พอ
รููสึกตัวท่านลอยขึ้นจากพื้น ท่านพยายามท้า สติใหูอยู่ในองค์
ของสมาธิ แลูวค่อย ๆ ลืมตาขึ้นดูตัวเอง ก็ประจักษ์ว่า ตัวท่าน
ลอยขึ้นจริง ๆ แต่มิไดูตกลงสู่พ้ ืนเหมือนคราวแรก เพราะท่าน
มิไดูปราศจากสติและคอยประคองใจใหูอยู่ในองค์สมาธิ ท่าน
จึงรููเรื่องของท่านไดูดี
ท่านเป็ นคนละเอียดถี่ถูวนอยู่มาก แมูจะเห็นดูวยตาแลูว
ท่านยังไม่แน่ ใจ ตูองเอาวัตถุชิ้นเล็ก ๆ ขึ้นไปเหน็ บไวูบนหญูา
หลังกุฏิ แลูวกลับมาท้าสมาธิอีก พอจิตสงบและตัวเริ่มลอยขึ้น
ไปอีก ท่านพยายามประคองจิตใหูม่ันอยู่ในสมาธิ เพื่อตัวจะไดู
ลอยขึ้นไปจนถึงวัตถุเครื่องหมายที่ท่านน้าขึ้นไปเหน็ บไวู แลูว
ค่อ ย ๆ เอื้อมมื อจั บดู วยความมีส ติ แลู วน้า วั ตถุน้ั น ลงมาโดย
ทางสมาธิภาวนา คือพอหยิบไดูวัตถุน้ันแลูวก็ค่อย ๆ ถอนจิต
ออกจากสมาธิ เพื่ อกายจะไดู ค่ อ ย ๆ ลงมาจนถึ ง พื้ นอย่ า ง
ปลอดภัย แต่ไม่ถึงกับใหูจิตถอนออกจากสมาธิจริง ๆ เมื่อไดู
ทดลองจนเป็ นที่แน่ ใจแลูว ท่านจึงเชื่อตัวเองว่าตัวท่านลอยขึ้น
ไดูจริงในเวลาเขูาสมาธิในบางครั้ง แต่มิไดูลอยขึ้นเสมอไป นี้

ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 17
18

เป็ นจริ ต นิ สั ย แห่ ง จิ ต ของท่ า นพระอาจารย์ เ สาร์ รูู สึ ก ผิ ด กั บ


นิ สัยของท่านพระอาจารย์ม่ันอยู่มากในปฏิปทาทางใจ
จิตของท่านพระอาจารย์ เสาร์ เป็ นไปอย่า งเรีย บ ๆ สงบ
เย็นโดยสม้่าเสมอ นับแต่ข้ันเริ่มแรกจนถึงสุดทูายปลายแดน
แห่ ง ปฏิ ป ทาของท่ า น ไม่ ค่ อ ยล่ อ แหลมต่ อ อั น ตราย และไม่
ค่ อ ยมี อุ บ ายต่ า ง ๆ และความรูู แ ปลก ๆ เหมื อ นจิ ต ท่ า นพระ
อาจารย์ม่ัน
ท่ านเล่ า ว่ า ท่ า นพระอาจารย์ เ สาร์ เดิ ม ท่ า นปรารถนา
เป็ นพระปั จเจกพุท ธเจูา เวลาออกบ้า เพ็ ญ พอเร่ ง ความเพี ย ร
เขู า มาก ๆ ใจรูู สึ ก ประหวั ด ๆ ถึ ง ความปรารถนาเดิ ม เพื่ อ
ความเป็ นพระปั จเจกพุทธเจูา แสดงออกเป็ นเชิงอาลัยเสียดาย
ยังไม่อยากไปนิ พพาน ท่านเห็นว่าเป็ นอุปสรรคต่อความเพียร
เพื่ อความรูู แ จู ง ซึ่ ง พระนิ พพานในชาติ ปั จจุ บั น นี้ ท่ า นเลย
อธิษฐานของดจากความปรารถนานั้น และขอประมวลมาเพื่อ
ความรููแจูงซึ่งพระนิ พพานในชาติน้ี ไม่ขอเกิดมารับความทุกข์
ทรมานในภพชาติ ต่ า ง ๆ อี ก ต่ อ ไป พอท่ า นปล่ อ ยวางความ
ปรารถนาเดิมแลูว การบ้าเพ็ญเพียรรููสึกสะดวกแลเห็นผลไป
โดยล้า ดั บ ไม่ มี อ ารมณ์ เ ครื่ องเกาะเกี่ ยวเหมื อ นแต่ ก่ อ น
สุ ด ทู า ยท่ า นก็ บ รรลุ ถึ ง แดนแห่ ง ความเกษมดั ง ใจหมาย แต่
การแนะน้า สั่งสอนผููอ่ ืน ท่านไม่ค่ อยมีค วามรูู แตกฉานกวูา ง
ขวางนัก ทั้งนี้ อาจจะเป็ นไปตามภูมินิสัยเดิมของท่านที่มุ่งเป็ น
พระปั จเจกพุทธเจูา ซึ่งตรัสรููเองชอบ แต่ไม่สนใจสั่งสอนใคร
ก็ ไ ดู อี ก ประการหนึ่ ง ที่ ท่ า นกลั บ ความปรารถนาไดู ส้า เร็ จ
ตามใจนั้น คงอยู่ในขั้นพอแกูไขไดู ซึ่งยังไม่สมบูรณ์เต็มภูมิแทู

แมูท่านพระอาจารย์ม่ั นเอง ตามท่ านเล่า ว่ าท่ านก็เคย


ปรารถนาพุทธภูมิมาแลูวเช่นเดียวกัน ท่านเพิ่งมากลับความ
ปรารถนาเมื่ อออกบ้า เพ็ ญ ธุ ด งคกรรมฐานนี่ เ อง โดยเห็ น ว่ า
เนิ่ น นานเกิ น ไปกว่ า จะไดู ส้า เร็ จ เป็ นพระพุ ท ธเจู า ขึ้ น มาตาม
ความปรารถนา จ้า ตู อ งท่ อ งเที่ ย วเกิ ด แก่ เจ็ บ ตายอยู่ ใ น
วัฏสงสารหลายกัปหลายกัลป์ ไม่ชนะจะแบกขนทนความทุกข์
ทรมานไม่มีวันจบสิ้นนี้ ไดู เวลาเร่งความเพียรมาก ๆ จิตท่าน
มี ป ระหวั ด ประหวั ด ในความหลั ง แสดงเป็ นความอาลั ย
เสียดายความเป็ นพระพุทธเจูา ยั งไม่อ ยากนิ พพานในชาติ น้ี
เหมื อ นท่ า นพระอาจารย์ เ สาร์ พออธิ ษ ฐานของดจากความ
ปรารถนาเดิมเท่านั้ น รููสึกเบาใจหายห่วง และบ้า เพ็ญธรรม
ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 18
19

ไดูรับความสะดวกไปโดยล้าดับ ไม่ขัดขูองเหมือนแต่ก่อน และ


ปรากฏว่า ท่านผ่านความปรารถนาเดิมไปไดูอย่างราบรื่นชื่น
ใจ เขูาใจว่าภูมิแห่งความปรารถนาเดิมคงยังไม่แก่กลูาพอ จึง
มีทางแยกตัวผ่านไปไดู
เวลาท่านออกเที่ยวธุดงคกรรมฐานทางภาคอีสานตาม
จั ง หวั ด ต่ า ง ๆ ในระยะตู น วั ย ท่ า นมั ก จะไปกั บ ท่ า นพระ
อาจารย์เสาร์เสมอ แมูความรููทางภายในจะมีแตกต่างกันบูาง
ตามนิ สัย แต่ก็ชอบไปดูวยกัน ส้า หรับท่านพระอาจารย์เสาร์
ท่านเป็ นคนไม่ชอบพูด ไม่ชอบเทศน์ ไม่ชอบมีความรููแปลก ๆ
ต่ า ง ๆ กวนใจเหมื อ นท่ า นพระอาจารย์ ม่ั น เวลาจ้า เป็ นตู อ ง
เทศน์ท่านก็เทศน์เพียงประโยคหนึ่ งหรือสองเท่านั้น แลูวก็ลง
ธรรมาสน์ไปเสีย ประโยคธรรมที่ท่านเทศน์ซึ่งพอจับใจความ
ไดู ว่ า “ ให้ พ ากั น ละบาปและบำา เพ็ ญ บุ ญ อย่ า ให้ เ สี ย ชี วิ ต ลม
หายใจไปเปล่าที่ได้มีวาสนามาเกิดเป็ นมนุษย์” และ “เราเกิด
เป็ นมนุ ษ ย์ มี ค วามสู ง ศั ก ดิ ม
์ าก แต่ อ ย่ า นำา เรื่ องของสั ต ว์ ม า
ประพฤติ มนุษย์ของเราจะตำ่าลงกว่าสัตว์ และจะเลวกว่าสัตว์
อีกมาก เวลาตกนรกจะตกหลุมที่ร้อนกว่าสัตว์มากมาย อย่า
พากันทำา” แลูวก็ลงธรรมาสน์ไปกุฏิ โดยไม่สนใจกับใครต่อไป
อีก
ปกตินิสัยของท่านเป็ นคนไม่ชอบพูด พูดนูอยที่สุด ทั้งวัน
ไม่พูดอะไรกับใครเกิน ๒-๓ ประโยค เวลานั่งก็ทนทาน นั่งอยู่
ไดูเป็ นเวลาหลาย ๆ ชั่วโมง เดินก็ท้านองเดียวกัน แต่ลักษณะ
ท่ า ทางของท่ า นมี ค วามสง่ า ผ่ า เผย น่ า เคารพเลื่ อมใสมาก
มองเห็นท่านแลูวเย็นตาเย็นใจไปหลายวัน ประชาชนและพระ
เณรเคารพเลื่ อมใสท่ านมาก ท่ า นมี ลู ก ศิ ษ ย์ ม ากมายเหมื อ น
ท่านพระอาจารย์ม่ัน
ทราบว่า ท่านพระอาจารย์ท้ังสององค์น้ี รักและเคารพกัน
มาก ในระยะวั ย ตู น ไปที่ ไ หนท่ า นชอบไปดู ว ยกั น อยู่ ดู ว ยกั น
ทั้ ง ในและนอกพรรษา พอมาถึ ง วั ย กลางผ่ า นไป เวลาพั ก จ้า
พรรษามักแยกกันอยู่ แต่ไม่ห่างไกลกันนั ก พอไปมาหาสู่กัน
ไดู ส ะดวก มี นู อ ยครั้ ง ที่ จ้า พรรษาร่ ว มกั น ทั้ ง นี้ อาจเกี่ ย วกั บ
บรรดาศิ ษ ย์ ซึ่ ง ต่ า งฝ่ ายต่ า งก็ มี ม ากดู ว ยกั น และต่ า งก็ เ พิ่ ม
จ้านวนมากขึ้นทุกที ถูาจ้าพรรษาร่วมกันจะเป็ นความล้าบาก
ในการจัดที่พก ั อาศัย จ้าตูองแยกกันอยู่เพื่อเบาภาระในการจัด
ที่ พั ก อาศั ย ไปบู า ง ทั้ ง สองพระอาจารย์ ข ณะที่ แ ยกกั น อยู่ จ้า
พรรษาหรื อ นอกพรรษา รูู สึ ก คิ ด ถึ ง กั น มากและเป็ นห่ ว งกั น
ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 19
20

มาก เวลามีพระที่เป็ นลูกศิษย์ของแต่ละฝ่ ายมากราบนมัสการ


จะมากราบนมั ส การท่ า นพระอาจารย์ เ สาร์ ห รื อ มากราบ
นมัสการท่านพระอาจารย์ม่ัน ต่างจะตูองถามถึงความสุขทุกข์
ของกันและกันก่อนเรื่องอื่น ๆ จากนั้นก็บอกกับพระที่มากราบ
ว่ า “ คิ ด ถึ ง ท่ า นพระอาจารย์ ……… ” และฝากความเคารพ
คิ ด ถึ ง ไปกั บ พระลู ก ศิ ษ ย์ ท่ี มากราบเยี่ ยมตามสมควรแก่
“อาวุโส ภันเต” ทุก ๆ ครั้งที่พระมากราบพระอาจารย์ท้ังสอง
แต่ละองค์
ท่านมีความเคารพในคุณธรรมของกันและกันมาก ไม่ว่า
จะอยู่ใกลูหรืออยู่ไกล เวลาพระอาจารย์ท้ังสององค์ใดองค์หนึ่ ง
พูดปรารภถึงกันและกันใหูบรรดาลูกศิษย์ฟัง จะมีแต่ค้าที่เต็ม
ไปดูวยความเคารพและความยกยอสรรเสริญโดยถ่า ยเดียว
ไม่เคยมีแมูค้าเชิงต้าหนิ แฝงขึ้นมาบูางเลย
ท่ า นพระอาจารย์ ม่ั น เล่ า ใหู ฟั งว่ า ที่ ท่ า นพระอาจารย์
เสาร์ว่าใหูท่านว่า จิตท่านเป็ นจิตที่โลดโผนมาก รููอะไรขึ้นมา
แต่ ล ะครั้ ง มั น ไม่ พ อดี เ ลย เดี ๋ย วจะเหาะเหิ น เดิ น ฟู า เดี ๋ย วจะ
ด้า ดิน เดีย ๋ วจะด้า น้้ าขูามทะเลนั้ น ท่านว่าเป็ นความจริงดังที่
ท่านพระอาจารย์เสาร์ต้าหนิ เพราะจิตท่านเป็ นเช่นนั้นจริง ๆ
เวลารวมสงบลงแต่ล ะครั้ ง แมูแต่ ข้ัน เริ่ มแรกบ้า เพ็ ญยั งออก
เที่ ย วรูู เ ห็ น อะไรต่ าง ๆ ทั้ ง ที่ ท่ า นไม่ เ คยคาดฝั นว่ า จะเป็ นไดู
เช่นนั้น เช่น ออกรููเห็นคนตายต่อหนูาและเพ่งพิจารณาจนคน
ตายนั้นกลายเป็ นวงแกูว และเกิดความรููความเห็นแตกแขนง
ออกไปไม่มีสิ้นสุด ดังที่เขียนไวูในเบื้องตูน เวลาปฏิบัติท่ีเขูาใจ
ว่าถูกทางแลูว ขณะที่จิตรวมสงบตัวลงก็ยังอดจะออกรููส่ิงต่าง
ๆ มิไดู บางทีตัวเหาะลอยขึ้นไปบนอากาศและเที่ยวชมสวรรค์
วิมาน กว่าจะลงมาก็กินเวลาหลายชั่วโมง และมุดลงไปใตูดิน
คูนดูนรกหลุมต่าง ๆ และปลงธรรมสังเวชกับพวกสัตว์นรกที่มี
กรรมต่าง ๆ กันเสวยวิบากทุกข์ของตน ๆ อยู่ จนลืมเวล้่าเวลา
ไปก็ มี เพราะเวลานั้ น ยั ง ไม่ แ น่ ว่ า จะเป็ นความจริ ง เพี ย งไร
เรื่ องท้า นองนี้ ท่ า นว่ า จะพิ จ ารณาต่ อ เมื่ อจิ ต มี ค วามช้า นาญ
แลู ว จึ ง จะรูู เ หตุ ผ ลผิ ด -ถู ก ดี -ชั่ ว ไดู อ ย่ า งชั ด เจนและอย่ า ง
แม่นย้า พอเผลอนิ ด ขณะที่ จิต รวมลงและพั กอยู่ ก็ มีท างออก
ไปรููกับสิ่งภายนอกอีกจนไดู แมูเวลามีความช้า นาญและรููวิธี
ปฏิบัติไดูดีพอสมควรแลูว ถูาปล่อยใหูออกรููส่ิงต่าง ๆ จิตย่อม
จะออกรููอย่างรวดเร็ว

ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 20
21

ระยะเริ่มแรกที่ ท่านยัง ไม่ เขู าใจและช้า นาญต่ อ การเขู า


ออกของจิ ต ซึ่ ง มี นิ สั ย ชอบออกรูู ส่ิ ง ต่ า ง ๆ นั้ น ท่ า นเล่ า ว่ า
เวลาบังคับจิตใหูพิจารณาลงในร่างกายส่วนล่าง แทนที่จิตจะรูู
ลงไปตามร่างกายส่วนต่าง ๆ จนถึงพื้นเทูา แต่จิตกลับพุ่งตัว
เลยร่ างกายส่ ว นต้่ าลงไปใตู ดิน และทะลุ ดิ น ลงไปใตู พ้ ื นพิ ภ พ
ดั ง ท่ านพระอาจารย์ เ สาร์ ว่ า ใหู จ ริ ง ๆ พอรี บ ฉุ ด ยู อ นคื น มาสู่
กายก็ ก ลั บ พุ่ ง ขึ้ น ไปบนอากาศ แลู ว เดิ น จงกรมไป-มาอยู่ บ น
อากาศอย่างสบาย ไม่สนใจว่าจะลงมาสู่ร่างกายเลย ตู องใชู
สติ บั ง คั บ อย่ า งเขู ม แข็ ง ถึ ง จะยอมลงมาเขู า สู่ ร่ า งกายและ
ท้างานตามค้าสั่ง การรวมสงบตัวลงในระยะนั้นก็รวมลงอย่าง
รวดเร็ ว เหมื อ นคนตกเหวตกบ่ อ จนสติ ต ามไม่ ทั น และอยู่ ไ ดู
เพียงขณะเดียวก็ถ อนออกมาขั้ นอุ ป จาระแลู วออกรูู ส่ิง ต่า ง ๆ
ไม่มีประมาณ รููสึกร้าคาญต่อความรููความเห็นของจิตประเภท
นี้ อย่างมากมาย
ถู า จะบั ง คั บ ไม่ ใ หู อ อกและไม่ ใ หู รู ก็ ไ ม่ มี อุ บ ายปั ญญาจะ
บังคับไดู เพราะจิตมีความรวดเร็วเกินกว่า สติปัญญาจะตาม
รููทัน จึงท้า ใหูหนักใจและกระวนกระวายในบางครั้ง แบบคิด
ไม่ อ อกบอกใครไม่ ไ ดู เ พราะเป็ นเรื่ องภายใน ตู อ งใชู ก าร
ทดสอบดูวยสติปัญญาอย่างเขูมงวดกวดขัน กว่าจะรููวิธีปฏิบัติ
ต่อจิตดวงผาดโผนในการออกรููส่ิงต่าง ๆ ไม่มีประมาณนี้ ก็นับ
ว่าเป็ นทุกข์เอาการอยู่ แต่เวลารููวิธีปฏิบัติรักษาแลูว รููสึกว่า
คล่ อ งแคล่ ว ว่ องไว และไดู ผ ลกวู า งขวางทั้ ง รวดเร็ ว ทั น ใจต่ อ
ภายในภายนอก เวลามี ส ติ ปัญญารูู เ ท่ า ทั น จนกลมกลื น เป็ น
อันหนึ่ งอันเดียวกันแลูว จิตดวงนี้ จึงกลายเป็ นแกูวสารพัดนึ ก
ขึ้นมา เพราะทันกับเหตุการณ์ท่ีเกิดกับตนไม่มีขอบเขต
พระอาจารย์ ม่ั น ท่ า นมี นิ สั ย องอาจกลู า หาญและฉลาด
แหลมคม อุบายวิธีฝึกทรมานตนก็ผิดกั บผูู อ่ ืนอยู่ มาก ยากที่
จะยึ ดไดูตามแบบฉบั บของท่ า นจริ ง ๆ ผูู เ ขี ย นอยากจะพู ด ใหู
สมใจที่ เ ฝู าดู ท่ า นตลอดมาว่ า ท่ า นเป็ นนิ สั ย อาชาไนย ใจ
ว่องไวและผาดโผน การฝึ กทรมานก็เด็ดเดี่ยว เฉี ยบขาดเท่า
เที ย มกั น อุ บ ายฝึ กทรมานมี ช นิ ดแปลก ๆ แยบคาย ทั้ ง วิ ธี
ขู่เข็ญและปลอบโยนตามเหตุการณ์ท่ีควรแก่จิตดวงมีเชาวน์
เร็วแกมพยศ ซึ่งคอยแต่จะน้าเรื่องเขูามาทับถมโจมตีเจูาของ
อยู่ทุกขณะที่เผลอตัว
ท่านเล่าว่า เรื่องที่ท้า ใหูท่านไดูรับความล้า บากหนั กใจ
เหล่ า นี้ เพราะไม่ มี ผู ค อยใหู อุ บ ายแนะน้า นั่ น เอง พยายาม
ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 21
22

ตะเกียกตะกายปลุกปล้้าใจดวงพยศโดยล้า พังคนเดียว แบบ


เอาหัวชนภูเขาทั้งลูกเอาเลย ไม่มีอุบายต่าง ๆ ที่แน่ ใจมาจาก
ครูอาจารย์บูางเลย พอเป็ นเครื่ องมือ ช่ว ยสนั บ สนุ นเหมื อนผูู
อื่ นท่ านท้า กัน ทั้งนี้ ท่านพู ดเพื่อตักเตื อนบรรดาลู ก ศิ ษ ย์ ท่ี ม า
รับการศึกษากับท่านไม่ใหูประมาทนอนใจ เวลาเกิดอะไรขึ้น
มาจากสมาธิภ าวนาท่านจะไดูช่วยชี้แ จง ไม่ตูอ งเสี ย เวลาไป
นานดังที่ท่านเคยเป็ นมาแลูว
เวลาท่านออกปฏิบัติเบื้องตูน ท่านว่าท่านไปทางจังหวัด
นครพนมและขู า มไปเที่ ย วทางฝั่ งแม่ น้ าโขง บ้า เพ็ ญ สมณ
ธรรมอยู่แถบท่าแขก ตามป่ าและภูเขา ท่านไดูรับความสงบ
สุ ข ทางใจมากพอควรในป่ าและภู เ ขาแถบนั้ น ท่ า นเล่ า ว่ า มี
สัตว์เสือชุกชุมมาก เฉพาะเสือทางฝั่ งโนูนรููสึกดุรูายกว่าเสือ
ทางเมืองไทยเราอยู่มากเป็ นพิเศษ เนื่ องจากเสือทางฝั่ งโนูน
เคยดักซุ่มกัดกินคนญวนอยู่เสมอมิไดูขาด มีข่าวอยู่บ่อย ๆ แต่
คนญวนไม่ค่อยกลัวเสือมากเหมือนคนลาวและคนไทยเรานัก
และไม่ค่อยเข็ดหลาบและกลัวเสืออยู่นานทั้ง ๆ ที่เคยเห็นเสือ
กัดและกินคนอยู่เสมอ และเห็นมันโดดมากัดเอาเพื่อนที่ไปป่ า
ดูวยกันไปกินต่อหนูาต่อตาอย่างวันนี้ แต่พอวันหลังคนญวน
ยังกลูาพากันเขูาไปป่ าที่มีเสือชุมเพื่อหาอยู่หากินไดูอีกอย่าง
ธรรมดา ไม่ต่ ืนเตูนตกใจกลัวและเล่าลือกันเหมือนคนลาวและ
คนไทยเรา ทั้งนี้ อาจจะเป็ นเพราะความเคยชินของเขาก็เป็ น
ไดู
ท่านเล่าว่า คนญวนนี้ แปลกอยู่อย่างหนึ่ ง เวลาเห็นเสือ
โดดมากัดเพื่อนที่ไปดูวยกันหลายคนไปกินก็ไม่มีใครที่จะช่วย
เหลือกันดูวยวิธีต่าง ๆ บูางเลย ต่างคนต่างวิ่งหนี เอาตัวรอด
ไม่สนใจในการช่วยเหลือ เวลาไปนอนคูางคืนในป่ าหลายคน
ดูวยกัน ตกกลางคืนถูกเสือโดดมากัดและคาบเอาเพื่อนคนใด
คนหนึ่ ง ไปกิ น พวกที่ น อนอยู่ ดู ว ยกั น ไดู ยิ น เสี ย งตกใจตื่ นขึ้ น
เห็นเหตุการณ์แลูว ต่างก็ว่ิงหนี ไปหาที่นอนใหม่ซึ่งอยู่ใกลูกับ
บริเวณนั้นเอง ความรููสึกเขาเหมือนเด็ก ๆ ในเรื่องเช่นนี้ ไม่มี
ความคิดอ่านใด ๆ ที่แยบคายไปกว่านี้ เลย ท้าเหมือนเสือโคร่ง
ใหญ่ท้ังตัวที่เคยกินคนมาแลูวอย่างช้า นาญไม่มีหูไม่มีตาและ
ไม่มีหัวใจเอาเลย
เรื่องคนพรรค์น้ี ผููเขียนเองก็พอรููเรื่องที่เขาไม่ค่อยกลัว
เสือมาบูางพอควร คือเวลาเขามาพักอาศัยในบูานเมืองเราที่
เป็ นป่ ารกชัฏและมีสัตว์เสือชุกชุม เวลาเขาพากันไปนอนคูาง
คืนเลื่อยไมูอยู่ในป่ าลึก ซึ่งอยู่ห่างไกลจากหมู่บูานมากและมี
ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 22
23

เสื อชุ ม เขาไม่ เห็ นแสดงอาการหวาดกลั วบู างเลย แมูเ ขาจะ


นอนอยู่ ดู ว ยกั น หลายคนหรื อ คนเดี ย ว เขาก็ น อนไดู อ ย่ า ง
สบายไม่ ก ลั ว อะไร ถู า เขาตู อ งการจะเขู า มาในหมู่ บู า นเวลา
ค้่ าคื น เขาก็ ม าไดู ไม่ ตู อ งหาเพื่ อนฝู ง มาดู ว ย อยากกลั บ ไป
ที่พักเวลาใดก็กลับไปไดู เวลาถูกถามว่าไม่กลัวเสือบูางหรือ?
เขาก็ตอบว่าไม่กลัว เพราะเสือเมืองไทยไม่กินคนและยิ่งกลัว
คนดูวยซ้้า ไม่เหมือนเสือเมืองเขาซึ่งมีแต่ตัวใหญ่ ๆ และชอบ
กินคนแทบทั้งนั้น
เมื อ งเขาบางแห่ ง เวลาเขู า ป่ าตู อ งท้า คอกนอนเหมื อ น
คอกหมู ไม่ เ ช่ น นั้ น เสื อ มาเอาไปกิ น ไม่ ไ ดู ก ลั บ บู า น แมู บ าง
หมู่บูานที่เสือดุมาก เวลากลางคืนผููคนออกมานอกบูานเรือน
ไม่ไดู เสือโดดมาเอาไปกินเลยไม่มีเหลือ เขายังกลับว่าใหูเรา
อีกดูวยว่า คนไทยขี้กลัวมาก จะไปป่ าก็แห่แหนกันไปไม่กลูา
ไปคนเดียว ที่ท่านพระอาจารย์ม่ันว่าคนญวนไม่ค่อยกลัวเสือ
นั้นคงจะเป็ นในท้านองนี้ ก็ไดู เวลาท่านไปพักอยู่ท่ีน้ันก็ไม่ค่อย
เห็นเสือมารบกวน เห็นแต่รอยมันเดินผ่านไปมาและส่งเสียง
รูองครางไปตามภาษาของสัตว์ท่ีมีปาก และรูองครวญคราง
ไดู เ ท่ า นั้ น ในบางคื น แต่ เ ขารู อ ง มิ ไ ดู ค้า รามใหู เ รากลั ว หรื อ
แสดงท่าทางจะกัดกินเป็ นอาหาร
เฉพาะองค์ท่านเองรููสึกจะไม่ค่อยสนใจกับความกลัวสัตว์
เสืออะไร มากไปกว่าความกลัวจะไม่หลุดพูนจากกองทุกข์ ถึง
บรมสุ ข คื อ พระนิ พ พานในชาติ น้ี ทั้ ง นี้ ทราบจากท่ า นเล่ า ถึ ง
การขู า มไปฝั่ งแม่ น้ าโขงฟากโนู น และขู า มมาฝั่ งฟากนี้ เพื่ อ
การบ้าเพ็ญเพียรอย่างเอาจริงเอาจัง ท้าใหูเห็นว่าท่านถือเป็ น
ธรรมดาในการไป-มา เพราะไม่ เ ห็ น ท่ า นน้า เรื่ องความกลั ว
ของท่ า นมาเล่ า ใหู ฟั ง ถู า เป็ นผูู เ ขี ย นไปเจอเอาที่ เ ช่ น นั้ น เขู า
บูาง น่ ากลัวชาวบูานแถบนั้นจะพากันกลายเป็ นต้า รวจรักษา
พระธุดงค์ข้ีขลาดไม่เป็ นท่ากันทั้งบูานโดยไม่ตูองสงสัย เพียง
ไดูยินเสียงเสือกระหึ่มในบางครั้งยังชักใจไม่ดี เดินจงกรมก็ยัง
ถอยหนูาถอยหลังกูาวขาไม่ค่อยออก และเดินไม่ถึงที่สุดทาง
จงกรมอยู่แลูว เผื่อไปเจอเอาเรื่องดังที่ว่านั้น จึงน่ ากลัวธรรม
แตกมากกว่าสิ่งอื่น ๆ จะแตก เพราะนั บแต่วันรููความมา พ่อ
แม่และชาวบูานก็เคยพูดกันทั่วแผ่นดินว่าเสือเป็ นสัตว์ดุรูาย
ซึ่ ง เป็ นเรื่ องฝั งใจจนถอนไม่ ขึ้ น ตลอดมา จะไม่ ใ หู ก ลั ว นั้ น

ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 23
24

ส้าหรับผููเขียนจึงเป็ นไปไม่ไดูเอาเลย และยอมสารภาพตลอด


ไป ไม่มีทางต่อสูู
พระอาจารย์ม่ันท่านไดูเที่ยวจาริกไปตามจังหวัดต่าง ๆ
มี น ครพนม เป็ นตู น ทางภาคอี ส านนานพอสมควรสมั ย ออก
ปฏิบัติเบื้องตูน จนจิตมีก้าลังพอตูานทานอารมณ์ภายในที่เคย
ผาดโผนมาประจ้าใจและอารมณ์ภายนอกไดูบูางแลูว ก็เที่ยว
จาริ ก ลงไปทางภาคกลาง จ้า พรรษาที่ วั ด ปทุ ม วั น พระ
นครฯ ระยะที่จ้า พรรษาอยู่วัดปทุมวันก็ไ ดูพ ยายามมาศึ กษา
อบรมอุบายปั ญญาเพิ่มเติมกับท่านเจูาคุณพระอุบาลีคุณูปมา
จารย์ (สิริจันโท) ที่วัดบรมนิ วาสมิไดูขาด
พอออกพรรษาแลูว ท่านก็ออกเที่ยวจาริกไปทางจังหวัด
ลพบุรี พักอยู่ถ้ าไผ่ขวาง เขาพระงามบูาง ถ้้าสิงโตบูาง ขณะ
ที่ พั ก อยู่ ไ ดู มี โ อกาสเร่ ง ความเพี ย รเต็ ม ก้า ลั ง ไม่ ข าดวรรค
ขาดตอน ใจรููสึกมีความอาจหาญต่อตนเองและมีส่ิงเกี่ยวขูอง
ต่าง ๆ ไม่พรั่นพรึงอย่างง่ายดาย สมาธิก็ม่ันคง อุบายปั ญญา
ก็เกิดขึ้นเรื่อย ๆ มองเห็นสิ่งต่าง ๆ เป็ นอรรถเป็ นธรรมไปโดย
ล้า ดั บ เวลามี โ อกาสก็ เ ขู า ไปกราบนมั ส การและเล่ า ธรรมะ
ถวาย และเรียนถามปั ญหาขูอขูองใจเกี่ยวกับอุบายปั ญญากับ
ท่ า นเจู า คุ ณ อุ บ าลี วั ด บรมนิ วาส ท่ า นก็ ไ ดู รั บ อธิ บ ายวิ ธี
พิจารณาปั ญญาเพิ่มเติมใหูจนเป็ นที่พอใจ แลูวกราบลาท่าน
ไปเที่ยววิเวกทางถ้้าสาริกา เขาใหญ่ จังหวัดนครนายก
ท่ า น เล่ า ว่ า เวล าพั ก อยู่ ถ้้ าส าริ ก า ๓ ปี ไ ดู ปร ะส บ
เหตุการณ์ต่าง ๆ หลายประการทั้งภายในและภายนอก แทบ
ตลอดเวลาที่พักอยู่ จนเป็ นที่สะดุดและฝั งใจตลอดมา คือ ขณะ
ที่ท่านไปถึงหมู่บูาน ถูาจ้า ไม่ผิดชื่อว่า “บูานกลูวย” ที่อยู่ใกลู
กั บ ถ้้ ามากกว่ า หมู่ บู า นอื่ น ๆ พอโคจรบิ ณ ฑบาตถึ ง สะดวก
ท่านขอวานใหูชาวบูานนั้นไปส่งที่ถ้ าดังกล่าว เพราะไม่เคยไป
ไม่รูหนทาง ชาวบูานก็เล่าเรื่องฤทธิเ์ ดชต่าง ๆ ของถ้้านั้ นใหู
ท่านฟั งว่า เป็ นถ้้าที่ส้าคัญอยู่มาก พระไม่ดีจริง ๆ ไปอยู่ไม่ไดู
ตูองเกิดเจ็บป่ วยต่าง ๆ และตายกันแทบไม่มีเหลือหลอลงมา
เพราะถ้้านี้ มีผีหลวงรูปร่างใหญ่และมีฤทธิม ์ ากรักษาอยู่ ผีตัว
นี้ ดุ รู า ยมาก ไม่ เ ลื อกพระเลื อ กใคร ถู า ไปอยู่ ถ้ านั้ น ตู อ งมี อั น
เป็ นไปอย่างคาดไม่ถึงและตายกันจริง ๆ ยิ่งพระองค์ใดที่อวด
ตัวว่ามีวิชาอาคมขลัง ๆ เก่ง ๆ ไม่กลัวผีแลูว ผีย่ิงชอบทดลอง
พระองค์น้ันตูองเกิดเจ็บขึ้นมาอย่างกะทันหัน และตายเร็วกว่า
ปกติธรรมดาที่ควรจะเป็ น ชาวบูานพรูอมกันนิ มนต์วิงวอนไม่
ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 24
25

อยากใหู ท่านขึ้ นไปอยู่ เพราะกลัว ท่า นจะตายเหมือ นพระทั้ง


หลายที่เคยเป็ นมาแลูว
ท่านสงสัยจึงถามเขาว่า ที่ว่าถ้้ามีฤทธิเ์ ดชต่าง ๆ และมี
ผีใหญ่ดุน้ั นมันเป็ นอย่างไร อาตมาอยากทราบบู าง เขาบอก
กั บ ท่ า นว่ า เวลาพระหรื อ ฆราวาสขึ้ น ไปพั ก ถ้้ านั้ น โดยมาก
เพียงคืนแรกก็เริ่ มเห็นฤทธิ บ ์ ูา งแลูว คือ เวลานอนหลั บ ไปจะ
ตู อ งมี ก ารละเมอเพู อ ฝั นไปต่ า ง ๆ โดยมี ผี รู ป ร่ า งด้า ใหญ่ โ ต
และสูงมากมาหา และจะเอาตัวไปบูาง จะมาฆ่าบูาง โดยบอก
ว่ า เขาเป็ นผูู รั ก ษาถ้้ านี้ ม านานแลู ว และเป็ นผูู มี อ้า นาจแต่ ผู
เดียวในเขตแขวงนั้น ไม่ยอมใหูใครมารุกล้้ากล้้ากรายไดู เขา
ตู อ งปราบปรามหรื อ ก้า จั ด ใหู เ ห็ น ฤทธิ ท ์ ั น ที ไม่ ย อมใหู ใ ครมี
อ้านาจเก่งกาจยิ่งกว่าเขาไปไดู นอกจากผููมีศีลธรรมอันดีงาม
และมี เ มตตาจิ ต คิ ด เผื่ อแผ่ กุ ศ ลแก่ บ รรดาสั ต ว์ ไม่ เ ป็ นผูู คั บ
แคบใจด้า และต้่ าทรามทางความประพฤติ เ ท่ า นั้ น เขาถึ ง จะ
ยินยอมใหูอยู่ไดู และเขาจะใหูความอารักขาดูวยดี พรู อมทั้ง
ความเคารพรักและนับถือดังนี้
ส่วนพระโดยมากที่ไปอยู่กันไม่ค่อยมีความผาสุกและอยู่
ไม่ ไ ดู น าน ตู อ งรี บ ลงมา หรื อ ตู อ งตาย เท่ า ที่ เ ห็ น มาก็ เ ป็ น
ท้านองนี้ จริง ๆ ใครไปอยู่ไม่ค่อยจะไดู เพียงคืนเดียวหรือสอง
คืนก็เห็นรีบลงมาดูวยท่าทางที่น่ากลัวหรือตัวสั่นแทบไม่มีสติ
อยู่ กั บ ตั ว และพู ด เรื่ องผี ดุ อ อกมาโดยที่ ยั ง ไม่ มี ใ ครถามเลย
แลูวก็รีบหนี ไปดูวยความกลัวและเข็ดหลาบ ไม่คิดว่าจะกลับ
คืนมาถ้้านี้ อีกไดูเลย ยิ่งกว่านั้น ขึ้นไปแลูวก็อยู่ท่ีน้ันเลย ไม่มี
วันกลับลงมาเห็นหนูามนุษย์มนาอีกต่อไปเลยท่าน ฉะนั้น จึง
ไม่อยากใหูท่านขึ้นไป กลัวว่าจะอยู่ท่ีน้ันเลย
ท่ า นพระอาจารย์ จึ ง ถามว่ า ที่ ว่ า ขึ้ น ไปอยู่ เ ลยไม่ ล งมา
เห็นหนูามนุษย์น้ันขึ้นไปอย่างไรกันถึงไม่ยอมลงมา เขาบอก
ว่าตายเลยท่าน จึงไม่มีทางที่จะลงมาไดู เมื่อเร็ว ๆ นี้ ก็มีพระ
มาตายอยู่ ใ นถ้้ านี้ ต้ั ง ๔ องค์ ลู ว นมี แต่ พ ระองค์ เ ก่ ง ๆ ทั้ ง นั้ น
เท่าที่พวกกระผมทราบจากพระท่านพูดใหูฟังว่า เรื่องผีท่าน
บอกว่ า ไม่ ก ลั ว เพราะท่ า นมี ค าถากั น ผี แ ละปราบผี ตลอด
คาถาอื่ น ๆ อี ก เยอะแยะ ผี เ ขู า ไม่ ถึ ง ท่ า น เมื่ อชาวบู า นบอก
เรื่องราวของถ้้าและผีดุใหูท่านฟั ง เพราะไม่อ ยากใหูท่ านขึ้น
ไป แต่ท่านกลับบอกว่าไม่กลัว และใหูญาติโยมพาท่านส่งขึ้น
ไปที่ ถ้ า ชาวบู านจ้า ตู องไปส่ ง ท่ า นไปอยู่ ท่ี น้ั น เมื่ อไปอยู่ แ ลู ว
ท้า ใหูเ ป็ นต่าง ๆ มี เจ็ บไขูบูาง ปวดศี ร ษะบู า ง เจ็ บ ทู อ งขึ้ น มา

ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 25
26

อย่างสด ๆ รูอน ๆ บูาง เวลานอนหลับเกิดละเมอเพูอฝั นไปว่า


มีคนจะมาเอาตัวไปบูาง จะมาฆ่าบูาง
แมูพระที่ขึ้นไปอยู่ในถ้้านั้นมิไดูไปพรูอมกัน ต่างองค์ต่าง
ไปคนละวันก็ตาม แต่อาการที่เป็ นขึ้นมีลักษณะคลูายคลึงกัน
บางองค์ก็ตายอยู่ในถ้้านั้น บางองค์ก็รีบลงจากถ้้าหนี ไป พระ
ที่ ม าตายอยู่ ใ นถ้้ านี้ ๔ องค์ ในระยะเวลาไม่ ห่ า งกั น เลย แต่
ท่านจะตายดูวยผีดุหรือตายดูวยอะไร ทางชาวบูานก็ไม่ทราบ
ไดู แต่เท่าที่เคยสังเกตมาถ้้านี้ รูสึกแรงมากอยู่ และเคยเป็ นมา
อย่างนี้ เสมอมา ชาวบูานแถบนี้ กลัวกันไม่กลูาไปทะลึ่งอวดดี
แต่ไหนแต่ไรมา กลัวจะถูกหามกันลงมาโดยอาการร่อแร่บูาง
โดยเป็ นศพที่ตายแลูวบูาง ท่านถามชาวบูานว่า เหตุการณ์ดัง
ที่ ว่ า นี้ เ คยมี ม าบู า งแลู ว หรื อ เขาเรี ย นท่ า นว่ า เคยมี จ นชาว
บู านทราบอย่ างฝั งใจและกลัว กัน ทั้ ง บู า น ทั้ งรี บ บอกกั บ พระ
หรื อ ใคร ๆ ที่ ม าถ้้ านี้ เ พื่ อตู อ งการของดี เช่ น เหล็ ก ไหลหรื อ
พระศักดิส ์ ิทธิอ
์ ะไรต่าง ๆ ซึ่งอาจมีหรือไม่มีก็ตาม แต่บางคนก็
ชอบประกาศโฆษณาว่ า มี ดั ง นั้ น จึ ง มั ก มี พ ระและคนที่ ช อบ
ทางนี้ มากันเสมอ แต่ก็ไม่เห็นไดูอะไรติดตัวไป นอกจากตาย
หรือ รอดตายไปเท่ านั้ น เฉพาะชาวบู า นนี้ ไ ม่ ป รากฏว่ า มี ใ คร
เคยไปเห็นเหล็กไหลหรือของดีอย่างอื่น ๆ ในถ้้านี้ เลย เรื่องก็
เป็ นดังที่เล่ามานี้ จึงไม่อยากใหูท่านขึ้นไป กลัวจะไม่ปลอดภัย
ดังที่เห็น ๆ มา
พอชาวบู านเล่ าเรื่ องจบลง ท่ า นพระอาจารย์ ยั ง ไม่ ห าย
สงสัยในความอยากไปชมถ้้านั้น ท่านอยากขึ้นไปทดลองดู จะ
เป็ นจะตายอย่างไรก็ขอใหูทราบดูวยตนเองจะเป็ นที่แน่ ใจกว่า
ค้า บอกเล่ า แมูเ ขาจะเล่ า เรื่ องผี ซึ่ ง เป็ นที่ น่ า กลั ว ใหู ฟั งก็ ต าม
แต่ใจท่านมิไดูมีความสะดูุงหวาดเสียวไปตามแมูนิดหนึ่ งเลย
ยิ่ ง เห็ น เป็ นเครื่ องเตื อ นสติ ใ หู ไ ดู ขูอ คิ ด มากมายยิ่ ง ขึ้ น และมี
ความอาจหาญที่จะเผชิญ ต่อ เหตุก ารณ์อ ยู่ทุก ขณะจิ ต สมกับ
เป็ นผูู มุ่ ง แสวงหาความจริ ง อย่ า งแทู จ ริ ง ท่ า นจึ ง พู ด กั บ ชาว
บูานเป็ นเชิงถ่อมตนว่า เรื่องนี้ เป็ นที่น่ากลัวจริง ๆ แต่อาตมา
คิดอยากไปชมถ้้าสักชั่วระยะหนึ่ ง หากเห็นท่าไม่ดีจะรีบลงมา
จึ ง ขอความกรุ ณ าโยมไปส่ ง อาตมาขึ้ น ไปอยู่ ถ้ านี้ สั ก พั ก หนึ่ ง
เถิ ด เพราะยั ง ไม่ ห ายสงสั ย ที่ อ ยากชมถ้้ านี้ ม านานแลู ว ฝ่ าย
ชาวบูานก็พากันตามส่งท่านขึ้นถ้้าตามความประสงค์

ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 26
27

เวลาท่านพักอยู่ในถ้้านี้ มีรูอะไรแปลก

ขณะที่พักอยู่ในถ้้านั้น ในระยะแรก ๆ รููสึกว่าธาตุขันธ์ทุก


ส่ ว นปกติ ดี จิ ต ใจก็ ส งบเยื อ กเย็ น เพราะเงี ย บสงั ด มาก ไม่ มี
อะไรมาพลุกพล่านก่อกวน นอกจากเสียงสัตว์ป่าชนิ ดต่าง ๆ ที่
พากั น เที่ ย วหากิ น ตามภาษาเขาเท่ า นั้ น ท่ า นรูู สึ ก เย็ น กาย
เย็นใจใน ๒-๓ คืนแรก พอคืนต่อไป โรคเจ็บทูองที่เคยเป็ นมา
ประจ้า ขัน ธ์ก็ ชัก จะก้า เริ บ และมี อ าการรุ น แรงขึ้ น เป็ นล้า ดั บ
จนถึงขั้นหนักมาก บางครั้ งเวลาไปสู วมถึงกั บถ่ ายเป็ นเลือ ด
ออกมาอย่ า งสด ๆ รู อ น ๆ ก็ มี ฉัน อะไรเขู า แลู ว ไม่ ย อมย่ อ ย
เอาเลย เขู าไปอย่ า งไรก็ สู ว มออกมาอย่ า งนั้ น ท้า ใหู ท่ า นคิ ด
วิ ต กถึ ง ค้า พู ด ของชาวบู า นที่ ว่ า มี พ ระมาตายที่ น่ี ๔ องค์ เรา
อาจเป็ นองค์ท่ี ๕ ก็ไดู ถูาไม่หาย
เวลามีโยมขึ้นไปถ้้าตอนเชูา ท่านก็พาโยมไปเที่ยวหายา
ที่เคยไดูผลมาแลูว มาตูมฉันบูาง ฝนใส่น้ าฉันบูาง เท่าที่ทราบ
เป็ นยาประเภทรากไมูแก่นไมู แต่ฉันยาประเภทใดลงไปก็ไม่
ปรากฏว่ า ไดู ผ ล โรคนั บ วั น รุ น แรงขึ้ น ทุ ก วั น ก้า ลั ง กายก็
อ่อนเพลียมาก ก้าลังใจก็ปรากฏว่าลดลงผิดปกติ แมูไม่มากก็
พอใหูท ราบไดู อย่ างชั ด เจน ขณะที่ น่ั ง ฉัน ยาไดู นึ ก วิ ตกขึ้ น มา
เป็ นเชิงเตือนตนใหูไดูสติ และปลุ กใจใหูกลั บมี ก้า ลัง เขู มแข็ง
ขึ้นมาว่า ยาที่เราฉันอยู่ขณะนี้ ถูาเป็ นยาช่วยระงับโรคไดูจริง
ก็ควรจะเห็นผลบูางแมูไม่มาก เพราะฉันยามาหลายเวลาแลูว
แต่โรคก็นับวันก้า เริบ หากยามีทางระงับไดูบูางท้า ไมโรคจึง
ไม่ ส งบ เห็ น ท่ า ยานี้ จ ะมิ ใ ช่ ย าเพื่ อระงั บ บ้า บั ด โรคเหมื อ นแต่
ก่ อ นเสี ย กระมั ง แต่ อ าจเป็ นยาประเภทช่ ว ยส่ ง เสริ ม โรคใหู
ก้า เริ บ แน่ น อนส้า หรั บ คราวนี้ โรคจึ ง นั บ วั น ก้า เริ บ ขึ้ น เป็ น
ล้าดับ เมื่อเป็ นเช่นนี้ เราจะพยายามฉันไปเพื่อประโยชน์อะไร
พอไดู ส ติ จ ากความวิ ต กวิ จ ารณ์ท่ี ผุ ด ขึ้ น มาในขณะนั้ น
แลู ว ท่ า นก็ ตั ด สิ น ใจและบอกกั บ ตั ว เองทั น ที ว่ า นั บ แต่ บั ด นี้
เป็ นตู น ไป เราจะระงั บ โรคพรรค์ น้ี ดู ว ยยาคื อ ธรรมโอสถ
เท่ า นั้ น จะหายก็ ห าย จะตายก็ ต าย เมื่ อสุ ด ก้า ลั ง ความ
สามารถในการเยีย วยาทุก วิถี ทางแลู ว ยาที่เ คยน้า มารั ก ษา
นั้นจะงดไวูจนกว่าโรคนี้ จะหายดูวยธรรมโอสถ หรือจนกว่าจะ
ตายในถ้้านี้ จะยังไม่ฉน ั ยาชนิ ดใด ๆ ในระยะนี้ แลูวก็เตือนตน
ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 27
28

ว่ า เราจะเป็ นพระทั้ ง องค์ ท่ี ไ ดู ป ฏิ บั ติ บ้า เพ็ ญ ทางใจมาพอ


สมควรจนเห็ น ผลและแน่ ใจต่ อ ทางด้า เนิ นเพื่ อมรรคผล
นิ พพานมาเป็ นล้า ดั บ ซึ่ ง ควรถื อ เป็ นหลั ก ยึ ด ของใจไดู พ อ
ป ร ะ ม า ณ อ ยู่ แ ลู ว ท้า ไ ม จ ะ ขี้ ข ล า ด อ่ อ น แ อ ใ น เ ว ล า เ กิ ด
ทุ ก ขเวทนาเพี ย งเท่ า นี้ ก็ เ พี ย งทุ ก ข์ เ กิ ด ขึ้ น เพราะโรคเป็ น
สาเหตุเพียงเล็กนูอยเท่านี้ เรายังสููไม่ไหว กลายเป็ นผููอ่อนแอ
กลายเป็ นผููพ่ายแพูอย่างยับเยินเสียแต่บัดนี้ แลูว เมื่อถึงคราว
จวนตัวจะชิงชัยเพื่อเอาแพูเอาชนะกันจริง ๆ คือ เวลาขันธ์จะ
แตก ธาตุจะสลาย ทุกข์ย่ิงจะโหมกันมาทับธาตุขันธ์และจิตใจ
จนไม่มีท่ีปลงวาง เราจะเอาก้าลังจากที่ไหนมาต่อสููเพื่อเอาตัว
รอดไปไดูโดยสุคโต ไม่เสียท่าเสียทีในสงครามลูางขันธ์เล่า?
พอท่ า นท้า ความเขู า ใจกั บ ตนเองอย่ า งแน่ ใ จและมั่ น ใจ
แลู ว ก็ ห ยุ ด จากฉั น ยาในเวลานั้ นทั น ที และเริ่ ม ท้า สมาธิ
ภาวนา เพื่อเป็ นโอสถบ้า บัดบรรเทาจิตใจและธาตุขันธ์ต่อไป
อย่ า งหนั ก แน่ น ทอดความอาลั ย เสี ย ดายในชี วิ ต ธาตุ ขั น ธ์
ปล่อยใหูเป็ นไปตามคติธรรมดา ท้าหนูาที่ห้ าหั่นจิตดวงไม่เคย
ตาย แต่ มี ค วามตายประจ้า นิ สั ย ลงไปอย่ า งเต็ ม ก้า ลั ง สติ
ปั ญญาศรัทธาความเพียรที่เคยอบรมมา โดยมิไดูสนใจค้านึ ง
ต่อโรคที่ก้าลังก้าเริบอยู่ภายใน ว่าจะหายหรือจะตายไปขณะ
ใดในเวลานั้ น หยั่งสติปัญญาลงในทุกขเวทนา แยกแยะส่วน
ต่าง ๆ ของธาตุขันธ์ออกพิจารณาดูวยปั ญญาไม่ลดละ คือ ยก
ทั้งส่วนรูปกาย ทั้งส่วนเวทนา คือ ทุกข์ภายใน ทั้งส่วนสัญญา
ที่หมายกายส่วนต่าง ๆ ว่าเป็ นทุกข์ ทั้งส่วนสังขารตัวปรุงแต่ง
ว่ า ส่ ว นนี้ เ ป็ นทุ ก ข์ ส่ว นนั้ น เป็ นทุ ก ข์ ขึ้ น สู่ เ ปู าหมายแห่ ง การ
พิจารณาของสติปัญญาผูู ด้า เนิ นงาน ท้า การขุด คูนคลี่ค ลาย
อย่ า งไม่ ห ยุ ด ยั้ ง แต่ เ วลาพลบค้่ าถึ ง เที่ ยงคื น คื อ ๒๔.๐๐
นาฬิ กา จึ ง ลงเอยกั น ไดู จิ ต มี ก้า ลั ง ขึ้ น มาอย่ า งประจั ก ษ์
สามารถคลี่คลายธาตุขันธ์จนรููแจูงตลอดทั่วถึงทุกขเวทนาที่
ก้า ลังก้า เริบขึ้นอย่างเต็มที่จากโรคในทู อง โรคก็ร ะงั บดั บลง
อย่างสนิ ท จิตรวมลงถึงที่ในขณะนั้น
ขณะนั้นโรคก็ดับ ทุกข์ก็ดับ ความฟู ุงซ่านของใจก็ดับ พอ
จิตรวมสงบลงถึงที่แลูว ถอนออกมาขั้นอุปจารสมาธิแลูว จิต
สว่ า งออกไปนอกกาย ปรากฏเห็ น บุ รุ ษ ผูู ห นึ่ ง มี ร่ า งใหญ่ ด้า
และสูงมากราว ๑๐ เมตร ถือตะบองเหล็กใหญ่เท่าขา ยาวราว
๒ วา เดินเขูามาหา และบอกกับท่านว่า “จะทุบตีท่านใหูจมลง

ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 28
29

ไปในดิน ถูาไม่หนี จะฆ่าใหูตายในบัดเดีย ๋ วใจ” ตามที่ผีบอกกับ


ท่านว่า “ตะบองเหล็กที่เขาแบกอยู่บนบ่านั้ น ตีชูางสารใหญ่
ตัวหนึ่ งเพียงหนเดียวเท่านั้น ชูางสารตูองจมลงไปในดินแบบ
จมมิดเลย โดยไม่ตูองตีซ้ าอีก” ท่านก้าหนดจิตถามผีร่างยักษ์
นั้ น ว่ า “ จะมาตี แ ละฆ่ าอาตมาท้า ไม อาตมามี ค วามผิ ด อะไร
บู า งถึ ง จะตู อ งถู ก ตี ถู ก ฆ่ า เล่ า ? การมาอยู่ ท่ี น้ี มิ ไ ดู ม ากดขี่
ข่ ม เหงหรื อ เบี ย ดเบี ย นใครใหู เ ดื อ ดรู อ น พอจะถู ก ใส่ ก รรม
ท้าโทษถึงขนาดตีและฆ่าใหูถึงตายเช่นนี้ ”
เขาบอกว่ า เขาเป็ นผูู มี อ้า นาจรั ก ษาภู เ ขาลู ก นี้ อยู่ น าน
แลู ว ไม่ ย อมใหู ใ ครมาอยู่ ค รองอ้า นาจเหนื อ ตนไปไดู ตู อ ง
ปราบปรามและก้า จั ด ทั น ที ท่ า นตอบว่ า “ก็ อ าตมามิ ไ ดู ม า
ครองอ้า นาจบนหั ว ใจใคร นอกไปจากมาปฏิ บั ติ บ้า เพ็ ญ ศี ล
ธรรมอันดีงามเพื่อครองอ้านาจเหนื อกิเลสบาปธรรมบนหัวใจ
ตนเท่านั้ น จึ งไม่สมควรอย่า งยิ่ งที่ ท่ า นจะมาเบี ย ดเบี ย นและ
ท้า ลายคนเช่ น อาตมา ซึ่ ง เป็ นนั ก บวชทรงศี ล และเป็ นศิ ษ ย์
ของพระพุ ท ธเจู า ผูู มี ใ จบริ สุ ท ธิ ์ และมี อ้า นาจในทางเมตตา
ครอบไตรโลกธาตุ ไม่มีใครเสมอเหมือน”
ท่ านซักถามและเทศน์ใ หู ผีร่ า งยั ก ษ์ฟั งเสีย ใหญ่ ใ นขณะ
นั้น ว่า “ถูาท่านเป็ นผููมีอ้านาจเก่งจริงดังที่อวดอูางแลูว ท่าน
มีอ้า นาจเหนื อกรรมและเหนื อธรรม อันเป็ นกฎใหญ่ปกครอง
มวลสั ต ว์ ใ นไตรภพดู ว ยหรื อ เปล่ า ?” เขาตอบว่ า ” เปล่ า ”
ท่านพูดว่าพระพุทธเจูาท่านเก่งกลูาสามารถปราบกิเลสตัวที่
คอยอวดอ้า นาจว่าตัวดีตัวเก่งอยู่ภายใน คิดอยากตีอยากฆ่า
คนอื่นสัตว์อ่ ืนใหูหมดสิ้นไปจากใจไดู ส่วนท่านที่ว่าเก่งไดูคิด
ปราบกิ เ ลสตั ว ดั ง กล่ าวใหู ห มดสิ้ น ไปบู า งหรื อ ยั ง เขาตอบว่ า
“ยังเลยท่าน” ท่านว่า ถูายัง ท่านก็มีอ้านาจไปในทางที่ท้าตน
ใหู เ ป็ นคนมื ด หนาป่ าเถื่ อนต่ า งหาก ซึ่ ง นั บ ว่ า เป็ นบาปและ
เสวยกรรมหนั ก แต่ไม่มีอ้า นาจปราบความชั่วของตัวที่ก้า ลัง
แผลงฤทธิแ ์ ก่ผูอ่ ืนอยู่โดยไม่รูสึกตัวว่าเป็ นผููมีอ้า นาจแบบก่อ
ไฟเผาตัว และตูองจัดว่าก้าลังสรูางกรรมอันหนักมาก
มิหน้ายังจะมาตีมาฆ่าคนที่ทรงศีลธรรมอันเป็ นหัวใจของ
โลก ถูาไม่จัดว่าท่านท้ากรรมอันเป็ นบาปหยาบชูายิ่งกว่าคน
ทั้ ง หลายแลู ว จะจั ด ว่ า ท่ า นท้า ความดี ท่ี น่ า ชมเชยที่ ต รงไหน
อาตมาเป็ นผููทรงศีล ทรงธรรมมุ่งมาท้า ประโยชน์แก่ตนและ
แก่โลก โดยการประพฤติธรรมดูวยความบริสุทธิใ์ จ ท่านยังจะ

ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 29
30

มาทุบตีและสังหาร โดยมิไดูค้า นึ งถึงบาปกรรมที่จะฉุดลาก


ท่ านลงนรก เสวยกรรมอัน เป็ นมหันตทุก ข์ เ ลย อาตมารูู สึ ก
สงสารท่ า นยิ่ ง กว่ า จะอาลั ย ในชี วิ ต ของตั ว เพราะท่ า นหลง
อ้า นาจของตั ว จนถึ ง กั บ จะเผาตั ว เองทั้ ง เป็ นอยู่ ข ณะนี้ แลู ว
อ้า นาจอั น ใดบู า งที่ ท่ า นว่ า มี อ ยู่ ใ นตั ว ท่ า น อ้า นาจอั น นั้ น จะ
สามารถตูานทานบาปกรรมอันหนัก ที่ท่านก้าลังจะก่อขึ้นเผา
ผลาญตัวอยู่เวลานี้ ไดูหรือไม่?
ท่ า นว่ า เป็ นผูู มี อ้า นาจอั น ใหญ่ ห ลวงปกครองอยู่ ใ นเขต
เขาเหล่านี้ แต่อ้านาจนั้นมีฤทธิเ์ ดชเหนื อกรรมและเหนื อธรรม
ไปไดูไหม ถูาท่านมีอ้า นาจและมีฤทธิเ์ หนื อธรรมแลูว ท่านก็
ทุ บ ตี ห รื อ ฆ่ า อาตมาไดู ส้า หรั บ อาตมาเองไม่ ก ลั ว ความตาย
แมูท่านไม่ฆ่าอาตมาก็ยังจักตูองตายอยู่โดยดีเมื่อกาลของมัน
มาถึงแลูว เพราะโลกนี้ เป็ นอยู่ของมวลสัตว์ผูเกิดแลูวตูองตาย
ทั่ ว หนู า กั น แมู ตั ว ท่ า นเองที่ ก้า ลั ง อวดตั ว ว่ า เก่ ง ในความมี
อ้านาจจนกลายเป็ นผููมืดบอดอยู่ขณะนี้ แต่ท่านก็มิไดูเก่งกว่า
ความตายและกฎแห่งกรรมที่ครอบง้าสัตว์โลกไปไดู
ขณะที่ ท่ า นพระอาจารย์ ม่ั น ซั ก ถาม และเทศน์ส่ั ง สอน
บุรุษลึกลับโดยทางสมาธิอยู่น้ัน ท่านเล่าว่า เขายืนตัวแข็ง บ่า
แ บ ก ต ะ บ อ ง เ ห ล็ ก เ ค รื่ อ ง มื อ สั ง ห า ร อ ยู่ เ ห มื อ น ตุ๊ ก ต า ไ ม่
กระดุ ก กระดิ ก ไม่ ข ยั บ เขยื้ อนไปไหนมาไหนเลย ถู า เป็ นคน
ธรรมดาเรา ก็ท้ั ง อายทั้ ง กลั ว จนตั ว แข็ ง แทบลื ม หายใจ แต่ น่ี
เขาเป็ นอมนุษย์พิเศษผููหนึ่ ง จึงไม่ทราบว่าเขามีลมหายใจหรือ
ไม่ แต่อาการทั้งหมดนั้นแสดงใหูเห็นชัดว่า เขาทั้งอายทั้งกลัว
ท่านพระอาจารย์ม่ันจนสุดที่จะอดกลั้นไดู แต่เขาก็อดกลั้นไดู
อย่างน่ าชม
ตอนท่านแสดงธรรมจบลง เขาไดูทิ้งตะบองเหล็กจากบ่า
อย่างเห็นโทษ และนฤมิตเปลี่ยนภาพจากร่างของบุรุษลึกลับที่
มีกายด้าสูงใหญ่ มาเป็ นสุภาพบุรุษพุทธมามกะผููอ่อนโยนนิ่ ม
นวลดู ว ยมรรยาทอั ธ ยาศั ย แสดงความเคารพคารวะและ
กล่าวค้า ขอโทษท่ านอาจารย์ แบบบุ คคลผูู เห็ นโทษส้า นึ กใน
บาปอย่ า งถึ ง ใจ ซึ่ ง ต่ อ ไปนี้ เ ป็ นใจความของเขาที่ ก ล่ า วตาม
ความสัตย์จริงต่อท่านพระอาจารย์ม่ันว่า
“กระผมรููสึกแปลกใจและสะดูุงกลัวท่านแต่เริ่มแรก มอง
เห็ น แสงสว่ า งที่ แ ปลกและอั ศ จรรย์ ม ากซึ่ ง ไม่ เ คยพบเห็ น มา
ก่อน พุ่งจากองค์ท่านมากระทบตัวกระผม ท้า ใหูอ่อนไปหมด
แทบไม่ อ าจแสดงอาการอย่ า งใดออกมาไดู อวั ย วะทุ ก ส่ ว น
ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 30
31

ตลอดจิตใจอ่อนเพลียไปตาม ๆ กัน ไม่อาจจะท้า อะไรไดูดูวย


พลการ เพราะมั น อ่ อ นและนิ่ ม ไปดู ว ยความซาบซึ้ ง จั บ ใจใน
ความสว่างนั้ น ทั้ ง ๆ ที่ไ ม่ท ราบว่ านั้ นคื ออะไร เพราะไม่ เคย
เห็น เท่าที่แสดงกิรย ิ าค้ารามว่าจะทุบตีและฆ่านั้น มิไดูออกมา
จากใจจริงแมูแต่นูอยเลย แต่แ สดงออกตามความรููสึ กที่เ คย
ฝั งใจมานานว่า ตัวเป็ นผููมีอ้า นาจในหมู่อมนุษย์ดูวยกันและมี
อ้า นาจในหมู่มนุษย์ท่ีไม่มีศีลธรรม ชอบรักบาปหาบความชั่ว
ประจ้านิ สัยต่างหาก อ้านาจนี้ จะท้าอะไรใหูใครเมื่อไรก็ไดูตาม
ตูองการ โดยปราศจากการตูานทานขัด ขวาง มานะอั นนี้ แล
พาใหูท้าเป็ นผููมีอ้านาจ แสดงออกพอไม่ใหูเสียลวดลาย ทั้ง ๆ
ที่กลัวและใจอ่อน ท้า ไม่ลง และมิไดูปลงใจว่าจะท้า หากเป็ น
เพียงแสดงออกพอเป็ นกิริยาของผููเคยมีอ้า นาจเท่านั้น กรรม
อั น ไม่ ง ามใด ๆ ที่ แ สดงออกใหู เ ป็ นของน่ าเกลี ย ดในวงนั ก
ปราชญ์ท่ีแสดงต่อท่านวันนี้ ขอไดูเมตตาอโหสิกรรมแก่กรรม
นั้ น ๆ ใหู ก ระผมดู ว ย อย่ า ตู อ งใหู รั บ บาปหาบทุ ก ข์ ต่ อ ไปเลย
เท่าที่เป็ นอยู่เวลานี้ ก็มีทุกข์อย่างพอตัวอยู่แลูว ยิ่งจะเพิ่มทุกข์
ใหูมากกว่านี้ ก็คงเหลือก้าลังที่จะทนต่อไปไหว”
ท่ า นถามเขาว่ า “ท่ า นเป็ นผูู ใ หญ่ มี อ้า นาจวาสนามาก
กายก็เป็ นกายทิพย์ไม่ตูองพาหอบหิ้วเดินเหินไปมาใหูล้า บาก
เหมื อ นมนุ ษ ย์ การเป็ นอยู่ ห ลั บ นอนก็ ไ ม่ เ ป็ นภาระเหมื อ น
มนุ ษ ย์ ท่ั วโลกที่ เ ป็ นกั น แลู ว ท้า ไมจึ ง ยั ง บ่ น ว่ า ทุ ก ข์ อ ยู่ อี ก ถู า
โลกทิพย์ไม่เป็ นสุขแลูว โลกไหนจะเป็ นสุขเล่า?” เขา ตอบว่า
“ถูาพูดอย่ างผิว เผิ นและเที ยบกับ กายมนุษ ย์ท่ี หยาบ ๆ พวก
กายทิพย์อาจมีความสุขมากกว่าพวกมนุษย์จริง เพราะเป็ นภูมิ
ที่ละเอียดกว่ากัน แต่ถูากล่าวตามชั้นภูมิแลูว กายทิพย์ก็ย่อม
มี ทุ ก ข์ ไ ปตามวิ สั ย ของภู มิ น้ั น ๆ เหมื อ นกั น ” ระหว่ า งที่ ผี กั บ
พระสนทนากัน ในตอนนี้ รูู สึก ว่ า ละเอี ย ดและลึ ก ลั บ ยากที่ ผู
เขียนจะน้า มาลงไดู ทุ ก ประโยค จึ ง ขออภั ย ท่ า นผูู อ่า นไวู ดู ว ย
ความจนใจ
สุดทูายแห่งการสนทนาธรรม ท่านว่าบุรุษลึกลับมีความ
เคารพเลื่ อมใสในธรรมเป็ นอย่ า งยิ่ ง และปฏิ ญ าณตนถึ ง พระ
ไตรสรณคมน์ กล่าวอูางท่านพระอาจารย์เป็ นสรณะและเป็ น
องค์พยานดูวย พรูอมทั้งใหูความอารักขาแก่ท่านเป็ นอย่างดี
และขอนิ ม นต์ ท่ า นพั ก อยู่ ท่ี น่ี ใหู น าน ๆ ถู า ตามใจเขาแลู ว ไม่
อยากใหู ท่ า นจากไปสู่ ท่ี อ่ ื นตลอดอายุ ข องท่ า น เขาจะเป็ นผูู
คอยดู แ ลรั ก ษาท่ า นทุ ก อิ ริ ย าบถ ไม่ ใ หู มี อ ะไรมาเบี ย ดเบี ย น
ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 31
32

หรือรังแกท่านไดูเลย ความจริงแลูวเขามิใช่บุรุษลึกลับและมี
ร่างกายด้าสูงใหญ่ดังที่แสดงภาพต่อท่าน แต่เขาเป็ นหัวหนูา
แห่งรุกขเทวดา ซึ่งมีบริษท
ั บริวารมากมายที่อาศัยอยู่ในภูเขา
และสถานที่ต่าง ๆ มีเขตอาณาบริเวณกวูางขวางมาก ติดต่อ
กันหลายจังหวัด มีนครนายก เป็ นตูน
นั บแต่ขณะจิตท่านสงบลงและระงับ โรคจนหายสนิ ทไม่
ปรากฏเลยประมาณเที่ยงคืน กับที่รุกขเทพมาเกี่ยวขูองและ
สนทนาธรรมกั น จนถึ ง เวลาจากไป และจิ ต ถอนขึ้ น มาก็
ประมาณ ๔.๐๐ นาฬิกา คือ ๑๐ ทุ่ม โรคที่ก้าลังก้าเริบในขณะ
ที่น่ั งท้า สมาธิภาวนา พอจิตถอนขึ้นมาปรากฏว่าหายไปโดย
สิ้น เชิ ง ไม่ ตูองอาศั ย ยาอื่ นใดรั ก ษาอี ก ต่ อ ไป โรคหายไดู เ ด็ ด
ขาดดู ว ยธรรมโอสถทางภาวนาลู ว น ๆ จึ ง เป็ นสิ่ ง ที่ อั ศ จรรย์
มากส้า หรั บ ท่ า นในคื น วั น นั้ น พอจิ ต ถอนขึ้ น มาแลู ว ท่ า น
ท้า ความเพี ย รต่ อ ไปมิ ไ ดู ห ลั บ นอนตลอดรุ่ ง เมื่ อออกจากที่
ภ า ว น า แ ลู ว ร่ า ง ก า ย ก็ ไ ม่ มี ก า ร อ่ อ น เ พ ลี ย แ ต่ ก ลั บ
กระปรี้กระเปร่าขึ้นกว่าเดิมอีกดูวย
คืนวันนั้ นท่านไดูเห็นความอัศจรรย์หลายอย่าง คือเห็น
อานุ ภ าพแห่ ง ธรรมที่ส ามารถยั ง เทวดาใหู ห ายพยศและเกิ ด
ความเลื่อมใสหนึ่ ง จิตรวมสงบลงเป็ นเวลาหลายชั่วโมง และ
เห็นความอัศจรรย์ในขณะที่จิตสงบอยู่ตัวอย่างมีความสุขหนึ่ ง
โรคที่เคยก้าเริบอยู่เสมอจนควรเรียกไดูว่าโรคประเภทเรื้อรัง
ไดูหายไปโดยสิ้นเชิงหนึ่ ง จิตไดูหลักยึดเป็ นที่พอใจ หายสงสัย
ในสิ่ ง ที่ เ คยเป็ นมาหลายชนิ ด หนึ่ ง อาหารที่ ฉัน ลงไปในตอน
เชูา แต่วันหลังกลับท้าการย่อยตามปกติหนึ่ ง ความรููแปลก ๆ
ที่ไม่เคยรููมาก่อนไดูปรากฏขึ้นมากมาย ทั้งประเภทถอดถอน
และประเภทประดับความรููพิเศษตามวิสัยวาสนาหนึ่ ง
ในคืนต่อไป ท่ านบ้า เพ็ ญ เพี ย รดู ว ยความสะดวก และมี
ความสงบสุ ข ทางใจอย่ า งบอกไม่ ถู ก ร่ า งกายก็ เ ป็ นปกติ สุ ข
ไม่มีอาการใดก่ อกวน บางคื นยามดึกสงัดก็ตู อนรับ พวกรุ กข
เทพที่มาจากที่ต่าง ๆ จ้า นวนมากมาย โดยมีเทพลึกลับที่เคย
ท้า สงครามวาทะกั บ ท่ า นอาจารย์ เป็ นผูู ป ระกาศโฆษณาใหู
ทราบและเป็ นหัวหนูาพามา คืนที่ไม่มีเรื่องมาเกี่ยวขูองท่านก็
สนุกบ้าเพ็ญสมาธิภาวนา
บ่ า ยวั น หนึ่ ง ท่ า นออกจากที่ ส มาธิ แ ลู ว ก็ อ อกไปนั่ ง ตาก
อากาศ ห่ า งจากหนู า ถ้้ าพอประมาณ ขณะนั้ น ก้า ลั ง ร้า พึ ง
ธรรมที่พระพุทธเจูาทรงพระเมตตาประทานไวูแก่หมู่ชน รููสึก
ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 32
33

ว่าเป็ นธรรมที่สุขุมลุ่มลึกมาก ยากที่จะมีผูสามารถปฏิบัติและ


ไตร่ตรองใหูเห็นจริงตามไดู ท่านเกิดความภูมิใจและอัศจรรย์
ในตั ว ท่ า นเองขึ้ น มา ที่ มี ว าสนาไดู ป ฏิ บั ติ แ ละรูู เ ห็ น ความ
อั ศจรรย์ ห ลายอย่ างจากธรรม แมู จ ะยั ง ไม่ ส มบู ร ณ์เ ต็ ม ภู มิ ท่ี
ใฝ่ ฝั นมานานก็ ต าม แต่ ก็ ยั ง จั ด ว่ า อยู่ ใ นขั้ น พอกิ น พอใชู ไม่
ขั ด สนจนมุ ม ในความสุ ข ที่ เ ป็ นอยู่ แ ละจะเป็ นไป ซึ่ ง ตั ว เองก็
แน่ ใจว่าจะถึงแดนแห่งความสมหวังในวันหนึ่ งแน่ นอน ถูาไม่
ตายเสียในระยะกาลที่ควรจะเป็ นนี้
ขณะนั้ นก้า ลั ง เสวยสุ ข เพลิ น อยู่ ดู ว ยการพิ จ ารณาธรรม
ทั้งฝ่ ายมรรคคือทางด้า เนิ น และฝ่ ายผลคือความสมหวังเป็ น
ล้า ดั บ จนถึ ง ความดั บสนิ ท แห่ ง กองทุ ก ข์ ภ ายในใจไม่ มี เ หลื อ
พอดีมีลิงฝูงใหญ่พากันมาเที่ยวหากินบริเวณหนูาถ้้านั้น โดยมี
หัวหนูามาก่อนเพื่อน ปล่อยระยะห่างจากฝูงประมาณ ๑ เสูน
พอหั ว หนูาลิ ง มาถึ ง ที่ น้ั น ก็ ม องเห็ น ท่ า นนั่ ง นิ่ ง ๆ อยู่ พ อดี แต่
มิ ไ ดู ห ลั บ ต า ท่ า น เ อง ก็ ไ ดู ช้า เ ลื อง ไ ปดู ลิ ง ตั ว นั้ น เ ช่ น กั น
ประกอบกับลิงตัวนายฝูงนั้ นก้า ลังเกิดความสงสัยในท่ านอยู่
ว่า นั่นคืออะไรกันแน่ มันค่อยดูอม ๆ มอง ๆ ท่าน และวิ่งถอย
ไปถอยมาอยู่บนกิ่งไมูดูวยความสงสัย และเป็ นห่วงเพื่อนฝู ง
ของมันมาก กลัวจะเป็ นอันตราย ขณะที่มันสงสัยท่าน ท่านก็
ทราบเรื่องของมันพรูอมกับเกิดความสงสารขึ้นมาในขณะนั้น
และแผ่เมตตาจิตไปยังลิงตัวนั้ นว่า เรามาบ้า เพ็ญธรรม มิไดู
มาหาเบียดเบียนและท้า รูายใคร ไม่ตูองกลัวเรา จงพากันหา
อยู่หากินตามสบาย แมูจะพากันมาหากินอยู่แถวบริเวณนี้ ทุก
วันเราก็ไม่ว่าอะไร สักประเดีย ๋ วใจ มันวิ่งไปหาพวกของมันซึ่ง
พอมองเห็นตัวที่ก้าลังตามหลังกันมา
ท่านเล่าตอนนี้ น่าหัวเราะและน่ าสงสารมาก พอมันวิ่งไป
ถึ ง พรรคพวกของมั น แลู ว มั น รี บ บอกกั น ว่ า “ โกู ก เฮู ย อย่ า
ด่วนไป มีอะไรอยู่ท่ีน้ัน” “โกูก ระวังอันตราย” พวกของมันที่
ยั ง ไม่ เ ห็ น พอไดู ยิ น เสี ย งก็ รู อ งถามมาว่ า “ โกู ก อยู่ ท่ี ไ หน”
“โกูก อยู่ท่ีน้ัน” พรูอมทั้งหันหนูามองมาที่ท่านพักอยู่เหมือน
จะบอกกั น ว่ า นั่ น นั่ ง อยู่ น่ั น เห็ น ไหม ท้า นองนี้ แต่ เ ป็ นภาษา
ของสัตว์ จึงเป็ นเรื่องลึกลับส้าหรับมนุษย์ธรรมดาจะตามรูู แต่
ท่ านอาจารย์ ม่ัน ท่านรูู ทุกค้า ที่ มันพู ด กัน เมื่ อมั น ใหู สัญ ญาณ
กันว่าอยู่ท่ีน้ั นแลูว มันบอกกันว่า อย่าพากันไปเร็วนัก จงพา
กันค่อย ๆ ไป และดูซิ ว่า เป็ นอะไรกั นแน่ แลู วก็ พากันค่ อย ๆ
ไป ส่วนหัวหนูาฝูงพอบอกพรรคพวกเสร็จแลูวก็รีบไป แต่ค่อย
ดูอม ๆ มอง ๆ ไปจนถึงหนูาถ้้าที่ท่านนั่ งอยู่ มีอ าการทั้ง กลัว
ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 33
34

ทั้งอยากดูและอยากรููว่าเป็ นอะไรกันแน่ ทั้งเป็ นห่วงเพื่อนฝูงที่


พากันค่อยมารออยู่เบื้องหลัง หัวหนูามันโดดขึ้น ลงอยู่ บนกิ่ง
ไมู ตามนิ สัยลิงซึ่งเป็ นนิ สัยหลุกหลิกดังที่เคยเห็ นมาแลูวนั่ น
แล มันมาดูอม ๆ มองอยู่ร ะยะห่ างจากท่ านประมาณ ๑๐ วา
ท่ า นเองก็ ไ ดู ใ ชู ค วามสั ง เกตอยู่ ภ ายในทุ ก ระยะ ว่ า มั น จะมี
ความรููสึกต่อท่านอย่างไรบูาง
นั บ แต่ เ ริ่ ม แรกที่ มั น มาหาท่ า นและวิ่ ง กลั บ ไปจนมั น วิ่ ง
กลับมาอีก และดูท่านซ้้า ๆ ซาก ๆ พอมันแน่ ใจแลูวว่า ไม่ใช่
อันตราย มันก็ว่ิงกลับไปบอกเพื่อนฝูง ของมันว่า “โกูก ไปไดู
โกู ก ไม่ มี อั น ตราย” ท่านเล่าว่า ตอนมันวิ่งไปบอกเพื่อนฝูง
ของมั น นั้ น น่ า ขบขั น และน่ า หั ว เราะ ทั้ ง น่ า สงสารมั น มาก
เมื่อเรารููภาษาของมันแลูว แต่ถูาไม่รูค้าที่มันพูดกันจะเห็นว่า
เสียงที่มันเปล่งออกมาแต่ละค้าและแต่ละตัวนั้น เป็ นเสียงมัน
รูองธรรมดาไปเสียหมด เช่นเดียวกับเราไดูยินเสียงนกเสียง
การูองฉะนั้ น ความจริงเท่าที่ท่านตั้งใจสังเกตก้า หนดดูเสียง
ของลิงที่ว่ิ งกลับไปบอกเพื่อนฝู ง ของมัน จริ ง ๆ แลู ว มันเปล่ ง
เสียงออกชัดถูอยชัดค้า เหมือนเสียงคนเราพูดกันดี ๆ นี่ เอง
คือพอมันวิ่งกลับไปถึงพวกของมันแลูว มันก็รี บพู ดเป็ น
ค้า เตื อนพวกของมั น ใหู ส นใจในค้า ของมั น เพื่ อระวั ง ตั ว โดย
เป็ นเสี ย งของลิ ง พู ด กั น ว่ า โกู ก ๆ ดั ง นี้ แต่ ค วามหมายที่ มั น
เขูา ใจกั น จากค้า ว่ า “ โกูก ๆ” นั้น เป็ นใจความว่า “เฮู ย หยุ ด
ก่ อ น อย่ า ด่ ว นพากั น ไป โกู ก มั น ยั ง มี อ ะไรอยู่ ขู า งหนู า นั้ น ”
พวกของมันไดูยินเสียงมันเตือนเช่นนั้น ต่างตัวต่างเกิดความ
สงสั ย จึ ง รู อ งถามมาว่ า “ โกูก มี อ ะไรหรื อ ” ตัวนั้นถามมาว่า
“โกูก อะไรกัน” ตัวนี้ รูองถามว่า “โกูกอะไรกัน” ตัวหัวหนูา
ฝู ง ก็ ต อ บ ว่ า “ โ กู ก เ กู ก มั น มี อะ ไ ร อ ยู่ ที่ นั้ น น่ า ก ลั ว เ ป็ น
อั น ตราย” พวกของมันถามมาว่า “ โกู ก อยู่ ท่ี ไ หน” หัวหนูา
ตอบว่ า “ โกู ก นั้ น อย่ า งไรล่ ะ ” เสียงมันถามและตอบรับกัน
สนั่นป่ าไปหมด เพราะมีลิงจ้านวนมากดูวยกัน
ตัวนั้น “โกูก” ถามมา ตัวนี้ “โกูก” ถามมาดูวยความ
ตื่นตกใจ ทั้งตัวเล็กตัวใหญ่ว่ิงวุ่นกันไปมา ขณะที่มันเกิดความ
สงสัยไม่แน่ ใจ กลัวจะเกิดอันตรายแก่ตัวและพวกของตั ว จึ ง
ต่างตัวต่างเรียกรูองถามกันอย่างชุลมุนวุ่นวาย เช่นเดียวกับ
มนุษย์เรารูองถามกันถึงเหตุการณ์ต่าง ๆ นี่ เอง หัวหนูาตูอง
ชี้แจงเรื่องราวใหูทราบและเตือนพวกของมันว่า “โกูกเกูก ใหู
พากันรออยู่ท่ีน่ี ก่อน เราจะกลับไปดูใหูแน่ นอนอีกครั้ง ” พอมัน
สั่งเสียแลูวก็รับกลับไปดู ขณะที่มันวิ่งไปดูท่านอาจารย์ก็น่ังอยู่
ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 34
35

พอจวนถึงตัวท่าน มันค่อยดูอมค่อยมอง วิ่งขึ้นวิ่งลงอยู่บนกิ่ง


ไมู ตาจั บ จู อ งมองดู อ ย่ า งพิ นิ จพิ เ คราะห์ จนเป็ นที่ แ น่ ใ จว่ า
ไม่ใช่ขูาศึกผููจะคอยท้า ลายแลูว มันก็รีบวิ่งกลับมาบอกเพื่อน
ฝู ง ของมั น ว่ า “ โกู ก เกู ก ไปไดู แ ลู ว ไม่ เ ป็ นอั น ตราย โกู ก ไม่
ตูองกลัว” พอทราบแลูวต่างตัวมาสู่ท่ีท่านนั่งพักอยู่ และต่าง
ตัวต่างดูท่านในลักษณะท่าทางไม่ค่อยไวูใจนัก ต่างวิ่งขึ้นวิ่งลง
แบบลิ ง นั่ น เอง เพราะความหิ ว กระหายอยากดู อ ยากรูู และ
รูองถามกันโกูกเกูก ลั่นป่ าไปเวลานั้นว่า นี่ คืออะไรและมาอยู่
ท้า ไมกัน เสี ยงตอบรับกัน แบบต่ าง ๆ ตามภาษาสั ต ว์ ซึ่ ง ต่ า ง
ตัวต่างสงสัยอยากรููเรื่องดูวยความกระวนกระวาย
ที่ พู ด ซ้้ านี้ เขี ย นตามค้า ที่ ท่ า นเนู น ซ้้ า เพื่ อผูู น่ั ง ฟั งดู ว ย
ความสนใจจากท่ า นไดู เ ขู า ใจชั ด เจน ท่ า นเล่ า ว่ า ขณะที่ เ ขา
เกิดความสงสัยไม่แน่ ใจในชีวิตของตัวและพรรคพวกนั้น รููสึก
ว่ า เป็ นเสี ย งที่ แ สดงออกดู ว ยความชุ ล มุ น วุ่ น วายมากพอดู
เพราะสั ต ว์ ประเภทนี้ เ คยถู ก มนุ ษ ย์ ท้า ลายดู ว ยวิ ธี ต่ า ง ๆ มา
มากต่อมากตลอดชีวิตของมัน จึงเป็ นสัตว์ท่ีมีความระแวงต่อ
มวลมนุษย์อยู่มากประจ้า นิ สัย ขณะนั้ นต่างตัวต่างมารุมดูท้ัง
ตั ว เล็ ก ตั ว ใหญ่ ดู ว ยท่ า ทางระมั ด ระวั ง อย่ า งยิ่ ง กระแสจิ ต ที่
แสดงความหมายออกมาตามเสียงที่มันรูองถามและตอบรับ
กันนั้น เหมือนกับกระแสใจของมนุษย์ท่ีส่งออกมาตามกระแส
เสี ย งที่ พู ด กั น นั่ นเอง ฉะนั้ น เขาจึ ง รูู เ รื่ องของกั น ไดู ดี ทุ ก
ประโยค เช่ น เดี ย วกั บ มนุ ษ ย์ เ ราพู ด กั น ฉั น นั้ น ในค้า ที่ เ ขา
แสดงออกแต่ละค้าซึ่งแสดงออกมาจากกระแสจิตที่มีความมุ่ง
หมายไปต่ า ง ๆ กั น นั้ น เป็ นค้า ที่ ใ หู ค วามหมายแก่ ตั ว รั บ ฟั ง
อย่ า งชั ด เจน ไม่ มี ค วามบกพร่ อ งพอจะใหู เ กิ ด ความสงสั ย แก่
ฝ่ ายหนึ่ งฝ่ ายใด
ดังนั้ น ค้า แสดงของลิ งแต่ป ระโยค เช่น โกูก เป็ นตูน ที่
มนุษย์ธรรมดาเราฟั งไม่รูเรื่อง แต่ระหว่างเขาเองรููเรื่องกันดี
ทุ ก ประโยคที่ แ สดงออก เพราะเป็ นภาษาของสั ต ว์ พู ด ต่ อ กั น
เช่ น เดี ย วกั บ มนุ ษ ย์ เ ราชาติ ต่ า ง ๆ ต่ า งก็ มี ภ าษาประจ้า ชาติ
ของตนฉะนั้น สรุปความก็คือ ภาษาสัตว์ต่าง ๆ ก็มีไวูส้า หรับ
ชาติของตน ภาษามนุษย์ชาติต่าง ๆ ก็มีไวูส้าหรับชาติของตน
การจะฟั งรูู เ รื่ องหรื อ ไม่ รู ร ะหว่ า งสั ต ว์ ช นิ ดต่ า ง ๆ พู ด กั น
ระหว่ า งมนุ ษ ย์ ช าติ ต่ า งๆ พู ด กั น ก็ ยุ ติ ล งเองไม่ เ ป็ นอารมณ์
ขูองใจต่อไป ปล่อยใหูเป็ นสิทธิของแต่ละชาติ จะวินิ จฉัย รับ รูู
ของเขาเอง พอต่างตัวต่างหายสงสัยแลูว ต่างก็มาเที่ยวหากิน
ในบริ เ วณนั้ น ตามสบาย หายความหวาดระแวง ไม่ ร ะเวี ย ง
ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 35
36

ระวังว่าจะมีอะไรเกิดขึ้น นับแต่วันนั้นเป็ นตูนมา เขาพากันมา


เที่ ย วหากิ นตามบริ เ วณหนูา ถ้้ าอย่ า งสบาย ไม่ สนใจกั บ ท่ า น
ท่านเองก็มิไดูสนใจกับเขา ต่างคนต่างท้าหนูาที่ของตน
ท่ า นว่ า สั ต ว์ ท่ี ม าเที่ ย วหากิ น อยู่ บ ริ เ วณใกลู เ คี ย งท่ า น
โดยไม่ตูองระแวงและกลัวภัยนี้ เขาก็เป็ นสุขดีเหมือนกัน โดย
มากพระไปอยู่ ท่ี ไ หน พวกสั ต ว์ ช นิ ด ต่ า ง ๆ ชอบไปอาศั ย อยู่
ดูวย ไม่ว่าสัตว์เล็กสัตว์ใหญ่ เพราะความรููสึกมันคลูายคลึงกัน
กับมนุษย์ เป็ นแต่เขาไม่มีอ้า นาจและไม่มี ความเฉลีย วฉลาด
รอบดูานเหมือนมนุษย์เท่านั้น มีความฉลาดเฉพาะการหาอยู่
หากินและหาที่ซ่อนตัวเพื่อชีวิตไปวันหนึ่ ง ๆ เท่านั้น
คื น วั น หนึ่ ง ท่ า นเกิ ด ความสลดสั ง เวชใจอย่ า งมากจน
น้้าตาร่วงออกมาจริง ๆ คือเวลานั่งสมาธิจิตรวมลงอย่างเต็ม
ที่ เพราะการพิ จ ารณากายเป็ นเหตุ ปรากฏว่ า จิ ต ว่ า งและ
ปล่อยวางอะไร ๆ หมด โลกธาตุเป็ นเหมือนไม่มีอะไรเหลืออยู่
เลยในความรูู สึ ก ขณะนั้ น หลั ง จากสมาธิ แ ลู ว พิ จ ารณาพระ
ธรรมวิ นั ย ที่ พระพุ ท ธเจู า ทรงบั ญ ญั ติ ไ วู เพื่ อลบลู า งหรื อ
ถอดถอนความผิดที่มีอยู่ในใจของสัตว์โลก ซึ่งเป็ นธรรมที่ออก
จากความฉลาดแหลมคมแห่ ง พระปั ญญาของพระพุ ท ธเจู า
พิ จ ารณาไปเท่ า ไร ก็ ย่ิ ง เห็ น ความฉลาดและอั ศ จรรย์ ข อง
พระองค์ และเห็นความโง่เขลาเต่าปลาของตนยิ่ง ขึ้น เพราะ
การขบฉัน ขับถ่ายก็ตู องไดู รับ การอบรมสั่ งสอนมาก่อ น การ
ยืน เดิน นั่ง นอนก็ตูองไดูรับการอบรมสั่งสอนมาก่อน การน่ ุง
ห่มซักฟอกก็ตูองไดูรับการสั่งสอนมาก่อน ไม่ เช่ นนั้ น ก็ท้า ไม่
ถู ก นอกจากท้า ไม่ ถู ก แลู ว ยั ง ท้า ผิ ด อี ก ดู ว ย ซึ่ ง ลู ว นแต่ เ ป็ น
เรื่องหาบบาปหาบกรรมใส่ตัว การปฏิบัติต่อร่างกายดูวยวิธี
ต่าง ๆ ก็ตูองไดูรับการอบรมสั่งสอน การปฏิบัติต่อจิตใจก็ตูอง
ไดูรับการอบรมสั่งสอน ถูาไม่ไดูรับการอบรมสั่งสอนมาเท่าที่
ควร ก็ตูองท้า ผิดจริง ๆ ดูวย โดยไม่เลือกเพศวัยและชาติช้ัน
วรรณะใด ๆ เลย เพราะสามัญมนุ ษย์เ ราเป็ นเหมื อนเด็ก ซึ่ ง
ตูองไดูรับการดูแลและอบรมสั่งสอนจากผููใหญ่อยู่ทุกขณะจึง
จะปลอดภัยและเจริญเติบโตไดู
คนเราใหญ่แต่กาย ใหญ่แต่ชาติ ใหญ่แต่ช่ ือ ใหญ่แต่ยศ
ใหญ่แต่ ความสำา คัญตน แต่ค วามรู้ค วามฉลาดที่ จ ะทำา ตนให้
ร่มเย็นเป็ นสุขทั้งทางกายและทางใจโดยถูก ทาง ตลอดผู้ อ่ ืน
ได้ รั บ ความร่ ม เย็ น เป็ นสุ ข ด้ ว ย นั่ น ไม่ ค่ อ ยเจริ ญ เติ บ โตด้ ว ย
และไม่สนใจบำารุงให้ใหญ่โตอีกด้วย จึงเกิดความเดือดร้อนกัน

ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 36
37

อยู่ทุกหนทุกแห่ง โดยไม่เลือกเพศวัยและชาติช้ันวรรณะอะไร
เลย
เหล่านี้ แลที่ท้าใหูเกิดความสลดสังเวชตนอย่างยิ่งในคืน
วั น นั้ น ที่ ช ายเขาทางขึ้ น ไปถ้้ าที่ ท่ า นพระอาจารย์ พั ก อยู่ ก็ มี
ส้า นักบ้า เพ็ญวิปัสสนาอยู่แห่งหนึ่ ง เวลาท่านพักอยู่ถ้ านั้ น มี
ขรัว ตาองค์ห นึ่ ง พัก อยู่ ส้า นั กบ้า เพ็ญ นั้ น คืนวัน หนึ่ งท่ า นพระ
อาจารย์ คิ ด ถึ ง ขรั ว ตาองค์ น้ั น ว่ า ท่ า นจะท้า อะไรอยู่ เ วลานี้ ก็
ก้า หนดจิ ต ส่ ง กระแสลงมาดู ข รั ว ตา พอดี เ ป็ นเวลาที่ ข รั ว ตา
องค์น้ันก้าลังคิดวุ่นวายไปกับกิจการบูานเรือนครอบครัวยุ่งไป
หมด เรื่ องที่ ขรั ว ตาคิ ด เกี่ ย วกั บ อตี ต ารมณ์ พอตกดึ ก ท่ า นส่ ง
กระแสจิตลงมาหาขรัวตาองค์น้ันอีก ก็มาเจอเอาเรื่องท้านอง
นั้นเขูาอีก ท่านก็ยูอนจิตกลับ จวนสว่างส่งกระแสจิตลงมาอีก
ก็มาโดนเอาแต่เรื่องคิดจะสั่งเสียลูกคนนั้นหลานคนนี้ อยู่ร่ ้าไป
ทั้งสามวาระที่ท่านส่งกระแสจิตลงมา แต่ก็มาเจอเอาแต่เรื่อง
ขรั ว ตาคิ ด จะสรู างบู านสรู า งเรื อ น สรู า งภพสรู า งชาติ สรู า ง
วัฏสงสาร ไม่มีสิ้นสุดวิถีแห่งความคิดความปรุงเอาเสียเลย
ตอนเชูาท่านลงมาบิณฑบาต ขากลับมาจึงแวะไปเยี่ยม
ขรัวตาถึงที่พัก แลูวพูดเป็ นเชิงปั ญหาว่า เป็ นอย่างไรหลวงพ่อ
ปลูกบูานใหม่ แต่ งงานกั บคู่ ครองใหม่แต่ เป็ นแม่อีหนูค นเก่ า
เมื่ อคื น นี้ ต ลอดคื น ไม่ ย อมนอน เสร็ จ เรี ย บรู อ ยไปดู ว ยดี แ ลู ว
มิใช่หรือ คืนต่อไปคงจะสบายไม่ตู องวุ่น วายจั ดแจงสั่ง ลูกคน
นั้ น ใหู ท้า สิ่งนั้ น สั่งหลานคนนี้ ใหู ท้า งานสิ่ งนี้ อีกกระมัง คื นนี้
รูู สึ ก หลวงพ่ อ มี ง านมากและวุ่ น วายพอดู แทบมิ ไ ดู พั ก ผ่ อ น
นอนหลับมิใช่หรือ ขรัวตาถามท่านดูวยอาการเอียงอายและ
ยิ้ มแหู ง ๆ ว่ า ท่านพระอาจารย์ เป็ นพระอั ศจรรย์ ม าก ท่ า นรูู
ดู ว ยหรื อเมื่ อคื น นี้ ท่ า นพระอาจารย์ แ สดงอาการยิ้ ม รั บ แลู ว
ตอบว่า ผมเขูาใจว่าท่านจะรููเรื่องของตัวดีย่ิงกว่าผมผููถามเป็ น
ไหน ๆ แต่ท้าไมท่านจึงกลับมาถามผมอย่างนี้ อีก ผมเขูาใจว่า
ความคิดปรุงของท่านเป็ นไปดูวยเจตนาและพอใจในความคิด
นั้ น ๆ จนลื ม หลั บ นอนไปทั้ งคื น แมู แ ต่ รุ่ ง เชู า ตลอดมาถึ ง
ปั จจุ บั น นี้ ผมก็ เ ขู า ใจว่ า ท่ า นจงใจคิ ด เรื่ องเช่ น นั้ น อยู่ อ ย่ า ง
เพลิ น ใจจนไม่ มี ส ติ จ ะยั บ ยั้ ง และยั ง พยายามท้า ตั ว ใหู เ ป็ นไป
ตามความคิดนั้น ๆ อย่างมั่นใจมิใช่หรือ
พอจบลง ท่านมองดูหนูาขรัวตาเหมือนคนจะเป็ นลม ทั้ง
อายทั้งกลัว พูดออกมาดูวยเสียงสั่นเครือแทบไม่เป็ นเสียงคน
และไม่ ชั ด ถู อยชั ด ค้า ขาด ๆ วิ่ น ๆ เหมื อ นจะเป็ นอะไรไปใน
เวลานั้นจนไดู พอเห็นท่าไม่ไดูการ ขืนพูดเรื่องนั้นต่อไป เดีย ๋ ว
ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 37
38

ขรัวตาจะเป็ นอะไรไปก็จะแย่ ท่านเลยหาอุบายพูดไปเรื่องอื่น


พอใหูเรื่องจางไป แลูวก็ลาขึ้นถ้้า
ต่ อ มาไดู ๓ วั น โยมผูู ป ฏิ บั ติ ข รั ว ตาองค์ น้ั น ก็ ขึ้ น ไปที่ ถ้ า
ท่านพระอาจารย์จึงถามถึงขรัวตานั้นว่าสบายดีหรือ โยมท่าน
บอกว่า ขรัวตาองค์น้ันจากไปที่อ่ ืนเสียแลูวตั้งแต่เชูาวานนี้ ผม
ถามท่านว่าหลวงพ่อจะไปท้าไม อยู่ท่ีน่ี ไม่สบายหรือ ท่านบอก
ว่า จะอยู่ไปไดูอย่างไร ก็เชูาวานนี้ ท่านพระอาจารย์ม่ันมาหา
อาตมาที่น่ี แลูวเทศน์อาตมาเสียยกหนึ่ งหนัก ๆ อาตมาแทบ
เป็ นลมสลบไปต่อหนูาท่านอยู่แลูว ถูาท่านขืนเทศน์ไปอีกสัก
ประโยคสองประโยค อาตมาตูองลูมตายต่อหนูาท่านแน่ ๆ แต่
พอดีท่านหยุดและเลยพูดเรื่องอื่นไปเสีย อาตมาจึ งพอมี ชีวิ ต
และลมหายใจกลับคืนมาไดู ไม่ตายไปเสียในขณะนั้น แลูวจะ
ใหูอาตมาอยู่ต่อไปไดูอย่างไร อาตมาขอไปวันนี้
ผมถามท่านว่า ท่านพระอาจารย์ม่ันเทศน์ดุด่าท่านหรือ
ถึ ง จะอยู่ ต่ อ ไปไม่ ไ ดู แ ละจะตายต่ อ หนู า ท่ า น ท่ า นมิ ไ ดู ดุ ด่ า
อาตมา แต่ปัญหาธรรมของท่านนั้ นมันหนักยิ่งกว่า ท่า นดุ ด่า
เฆี่ยนตีเป็ นไหน ๆ ขรัวตาตอบ ท่านถามปั ญหาหลวงพ่ออย่าง
นั้นหรือ ปั ญหานั้นมีว่าอย่างไร ผมอยากทราบดูวยพอเป็ นคติ
บูาง ผมถามท่าน ท่านพูดว่า ขออย่าใหูอาตมาเล่าใหูโยมฟั ง
เลย อาตมาอายจะตายอยู่แลูว จะมุดดินลงไปเดีย ๋ วนี้ แลถูาขืน
บอกใครใหูทราบดูวย อาตมาจะพูดใหูโยมฟั งเพียงเปรย ๆ นะ
ก็เราคิดอะไร ๆ ท่านรููเสียจนหมดสิ้น จะไม่หนักกว่าท่านดุด่า
อย่ า งไรล่ ะ ธรรมดาปุ ถุ ช นก็ ย่ อ มมี คิ ด ดี บู า งชั่ วบู า งเ ป็ น
ธรรมดา จะหูามไม่ใหูคิดไดูอย่างไร ทีน้ี พอเราคิดอะไรขึ้นมา
ท่านก็รูเสียหมด อย่างนี้ จะอยู่ไดูอย่างไร หนี ไปตายที่อ่ ืนดีกว่า
อย่าอยู่ใหูท่านพลอยหนักใจดูวยเลย คนอย่างเราไม่ควรอยู่ท่ี
นี่ ต่อไป อายโลกเขาเปล่า ๆ คืนนี้ อาตมานอนไม่ไดูเลย คิดแต่
เรื่องนี้ อย่างเดียว
ผมแยูงท่านว่า ก็ท่านจะมาหนักใจดูวยเราท้า ไม เพราะ
ท่ า นมิ ใ ช่ ผู ผิ ด เราผูู ผิ ด ต่ า งหากจะควรหนั ก ใจ และควรแกู
ความผิดของตนใหูสิ้นเรื่องไป ท่านอาจารย์ยังจะอนุโมทนาอีก
ดูวย นิ มนต์ท่านอยู่ท่ีน่ี ไปก่อน เผื่อคิดอะไรผิด ๆ ถูก ๆ ขึ้นมา
ท่านอาจารย์จะไดูช่วยเตือน เราก็จ ะไดูส ติแกูไ ข ยัง จะดีก ว่า
หนี ไปอยู่ท่ีอ่ ืนเป็ นไหน ๆ ความเห็นของผมว่าอย่างนี้ หลวงพ่อ
จะว่ า อย่ า งไร ไม่ ไ ดู ความคิ ด ว่ า จะไดู ส ติ แ ละจะแกู ไ ขตั ว กั บ
ความกลัวท่านนั้น มันมีน้ าหนักกว่าคนละโลก เหมือนชูางกับ
แมวเอาทีเดียว แลูวเราจะพอมีสติสตังมาแกูอยู่อย่างไรไดู พอ
ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 38
39

คิดว่าท่านจะรููเรื่องเราเท่านั้นตัวมันสั่นขึ้นมาแลูว อาตมาขอ
ไปวั น นี้ ถู า ขื น อยู่ ท่ี น่ี ต่ อ ไปอาตมาตู อ งตายแน่ ๆ โยมเชื่ อ
อาตมาเถอะ อย่าใหูอยู่เลยท่านว่าอย่างนี้
ไม่ทราบว่าผมจะหูามท่านไดูอย่างไร คิดแลูวก็น่าสงสาร
เวลาท่ า นพู ด ใหู ผ มฟั ง ก็ ท้ั ง พู ด ทั้ ง กลั ว หนู า ซี ด เซี ย วไปหมด
เลยตูองปล่อยใหูท่านไป ก่อนจะไปผมถามท่านว่า หลวงพ่อจะ
ไปอยู่ ท่ี ไ หน ท่ า นตอบว่ า เอาแน่ น อนไม่ ไ ดู ถู า ไม่ ต ายเราคง
เห็น หนูากัน อีก แลูว ก็ไ ปเลย ผมใหู เด็ กตามไปส่ ง ท่ า น เวลา
เด็กกลับมาแลูวถามเด็ก เด็กบอกว่าไม่ทราบ เพราะท่านไม่
บอกที่ ท่ี ท่ า นจะพั ก อยู่ สุ ด ทู า ยก็ เ ลยไม่ ไ ดู เ รื่ องราวจนป่ านนี้
น่ าสงสาร ทั้งท่านก็แก่แลูว ไม่น่าจะเป็ นเอาขนาดนั้น
ฝ่ ายท่านอาจารย์เกิดความสลดใจ ที่ท้าคุณไดูโทษ โปรด
สั ต ว์ ไ ดู บ าป เราคิ ด แลู ว แต่ แ รกที่ เ ห็ น อาการไม่ ดี เ วลาถาม
ปั ญหา จากวันนั้ น มาแลู วก็มิ ไดู สนใจคิด และส่ง กระแสจิ ต ไป
ถึงขรัวตาอีก เพราะกลัวจะไปเจอเอาเรื่องที่เคยเจอ แลูวก็มา
เป็ นดังที่คิดจนไดู ท่านคิดในใจขณะที่ทราบเรื่องจากโยมเล่า
ใหูฟัง และไดูพูดกับโยมบูางเล็กนูอยเกี่ยวกับปั ญหาที่เขาเล่า
ใหูท่านฟั ง ว่าอาตมาก็พูดไปธรรมดาในฐานะคูุนเคยกัน ทีเล่น
ทีจริงบูางอย่างนั้นเอง ไม่คิดว่าจะเป็ นเรื่องใหญ่โตถึงกับพาใหู
ขรัวตาตูองรูางวัดรูางวาหนี ไปเช่นนั้น
เรื่องของขรัวตาเป็ นเรื่องส้า คัญต่อท่านอาจารย์ไม่นูอย
ตลอดมา ในการที่จะปฏิบัติต่อบรรดาผููท่ีมาเกี่ยวขูองทั้งใกลู
และไกล เกรงว่าเรื่องจะซ้้ารอยเขูาอีกหากไม่สนใจคิดไวูก่อน
จากนั้นมาแลูว ท่านว่าท่านไม่เคยทักใครเกี่ยวกับความคิดนึ ก
ดีช่ัว เพียงพูดเป็ นอุบายไปเท่านั้น เพื่อผููน้ันระลึกรููตัวเอาเอง
โดยมิใหูกระเทือนใจ เพราะใจคนเราย่อมเป็ นเหมือนเด็กอ่อน
ที่เพิ่งฝึ กหัดเดินกะเปะกะปะไปตามเรื่อง ผููใหญ่เป็ นเพียงคอย
ดู แ ลสอดส่ องเพื่ อมิ ใ หู เ ด็ ก เป็ นอั น ตรายเท่ า นั้ น ไม่ จ้า ตู อ งไป
กระวนกระวายกั บ เด็ ก ใหู ม ากไป ใจของสามั ญ ชนก็ เ ช่ น กั น
ปล่ อ ยใหู คิ ด ไปตามเรื่ อง ถู ก บู า งผิ ด บู า ง ดี บู า งชั่ ว บู า งเป็ น
ธรรมดา จะใหูถก ู ตูองดีงามอยู่ตลอดเวลาย่อมเป็ นไปไม่ไดู
ท่านว่า ท่านพักอยู่ท่ีถ้ านั้นไดูความรููและอุบายแปลก ๆ
ต่ า ง ๆ มากมาย ทั้ ง เป็ นเรื่ องภายในโดยเฉพาะ ทั้ ง เกี่ ย วกั บ
เรื่องภายนอกไม่มีประมาณ ท่านเกิดความอาจหาญร่าเริงใน
ขู อ ปฏิ บัติ จนลื ม เวล้่ าเวลา ไม่ ค่ อ ยไดู ส นใจกั บ วั น คื น เดื อ นปี
อะไรนัก ความรููภายในใจเกิดขึ้นทุกระยะเหมือนน้้าไหลรินใน
ฤดูฝน บางวันตอนบ่ายอากาศโปร่ง ๆ ท่านก็เดินเที่ยวชมป่ า
ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 39
40

ชมเขา ภาวนาไปเรื่อย ๆ ท้าใหูเพลินใจไปตามทัศนี ยภาพที่มี


อยู่เป็ นอยู่ตามธรรมชาติของมัน เย็น ๆ หน่ อยค่อยลงมาถ้้า ที่
ที่ท่านพักอยู่ สัตว์ป่าชนิ ดต่าง ๆ มีมาก พืชผลอันเป็ นอาหาร
ธรรมชาติ ก็ มี ม าก จ้า พวกสั ต ว์ ป่ าที่ อ าศั ย ผลไมู เ ป็ นอาหาร
เช่น ลิง ค่าง บ่าง ชะนี ก็รูสึกว่าเขาเพลิดเพลินไปตามภาษา
ของเขา เวลาเขามองเห็ น เราก็ ไ ม่ แ สดงอาการกลั ว ต่ า งตั ว
ต่างหากินไปตามภาษา
ท่านว่าท่านก็เพลินไปกับเขาดูวยความเมตตาสงสาร ว่า
เขาก็เป็ นเพื่อนเกิดแก่เจ็บตายเช่นเดียวกันกับเรา ไม่มีอะไร
ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน แมูวาสนาบารมีของสัตว์กับมนุษย์ต่างก็มี
เช่นเดียวกัน ส่วนความยิ่งหย่อนแห่งวาสนาบารมีน้ันย่อมมีไดู
ทั้ ง คนและสั ต ว์ นอกจากนั้ น สั ต ว์ บ างตั ว ที่ มี ว าสนาบารมี แ ก่
กลู า และอั ธ ยาศั ย ดี ก ว่ า มนุ ษ ย์ บ างรายยั ง มี อ ยู่ ม าก แต่ เ วลา
เขาตกอยู่ในภาวะความเป็ นสัตว์ก็จ้า ตูองทนรับเสวยไป เช่น
เดียวกับมนุษย์เราแมูไดูมาเกิดเป็ นมนุษย์ ซึ่งจัดว่าเป็ นชาติท่ี
สูงกว่าสัตว์ แต่ขณะที่ตกอยู่ในความทุกข์จนขูนแคูนก็จ้า ตูอง
ทนเอาจนกว่ า จะสิ้ น กรรมหรื อ สิ้ น วาระของมั น แลู ว มี ส่ ว นดี
เขูามาแทนที่ใหูรับเสวยผลสืบต่อไปตามวาระดังที่เห็น ๆ กัน
อยู่ เพราะฉะนั้ น ท่ า นจึ ง สอนไม่ ใ หู ดู ถู ก เหยี ย ดหยามชาติ
ก้าเนิ ดความเป็ นอยู่ของกันและกัน และสอนว่าสัตว์ท้ังหลายมี
กรรมดีช่ัวเป็ นของของตน
พอตกเย็นท่านก็ท้า ขูอวัตรปั ดกวาดหนูาถ้้าบริเวณที่อยู่
อาศั ย เสร็ จ แลู ว ก็ เ ริ่ ม ท้า ความเพี ย ร โดยวิ ธี เ ดิ น จงกรมบู า ง
นั่ ง สมาธิ บู า ง จิ ต ท่ า นมี ค วามเจริ ญ กู า วหนู า ทั้ ง ทางสมาธิ
ความสงบใจ ทั้งทางปั ญญา พิจารณาแยกส่วนแบ่งส่วนแห่ง
ธาตุขันธ์ลงในไตรลักษณญาณ ปรากฏเป็ นความมั่นใจขึ้นเป็ น
ล้าดับ

พระสาวกอรหันต์มาแสดง

บางคืนปรากฏมีพระสาวกอรหันต์มาแสดงธรรมใหูท่าน
ฟั งตามทางอริย ประเพณี โดยปรากฏทางสมาธินิ มิต เป็ นใจ
ความว่า วิธีเดินจงกรมตูองใหู อยู่ ในท่ าส้า รวมทั้ง กายและใจ
ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 40
41

ตั้งจิตและสติไวูท่ีจุดหมายของงานที่ตนก้า ลังท้า อยู่ คือก้า ลัง


ก้าหนดธรรมบทใดอยู่ พิจารณาขันธ์ใดอยู่ อาการแห่งกายใด
อยู่ พึงมีสติอยู่กับธรรมหรืออาการนั้น ๆ ไม่พึงส่งใจและสติไป
อื่น อันเป็ นลักษณะของคนไม่มีหลักยึด ไม่มีความแน่ นอนใน
ตัวเอง การเคลื่อนไหวไปมาในทิศทางใดควรมีความรููสึกดูวย
สติ พ าเคลื่ อนไหว ไม่ พึ ง ท้า เหมื อ นคนนอนหลั บ ไม่ มี ส ติ ต าม
รัก ษาความกระดุกกระดิก ของกาย และความละเมอเพู อ ฝั น
ของใจในเวลาหลับของตน การบิณฑบาต การขบฉัน การขับ
ถ่ า ย ควรถื อ อริ ย ประเพณี เ ป็ นกิ จ วั ต รประจ้า ตั ว ไม่ ค วรท้า
เหมือนคนผููไม่เคยอบรมศีลธรรมมาเลย พึงท้า เหมือนสมณะ
คื อ เพศของนั ก บวชอั น เป็ นเพศที่ ส งบเยื อ กเย็ น มี ส ติ ปั ญญา
เครื่องก้าจัดโทษที่ฝังลึกอยู่ภายในอยู่ทุกอิริยาบถ การขบฉัน
พึงพิจารณาอาหารทุกประเภทดูวยดี อย่าปล่อยใหูอาหารที่มี
รสเอร็ดอร่อยตามชิวหาประสาทนิ ยมกลายมาเป็ นยาพิษแผด
เผาใจ แมูร่างกายจะมีก้าลังเพราะอาหารที่ขาดการพิจารณา
เขูาไปหล่อเลี้ยง แต่ใจจะอาภัพเพราะรสอาหารเขูาไปท้าลาย
จะกลายเป็ นการท้าลายตนดูวยการบ้ารุงคือท้าลายใจ เพราะ
การบ้ารุงร่างกายดูวยอาหารโดยความไม่มีสติ
สมณะไปที่ ใ ด อยู่ ท่ี ใ ด ไม่ พึ ง ก่ อ ความเป็ นภั ย แก่ ตั ว เอง
และผููอ่ ืน คือไม่ส่ังสมกิเลสสิ่งน่ ากลัวแก่ตัวเองและระบาดสาด
กระจายไปเผาลนผูู อ่ ืน ค้า ว่ากิเลส อริยธรรมถือเป็ นสิ่งที่น่า
กลั ว อย่ า งยิ่ ง พึ ง ใชู ค วามระมั ด ระวั ง ดู ว ยความจงใจ ไม่
ประมาทต่อกระแสของกิเลสทุก ๆ กระแส เพราะเป็ นเหมือน
กระแสไฟที่จะสังหารหรือท้า ลายไดูทุก ๆ กระแสไป การยืน
เดิน นั่ง นอน การขบฉัน การขับถ่าย การพูดจาปราศรัยกับผูู
มาเกี่ยวขูองทุก ๆ ราย และทุก ๆ ครั้งดูวยความส้า รวม นี่ แล
คื อ อริ ย ธรรม เพราะพระอริ ย บุ ค คลทุ ก ประเภทท่ า นด้า เนิ น
อย่างนี้ กันทั้งนั้น ความไม่มีสติ ไม่มีการส้า รวม เป็ นทางของ
กิเ ลสและบาปธรรม เป็ นทางของวั ฏฏะลู วน ๆ ผููจ ะออกจาก
วัฏฏะจึงไม่ควรสนใจกับทางอันลามกตกเหวเช่นนั้น เพราะจะ
พาใหูเป็ นสมณะที่เลว ไม่เป็ นผููอันใคร ๆ พึงปรารถนา อาหาร
เลวไม่มีใครอยากรับประทาน สถานที่บูานเรือนเลวไม่มีใคร
อยากอยู่อาศัย เครื่องน่ ุ งห่ มใชูส อยเลว ไม่ มีใครอยากน่ ุง ห่ม
ใชูสอยและเหลือบมอง ทุกสิ่งที่เลวไม่มีใครสนใจ เพราะความ
รั ง เกี ย จโดยประการทั้ ง ปวง คนเลว ใจเลว ยิ่ ง เป็ นบ่ อ แห่ ง
ความรังเกียจของโลกผููดีท้ังหลาย ยิ่งสมณะคือนักบวชเราเลว
ดูวยแลูว ก็ย่ิงเป็ นจุดทิ่มแทงจิตใจของทั้งคนดีคนชั่ว สมณะชี
ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 41
42

พราหมณ์ เทวบุ ต รเทวดาอิ น ทร์ พ รหมไม่ เ ลื อ กหนู า จึ ง ควร


ส้ารวมระวังนักหนา

ประวัติท่านพระอาจารย์มัน
่ ภูรท
ิ ัตตเถระ 42

You might also like