You are on page 1of 20

เสน่ห์บ้านไม้

เรือ่ งชุดปกส�ำหรับเล่มประจ�ำเดือน มิถนุ ายน 2554 หรือ เล่มที่ 18 เราน�ำเสนอ


ชุดบ้านไม้ หรือบ้านทีม่ ไี ม้เป็นองค์ประกอบหลักในการก่อสร้าง

หากกล่าวถึงไม้ๆ ถือเป็นวัสดุที่ให้สัมผัสธรรมชาติ กลุม่ บ้านเลขที่ ๙ ย่านสุขสวัสดิ-์ ราษฎร์บรู ณะ ทีอ่ อกแบบ


ได้ล�้ำลึกเป็นพิเศษ เพราะไม้มีคุณสมบัติเฉพาะตัวดังที่ อยูเ่ อง และมีไม้เป็นเจ้าเรือนว่า เป็นบ้านไทยโพสต์โมเดิรน์
เสาแต่ละต้น หรือ ไม้แต่ละแผ่น ต่างมีเรือ่ งราวเฉพาะตัว ซึง่ หมายถึงการผสานภูมปิ ญ ั ญาไทยเข้ากับงานสมัยใหม่
ของตัวมันเองตามประเภทและอายุของต้นไม้ทถี่ กู น�ำมา ส่วนความเป็นไทยทีเ่ จ้าของบ้านกล่าวถึงนัน้ แสดงตัวผ่าน
แปรรูป    การจัดวางโครงสร้างทีใ่ ห้ความส�ำคัญกับการถ่ายเทของ
โดยบ้านหลังแรกอยูท่ หี่ มูบ่ า้ นสันผีเสือ้   ของ อาจารย์ อากาศทีส่ อดคล้องกับภูมอิ ากาศร้อนชืน้ เช่นประเทศไทย
จุลทัศน์ กิติบุตร ศิลปินแห่งชาติ สาขาสถาปัตยกรรม ซึ่งเป็นการแสดงความเป็นตะวันออกผ่านภูมิปัญญา
ร่วมสมัย ปี 2548  ซึง่ แล้วเสร็จก่อนฝนแรกสาดเชียงใหม่ ดัง้ เดิมไม่ใช่รปู แบบ
ไม่ถงึ เดือน  มาถึงหลังที่สาม บ้านไม้หลังนี้อยู่ที่ลำ� พูนเป็น ของ
บ้านหลังนีผ้ อู้ อกแบบรังสรรค์โดยเปลีย่ นยุง้ ข้าวจาก อาจารย์เผ่าทอง ทองเจือ ตัวบ้านมีชนั้ เดียว สถาปนิกยึด
อ�ำเภอสารภี ให้เป็น บ้านล้านนาประยุกต์ ด้วยการแสดง แนวเรือนพืน้ ถิน่ ในเขตภาคเหนือ ทีเ่ น้น ความเรียบง่าย
คานและเสา ซึง่ เป็นโครงสร้างเด่นของยุง้ ข้าว ผสานเข้า และนอบน้อมต่อธรรมชาติ ในการออกแบบ ส่วนการ
กับการตกแต่งภายในทีล่ ะเมียดละไมตามสไตล์ของตน  ตกแต่งภายในดูจัดจ้านกว่าตัวบ้านมาก เพราะเจ้าของ
ได้อย่างเหมาะเจาะ ท�ำให้ได้บา้ นงดงามทีส่ ดุ อีกหลังหนึง่ ใช้พื้นที่ส่วนหนึ่งเป็นพิพิธภัณฑ์ผ้าโบราณ ที่เจ้าตัว
หรือ อูแ้ บบก�ำเมืองก็วา่ “งามแต๊ๆ” โปรดปราน  ส่วนล�ำดับสุดท้ายของรายงานชุดบ้านไม้ คือ 
ส่วนบ้านหลังถัดมาเป็น เป็นบ้านของสถาปนิกแถว อินสดา รีสอร์ท (ไม้) กลางหุบเขาที่ เชียงใหม่
หน้าคนหนึง่ ของเมืองไทย ผศ.พิรสั พัชรเศวต สถาปนิก รีสอร์ตแห่งนีอ้ อกแบบตามสมัยนิยมคือ ผสมผสาน
เจ้าของงานแนว”สมัยใหม่”มากมายรวมทัง้ โครงการใหญ่ ทัง้ สไตล์ตะวันออกและตะวันตกเข้าด้วยกัน
อย่างสะพานพระราม 8  ผศ. พิรสั หรือ อาจารย์พริ สั   จัด ทัง้ หมดคือรายปกเรือ่ ง ชุดบ้านไม้ !!!
2011
June 2011
d&D magazine : June

[38]
The Charm of Wooden House
Our cover story for June 2011 or the 18th issue features wooden house
collection or house that uses wood as the main construction material.
Wood is a material that incredibly reflects the tion of Thai wisdom and modern architecture as the
beauty of nature as it has its own uniqueness. Each construction focuses on the flowing of wind through-
and every pillar and slat has its own story,depending out the house to be in line with the tropical weather
on the species and ages of the trees. in Thailand which is the eastern way of designing a
The first house is situated on San Peesue Village house.
owned by national artist in contemporary architecture The third wooden house is located in Lampoon
field in 2005, Prof Chulathat Kitibutr. The house was owned by Prof Paothong Thongjeua. The design of
completely constructed one month before the rainy this one-storey house reflects the northern influence
season hit Chiang Mai by transforming a barn from with simplicity and humble to the nature. While the
Sarapee District to a Lanna-style house. It maintains interior design is bold as the owner uses some space
the barn construction base like beam and pillar mix as the antique fabric museum. The last wooden
with an interior design by the owner, creating a stun- house is Insda Resort on the hillside of Chiang Mai
ning house or “Ngam Tae Tae” in Northern Language which designed under the proper mixture of eastern
that means “so beautiful”. and western style. All of which is our cover story about
The next house is owned by Thailand’s leading wooden house collection!!!
architect, Asst Prof Pirast Pacharaswate, who is
renowned for his “modern” creation including the
mega Rama 8 Bridge. Prof Pirast said that his number
9 house on Ratburana area where he designed and
lives is a Post-Modern style house that uses wood as
the main material. The house has the right combina-

2011
June 2011
d&D magazine : June

[39]
เปลีย่ นยุง้ ข้าว...เป็น
Cover Story

บ้านล้านนาประยุกต์
อาจารย์จลุ ทัศน์ กิตบิ ตุ ร เปิดบ้านหลังล่าสุดทีต่ ำ� บลสันผีเสือ้
จังหวัดเชียงใหม่ ให้ทีมงานนิตยสาร d&D (design & Décor)
เข้าไปเก็บภาพของสถาปัตยกรรมทีน่ ำ� เอายุง้ ข้าวจากอ�ำเภอสารภี
ในแบบของล้านนาที่เป็นเรือนไม้ยกพื้นสูง มาเป็นบ้านในแบบ
ล้านนาประยุกต์ทอี่ าจารย์ออกแบบโดยคงโครงสร้างเสาคานของ
ยุง้ ข้าวเอาไว้แล้วเพิม่ ฟังก์ชนั่ การใช้งานเข้าไปท�ำให้กลายเป็นเรือน
ไม้  2 ชัน้ ขนาด 2 ห้องนอน ทีม่ พี นื้ ทีเ่ ปิดโล่งทัง้ ชัน้ บนและชัน้ ล่าง
เป็นงานทีค่ งสถาปัตยกรรมเดิมแต่ถกู เปลีย่ นฟังก์ชนั่ การใช้งานจาก
ยุง้ ข้าวมาเป็นทีพ่ กั อาศัยแทน

Home Owner: Chulathat Kitibutr


Architectural Style: Modern Lanna
Decoration: Contemporary
Space: More than 200 square meters
Story by d&D team
Photos by Supachai Rodprachong

01 เจ้าของบ้าน: จุลทัศน์ กิติบุตร


ตัวบ้านที่ปรับโฉมจาก สถาปัตยกรรม: ล้านนาประยุกต์
d&D magazine : June 2011

ยุ้งข้าวมาเป็นบ้าน ตกแต่งภายใน: ร่วมสมัย


ในแบบล้านนาร่วมสมัย พื้นที่ใช้สอย: มากกว่า 200 ตารางเมตร
02
ไม้ซุงที่ถูกนำ�มาออกแบบ เรื่อง: กองบรรณาธิการ
เป็นเก้าอี้สนามที่ให้อารมณ์ ภาพ: สุภชัย รอดประจง
แบบดิบๆ
03
03 ยุ้งข้าวที่แปลงสภาพมาเป็น
ห้องรับแขกที่โชว์โครงเสา
คาน และงานไม้
[4]
01
Transform Rice Barn
Modern Lanna House
into...
d&D magazine : June 2011

National artist Prof Dr Chulathat Kitibutr or “Acharn Chulathat”


opened his latest house in San Phi Sua suburb of Chiang Mai for the
team of d&D (design & Décor) magazine to have a look and take photos
of the barn-turn-house architecture. The Lanna-style, lifted-floor barn,
which was acquired from Saraphi district, is wisely transformed into a
02 modern Lanna house.

[5]
04 05 With his design creativity, the barn’s structural columns and beams
ห้องพักคนงาน มุมทำ�งานในห้องนอน are cleverly maintained and new functions are added. It became a
ที่อยู่ด้านหน้าของบ้าน ชั้นล่าง
ที่ออกแบบในสไตล์ 06 two-storey, two-bedroom house with open space both on the first and
ล้านนา พื้นที่รับแขกแบบเปิดโล่ง second floor.
บริเวณชั้นล่าง The building architecture is conserved but its function changes
from a barn to a residential purpose.

ยุง้ ข้าวประยุกต์
ยุ้งข้าวที่ถูกแปลงโฉม (Transform) เป็นที่อยู่อาศัยมาจากแรง
บันดาลใจของสถาปนิกระดับปรมาจารย์ดา้ นสถาปัตยกรรมล้านนา ที่
d&D magazine : June 2011

เห็นโครงสร้างของยุง้ ข้าวในแบบล้านนาทีเ่ ป็นเรือนยกพืน้ สูงทีโ่ ครงสร้าง


เสาและคานทีช่ ดั เจนโดยเฉพาะไม้ซงุ เก่าทีม่ อี ายุหลายสิบปีทถี่ กู น�ำมา
ท�ำเป็นเสาและคานของยุง้ ข้าวแบบล้านนาโบราณทีอ่ าจารย์จลุ ทัศน์ ซือ้
มาจากอ�ำเภอสารภี และน�ำมาประกอบไว้ทตี่ ำ� บลสันผีเสือ้ ถูกดัดแปลง
06 การใช้งานใหม่ให้เป็นเรือนพักผ่อนอีกหนึง่ หลัง

[6]
05
04

[7]
d&D magazine : June 2011
07 09 The Vivid Transformation of Barn
งานตกแต่งที่ผสมผสาน ปูนเปลือยแบบดิบๆ Transforming the barn into a house came from an imagination of the
ระหว่างงานผ้าและงานไม้ ของห้องนํ้าแบบเปลือย veteran architect of northern-style architecture, who saw the traditionally-
ในแบบล้านนาประยุกต์ Lanna rice barn with lifted floor has a clear structure of columns and
08
งานปูนเปลือยที่ลงตัว beams, especially those from old logs dated back several ten years
กับงานไม้สไตล์คลาสสิค ago. Acharn Chulathat bought this barn from Saraphi district for reas-
sembly in San Phi Sua suburb where it has been transformed into his
cozy house.

อาจารย์จลุ ทัศน์ เล่าว่า เหตุผลทีเ่ อายุง้ ข้าวมาเปลีย่ นฟังก์ชนั่ การ


ใช้งานเป็นเรือนพักผ่อนเพราะโครงสร้างของยุ้งข้าวมีเสาและคานที่
สวยงามมากเลยอยากเอามาดัดแปลงเป็นเรือนพักผ่อน แต่ปญ ั หาของ
d&D magazine : June 2011

ยุง้ ข้าวล้านนา คือการยกพืน้ สูง ท�ำให้พอเอามาท�ำเป็นบ้าน ก็เลยต้องตัด


เสาออกบางส่วนเพือ่ ให้ได้บา้ นทีม่ สี ดั ส่วนทีพ่ อเหมาะพอดี
    จากนัน้ ก็ปรับเปลีย่ นการใช้งานชัน้ บนทีเ่ ป็นยุง้ ข้าวเป็นส่วนพักผ่อนที่
เปิดพืน้ ทีโ่ ล่งทีม่ องเห็นทัศนียภาพโดยรอบของบ้านและมีหอ้ งนอนอยูช่ นั้
09 บนและเพิม่ การใช้งานในส่วนของห้องน�ำ้ เข้าไป

[8]
08
07

[9]
d&D magazine : June 2011
10 12 Acharn Chulathat noted that the reason he made a conversion of
โฉมหน้าของยุ้งข้าว งานตกแต่งที่สื่อสาร old barn into a home was because the barn has beautiful structural
ที่แปลงโฉมเป็นบ้านพัก ถึงความเป็นล้านนา
ที่ดูเรียบแต่เท่ห์ columns and beams, so he wanted to transform it into a relaxing place.
11 However, the Lanna-style barn still has a problem with its floor, which is
ลานซีเมนต์สำ�หรับนั่งสบายๆ lifted from the ground. Then, its structural columns need to trim down
บนชั้น 2 ของบ้าน for a proper use during the process of transformation.

     ส่วนพืน้ ทีช่ นั้ ล่างท�ำเป็นห้องครัว พร้อมกับห้องนอนบริเวณชัน้ ล่างอีก


1 ห้อง และแบ่งพืน้ ทีช่ นั้ ล่างบางส่วนเป็นพืน้ ทีร่ บั แขกและพักผ่อนโดย
d&D magazine : June 2011

ออกแบบให้มสี ระว่ายน�ำ้ ไว้ดา้ นหน้าของบ้าน


    โครงสร้างหลักของบ้านเป็นไม้เนื้อแข็งที่มีพื้นผิวสัมผัสในแบบของ
ยุง้ ข้าวยุคเก่า ในขณะทีพ่ นื้ และผนังอาจารย์จลุ ทัศน์ เลือกใช้ไม้สกั ทีม่ ี
พืน้ ผิวและลายไม้เข้ากับการตกแต่งภายในทีเ่ ลือกใช้เฟอร์นเิ จอร์ไม้และ
12 ผ้าทอในแบบร่วมสมัย

[10]
11
10

[11]
d&D magazine : June 2011
13 15, 16 After that, the function on the upper floor is turned into a relaxing
งานตกแต่งภายในที่เน้น งานจักสาน และงานทำ�มือ area, which also has open space to impress outside views around
ผ้าและเครื่องจักสาน ที่เห็นในมุมต่างๆ
เพิ่มความอบอุ่นให้กับผู้มาเยือน ของบ้าน the house. Also on the upper floor is a master bedroom, which has a
14 bathroom as well.
ลานอาบนํ้าแบบเปลือย On the lower floor, the space is created into a kitchen and a bed-
ในสไตล์อาจารย์จุลทัศน์ room. Some space is designated for a living room and relaxing area,
which can see a swimming pool in front of the house.

แนวคิดการปรับเปลี่ยนโครงสร้างของยุ้งข้าวมาเป็นบ้านพักอาศัย
อาจารย์จุลทัศน์อธิบายว่า เราไม่ได้จ�ำกัดอยู่ที่การใช้งานไม้เท่านั้นแต่
ผสมผสานงานไม้เข้ากับวัสดุสมัยใหม่อย่างปูนและกระเบือ้ ง ทีน่ ำ� เอามา
d&D magazine : June 2011

ประยุกต์ให้เข้ากับโดยใช้โครงสร้างทีแ่ ข็งแรงของยุง้ ฉางเดิมเป็นหลัก แล้ว


น�ำมาปรับเปลีย่ นรูปแบบการใช้งานเพือ่ ทีจ่ ะให้เห็นว่า งานสถาปัตยกรรม
ไม่ได้ถกู จ�ำกัดอยูแ่ ค่โครงสร้างการใช้งานเดิม แต่เราสามารถทีจ่ ะปรับ
เปลีย่ นสถาปัตยกรรมทีม่ คี วามงามอยูเ่ ดิมให้เป็นสถาปัตยกรรมร่วมสมัย
15 16 ทีใ่ ช้งานได้ในปัจจุบนั

[12]
14
13

[13]
d&D magazine : June 2011
17, 18 The home’s main structure still uses hard wood, which has a texture
ห้องนอนในแบบล้านนา feeling of old-style barn. Acharn Chulathat also chose to use teak wood
ในมุมต่างๆ
for floors and walls, which can get along well with wooden furniture and
fabric for the contemporary style of interior decoration.
“We should not only use wood but also harmonise it with modern
construction materials such as concrete and ceramic tiles,’’ Acharn
Chulathat explained about his barn transformation idea.

    เรียกว่าเป็นการผสมผสานความงามในอดีตเข้ากับการใช้งานใน
ปัจจุบนั
     ในขณะทีท่ มี งานทีเ่ ข้าไปเก็บภาพบ้านของอาจารย์ทเี่ ชียงใหม่ หลังฝน
d&D magazine : June 2011

ตกหมาดๆ ช่วยเติมบรรยากาศให้บา้ นล้านนาทีร่ งั สรรค์จากยุง้ ข้าวหลังนี้


งามและน่าอยูจ่ ริงๆ

[14]
18
17

[15]
d&D magazine : June 2011
[16]
d&D magazine : June 2011

19
20 21

19, 20, 21, 22


ห้องนํ้าแบบเปลือยๆ
ในมุมต่างๆ ของบ้าน

Modern materials can be applied with the barn’s solid structure and
then its style and function can be adjusted to reflect that the beautiful
architecture has no limit to only its original purpose. It can become a
contemporary architecture that can serve today’s lifestyle.
It’s a good harmony of old beauty and modern function.
d&D magazine : June 2011

The rain just stopped when the team went inside to take photos of
Acharn Chulathat’s resident in Chiang Mai. This added up the feeling
of Lanna-style house, which has been transformed from the rice barn,
as a warm and cozy place

22

[17]
[18]
d&D magazine : June 2011
Growing Green with INSEE
เรื่อง: กองบรรณาธิการ
 ภาพ: กุลพัชร์ โชคพิทักษ์กุล,
บริษัท ปูนซีเมนต์นครหลวง จำ�กัด(มหาชน)

01 02

INSEE Junior English Camp


เมล็ดพันธุ์สีเขียวจากปูนอินทรี สู่ เยาวชน
ภายใต้แนวคิด “โลกน่าอยู่ คูห่ วั ใจสีเขียว: Green Heart” ของบริษทั ปูนซีเมนต์นครหลวง จ�ำกัด (มหาชน) หรือ ปูนอินทรี นอกจากให้
ความส�ำคัญกับการปรับโครงสร้างการผลิต การบริหารจัดการ ร่วมไปถึงการรณรงค์ให้กบั พนักงานและคูค่ า้ ให้คำ� นึงถึงสิง่ แวดล้อมแล้ว

01 05 คุณจันทนา สุขมุ านนท์ รองประธานบริหาร (การตลาด


อินทรีจูเนียร์ น้องๆ อินทรีจูเนียร์ และงานขาย) บริษทั ปูนซีเมนต์นครหลวง จ�ำกัด (มหาชน)
ที่ไทยถีบ หน้าตาสดใส มีแนวคิดทีจ่ ะปลูกฝังแนวคิดเรือ่ งการอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม
02 06
กิจกรรมปลูกป่า คุณเอก ผู้ดูแล และเพิ่ ม พู น ทั ก ษะด้ า นภาษาอั ง กฤษให้ กั บ เยาวชน
ชายเลน โครงการ โดยริเริ่มโครงการ INSEE Junior English Camp ขึ้น
03 07,08,09
เด็กๆ อินทรี ครูฝรั่งผู้ดูแล ตัง้ แต่ปี 2548 มาถึงปัจจุบนั  
ปั่นจักรยานชม และฝึกสอน ล่าสุดเมือ่ เดือนเมษายน ทีผ่ า่ นมา โครงการดังกล่าว
วิถีชีวิตชาวบ้าน ภาษาอังกฤษ ได้นำ� เยาวชนเกือบ 100 คน เข้าร่วมกิจกรรมกับโครงการ
04 ให้กับน้องๆ
คลาสเรียน 10 โดยแบ่งกลุม่ เยาวชนออกเป็น 3 กลุม่ อายุเพือ่ เดินทางไป
ภาษาอังกฤษ กิจกรรมต่างๆ ร่วมกิจกรรมกันใน 3 แห่งในช่วงกลางเดือนเมษายน ทีผ่ า่ น
ในชั้นเรียน มา อาทิ เยาวชนอายุตงั้ แต่ 9-12 ปี เป็นกลุม่ ทีเ่ รียกว่า
Inbound Camp จ� ำ นวน 45 คนร่ ว มเดิ น ทางไป
ท�ำกิจกรรมทีจ่ งั หวัดสุพรรณบุรี เป็นระยะเวลา 1 สัปดาห์
เยาวชนอายุตั้งแต่ 13-16 ปี เป็นกลุ่มที่เรียกว่า
Pre-Outbound Camp จ�ำนวน 33 คน ร่วมเดินทางไปท�ำ
03 กิจกรรมที่อัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม และหัวหิน
04 จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ เป็นระยะเวลา 10 วัน และเยาวชน
อายุตงั้ แต่ 17-20 ปี เป็นกลุม่ ทีเ่ รียกว่า Outbound Camp
จ�ำนวน 20 คน ร่วมเดินทางไปท�ำกิจกรรมกันที่เมือง
Bournemouth ประเทศอังกฤษ เป็นระยะเวลา 1 เดือน
 
“หัวใจสีเขียว” กับ
INSEE Junior English Camp 2011
คุณกิตติ พัฒนวศิน senior customer events
specialist, Integrated Customer Communications
d&D magazine : June 2011

Department บริษทั ปูนซีเมนต์นครหลวง จ�ำกัด (มหาชน)


ผู้ดูแลโครงการ INSEE Junior English Camp ให้
สัมภาษณ์ นิตยสาร d&D (design & Décor) ถึงแนวคิด
ในการจัดกิจกรรม INSEE Junior English Camp 2011
ว่า แนวคิดในปีนเี้ ป็นแนวคิดทีต่ อ่ เนือ่ งจากปี 2553 ทีเ่ น้น
เรือ่ งของสิง่ แวดล้อม ผ่านกิจกรรมต่างๆ ของแต่ละค่าย

[114]
05 06 07

08 09

10

อาทิ ค่ายของเยาวชนรุน่ 9-12 ปี เราก็จดั กิจกรรมให้เด็ก ไม่ทงิ้ ขยะแล้ว ยังต้องรูจ้ กั ทีจ่ ะดูแลธรรมชาติไปพร้อมๆ
ได้ไปทัศนศึกษาเกี่ยวกับการท�ำนา และเรียนรู้เกี่ยวกับ กันด้วย ใน ขณะที่น้องแป้ง คณิศร ศลิษฎ์อรรถกร
ธรรมชาติทบี่ งึ ฉวากจังหวัดสุพรรณบุรี วัย 15 ปี จากจังหวัดกาญจนบุรี และน้องเจมส์ จิรกันต์
ส่วนเยาวชนอายุ 13-16 ปี เราพาไปร่วมกิจกรรม นิมมากุลวิรตั น์ วัย 16 ปี บอกว่าทัง้ คูช่ อบกิจกรรมปลูกป่า
ปลูกต้นไม้ ไปพร้อมๆ กับการให้ความรูด้ า้ นภาษาอังกฤษ และปัน่ จักรยาน เพราะทัง้ สองกิจกรรมท�ำให้รจู้ กั การดูแล
และการออกแบบหน้า Facebook เพือ่ เล่าเรือ่ งราวจาก ธรรมชาติ และในขณะเดียวกันก็เรียนรูท้ จี่ ะใช้ชวี ติ อย่าง
การเดินทางไปที่อัมพวา และหัวหิน เช่นเดียวกับกลุ่ม เรียบง่าย นอกเหนือจากความรูด้ า้ นภาษาอังกฤษทีไ่ ด้รบั
เยาวชนอายุ 17-20 ปี  ที่ ไ ปดู ง านเกี่ ย วกั บ การ ตลอดระยะเวลา 10 วันของการท�ำกิจกรรม
ดูแลสภาพแวดล้อมที่เมือง Bournemouth ประเทศ จากประสบการณ์และการตอบรับจากเยาวชนที่
อังกฤษ พร้อมๆ กับการฝึกทักษะด้านภาษาอังกฤษ เข้าร่วมกิจกรรม  INSEE Junior English Camp 2011
น้องณัฐชนน นินยวี หรือน้องเบน วัย 16 ปี จากจังหวัด เชือ่ ว่า โครงการดังกล่าวเป็นจุดเริม่ ต้นทีเ่ พาะเมล็ดพันธุ์
อุดรธานี หนึง่ ในเยาวชนทีเ่ ข้าร่วมกิจกรรม INSEE Junior แห่งการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไว้ในใจเด็กๆ
English Camp 2011 ที่อัมพวาและหัวหิน เล่าให้ ไปพร้อมกับความรูด้ า้ นภาษาอังกฤษ เมือ่ เมล็ดพันธุถ์ กู
ทีมงานฟังถึงประสบการณ์ทไี่ ด้รบั จากการเข้าร่วมกิจกรรม ปลูกลงไปแล้ว ก็รอการเจริญเติบโตและงอกงามจนกลาย
ครัง้ นีว้ า่ นอกจากความสนุกสนานทีไ่ ด้รจู้ กั เพือ่ นใหม่อกี เป็นหัวใจสีเขียว หรือ Green Heart ทีม่ สี ว่ นในการสร้าง
32 คนแล้ว โดยส่วนตัวยังรูส้ กึ ว่ามีความมัน่ ใจมากขึน้ ทีจ่ ะ โลกทีน่ า่ อยูอ่ ย่างยัง่ ยืน แล้วพบกับ INSEE Junior English
สือ่ สารภาษาอังกฤษกับชาวต่างชาติรว่ มไปถึงแนวความ Camp 2012 ในปีหน้า
คิดเกีย่ วกับสิง่ แวดล้อมทีส่ ามารถน�ำไปใช้ได้ในชีวติ ประจ�ำ
วันอย่างการไม่เปิดแอร์ตลอดเวลา และรู้จักที่จะปิดไฟ
ดวงทีไ่ ม่ใช้
น้อง มิ้น ณัฐพร ชีวัตร์ อายุ 13 ปี จากจังหวัด
ก�ำแพงเพชร และน้องโอปอล ศุภวิทย์ กาลเวชกิจ อายุ
13 ปี จากจังหวัด ร้อยเอ็ด เป็นเยาวชนทีเ่ พิง่ ได้มโี อกาส
d&D magazine : June 2011

ร่วมกิจกรรม Pre-outbound กับปูนอินทรี เป็นครัง้ แรกเล่า


ว่า นอกจากความรูเ้ รือ่ งภาษาอังกฤษ และการรูจ้ กั เพือ่ น
ใหม่แล้ว เขาตั้งสองยังเรียนรู้ที่จะดูแลธรรมชาติผ่าน
กิจกรรมการปลูกป่าชายเลน ที่ท�ำให้น้องทั้งสองรู้ว่า
นอกจากการประหยัดการใช้พลังงานในชีวิตประจ�ำวัน

[115]

You might also like