You are on page 1of 48

แบ่ งปันการเรียนรู้ “อัจฉริ ยะสร้างได้”

จาก คอร์ ส “อัจฉริยะสร้ างได้ ”


และหนังสื อ “อัจฉริยะ
สร้ างได้ ” ของคุณวนิษา เรซ
ความเข้ าใจทัว่ ไปเกีย่ วกับสมอง
 ส่ วนประกอบของสมอง
 โปรตีน 8%

 ไขมัน 10 %

 น้ำ 82 %
เราสู ญเสี ยน้ำตลอดเวลาทางลมหายใจ การหิวน้ำ เป็ นการสั่ งการจากสมอง
พฤติกรรมทีด่ ที สี่ ุ ด คือการค่ อยๆ จิบน้ำ เป็ นระยะ
ความเข้ าใจทัว่ ไปเกีย่ วกับสมอง
 น้ำทีด
่ ที สี่ ุ ดสำหรับสมอง
 น้ำเปล่ าอุณหภูมห
ิ ้ อง

ุ ,
 น้ำอ่ น น้ำเย็น, น้ำหวาน
ุ หภูมิ +
 อณ / - ต้ องไปพักทีก่ ระเพาะ
 น้ำทีเ่ ข้ มข้ น ต้ องเจือจางด้ วยน้ำจากเซลล์
ความเข้ าใจทัว่ ไปเกีย่ วกับสมอง
 ความฉลาดของสมองขึน
้ อยู่กบั
 รอยยัก ปลาโลมาปากขวดมีรอยยักเยอะมาก
 ขนาด ปลาวาฬมีขนาดของสมองใหญ่ มาก
 จำนวนเซลล์ สมอง ไอน์ สไตน์ มีจำนวนเซลล์ สมองเท่ ากัน

สิ่ งที่ทำให้ สมองฉลาดไม่ เท่ ากัน คือ เส้ นใยสมอง


เส้ นใยสมอง – สร้ างใหม่ได้ทุกวัน ไม่ทใวั่ ช้ไจปะตัถงึ ด2ออก5 %
ม า กก ว่ า คน
ว ณ ตร รก ะ
์ ส ไ ต น์ คำน
ไอน เด็กแรกเกิด

6 ปี
Pruning
การริดทิง้
14 ปี
ไม่ ใช่ เส้ นใยสมองตามอายุจริง เป็ นการนำตัวอย่ างเพือ่ เปรียบเทียบให้ เห็นภาพ
การริดทิง้ (Pruning)
 ผู้ใหญ่ จะมีเส้ นใยสมอง = 14 ปี
 สมองเป็ นอวัยวะทีข ่ ีเ้ กียจมาก ถ้ าไม่ ใช้
ก็จะหยุดทำงาน ถูกตัดทิง้ ไป
 สมองทีฝ ่ ึ กฝนและจัดกิจกรรมให้ ทำต่ อ
เนื่อง จะขยายเส้ นใยสมองในด้ านนั้นๆ
พัฒนาการของสมอง
 สมองของเด็กมีความยืดหยุ่นกว่ าผู้ใหญ่
 เด็กแต่ ละวัยจะเปิ ดรับต่ างกัน เด็กพัฒนาการเรียนรู้
ด้ านภาษา และด้ านร่ างกายได้ ดกี ว่ าผู้ใหญ่ (บัลเล่ ต์)
 ส่ วนทีพ
่ ฒ
ั นาช้ าทีส่ ุ ดของสมองคือ ส่ วนการคิด และการ
ตัดสิ นใจ ซึ่งจะพัฒนาเต็มครบส่ วนตอนอายุ 25 ปี
สมองซีกซ้ าย กับ สมองซีกขวา
สมองซีกซ้ าย สมองซีกขวา
ตรรกะ อารมณ์ ความรู้สึก
 การวางแผน  ความตืน่ เต้ น
 ไวยากรณ์  จินตภาพ จินตนาการ
 การหาข้ อมูล  การใช้ ความแปลกใหม่
 การใช้ สัญลักษณ์  ความสนุก ขีเ้ ล่ น
อัจฉริยะภาพ 8 ประการ
1. ด้ านภาษาและการสื่ อสาร
2. ด้ านร่ างกายและการเคลือ่ นไหว
3. ด้ านมิตสิ ั มพันธ์ และจินตภาพ
4. ด้ านตรรกะและคณิตศาสตร์
5. ด้ านการเข้ าใจตน
6. ด้ านการเข้ าใจผู้อนื่ และมนุษยสั มพันธ์
7. ด้ านธรรมชาติ
8. ด้ านดนตรี
“อัจฉริ ยะภาพด้านภาษา”
อัจฉริยภาพด้ านภาษา ดีอย่ างไร
 จำเป็ นสำหรับทุกอาชีพ เพราะต้ องติดต่ อสื่ อสาร
 ไม่ ได้ เก่ งเฉพาะการพูด แต่ ต้องเก่ งด้ านการฟังด้ วย จึง
ทำให้ ได้ เรียนรู้ จากคนอืน่ ๆ
 มีเครือข่ ายเยอะ จากการทีเ่ ป็ นคนเก่ งในการพูดคุย จึง
ไม่ มคำ
ี ว่ า “ขาดทุน”
ตรวจสอบ อัจฉริยภาพด้ านภาษา
 พกหนังสื อติดตัว  สะกดคำได้ ถูกต้ อง
 แวะร้ านหนังสื อ  แต่ งเพลง แต่ งกลอน
 ฟังเพลงไม่ จำกัดภาษา  ชอบเล่ น หรือคิดมุขตลก
 ชอบฟังรายการวิทยุ ทางด้ านภาษา
 อ่ านนสพ. และสรุ ปให้ คนอืน
่  เข้ าใจศัพท์ เทคนิค ด้ านวิชาชี
ฟัง พอืน่ ๆ ได้ รวดเร็ว
 สบายใจเมือ่ สนทนากับต่ าง  ชอบคุยกับเพือ่ นๆ
ชาติ แม้ ว่าไม่ ถนัดก็ตาม  จำชื่อคน ข้ อมูลสิ่ งต่ างๆ ได้
 เขียนบันทึกประจำวัน รวดเร็ว
 จดบันทึกตารางต่ างๆ ในสมุด  สนุกกับเกมเกีย่ วกับคำ
การพัฒนาอัจฉริยภาพด้ านภาษา

การจดโน้ ตแบบอัจฉริยะ : My Maps


กิจกรรมส่ งเสริม อัจฉริยภาพด้ านภาษา
 ฟังอย่ างลึกซึ้ง จับประเด็น  ชวนคุยเพือ่ นร่ วมทาง
สรุปประเด็น  สรุ ปการประชุ มเป็ นคำ
 ฟังและออกเสี ยงตามภาษา คล้องจอง
ต่ างประเทศ  อ่ านหนังสื อให้ เยอะขึน้
 ถาม หรือ ค้ นหา ความหมาย  อ่ านสารบัญหนังสื อขายดี
ศัพท์ ทีไ่ ม่ เข้ าใจ จะได้ ออกนอกเรื่องเดิมๆ
 เข้ าใจศัพท์ เทคนิค ด้ านวิชาชี
 ฟังเพลงหลายภาษา
พอืน่ ๆ ได้ รวดเร็ว
 เล่ าเรื่องขำขัน  ชอบคุยกับเพือ่ นๆ
 หัดทำ My Maps
“อัจฉริยะภาพ
ด้ านร่ างกายและการเคลือ่ นไหว”
อัจฉริยภาพด้ านร่ างกาย ดีอย่ างไร
 สมองและร่ างกายคือสิ่ งเดียวกัน สมองสั่ งให้ สารเคมี
หลัง่ ออกมาสู่ ร่างกาย ร่ างกายส่ งข้ อมูลจากสภาพ
แวดล้ อมให้ สมอง เมือ่ เรามีความสุ ข สมองจะหลัง่ สาร
เคมีแห่ งความสุ ข เรียกว่ า เอนดอร์ ฟิน ออกมา
 เอนดอร์ ฟิน จะหลัง่ ออกมาเมือ่ เราได้ ทำในสิ่ งทีช่ อบ
เช่ นใช้ เวลากับสิ่ งทีเ่ รารัก, ออกกำลังกาย, เต้ นรำ
เป็ นต้ น
ตรวจสอบ อัจฉริยภาพด้ านร่ างกาย
 ชอบเล่ นกีฬา  พิมพ์ดดี คล่อง
 สนุกกับการเต้ นรำ  ลายมือสวย
 ร่ วมกิจกรรมการแสดง  สนุกกับกิจกรรมเกม ทีม ่ กี าร
 ทำงานฝี มือ สิ่ งประดิษฐ์ เคลือ่ นไหว กีฬาต่ างๆ
 ชอบผจญภัย  อยู่นิ่งได้ ไม่ นาน
 ชอบกระดิกเท้ า เคาะโต๊ ะ  หากไปสถานทีไ่ ม่ ไกล มัก
 ชอบล้ อเลียนท่ าทางของ เดินไป
เพือ่ น ดารา คนดังๆ
 ใช้ ภาษาท่ าทางในการสื่ อสาร
ได้ ดี
การพัฒนา อัจฉริยภาพด้ านร่ างกาย
ฝึ กการใช้ “จินตภาพ” ให้ ยืนหลังตรง สมองไวขึน้ เยอะ
ร่ างกายทำงานดีขนึ้  การยืนตัวตรง ทำให้ เราพร้ อมที่
 มีการวิจัยหลายชิ้น ทดลอง จะเคลือ่ นไหวได้ รวดเร็ว
นักบิน นักกอล์ ฟ นักเทนนิส ไม่  ทำให้ เกิดช่ องว่ างในช่ องท้ อง
ให้ ซ้อมในสนามจริง ให้ ฝึกซ้ อม อวัยวะไม่ บีบอัด เช่ น ปอด ตับ
ในสมอง กระเพาะ ซี่โครง เมือ่ อวัยวะไม่
ด้ วย“จินตภาพ” บีบอัด เราจะหายใจดีขึน้
 สองสั ปดาห์ ผ่านไป เปรียบเทียบ ออกซิเจนไปเลีย้ งสมองมากขึน้
กลุ่มทีไ่ ด้ ฝึกจริง กับกลุ่มทีฝ่ ึ ก เราจะคิดคล่ องสมองไวขึน้
ด้ วย“จินตภาพ” ฝี มือและทักษะ
ของทั้งสองกลุ่มไม่ ต่างกัน
กิจกรรมส่ งเสริม อัจฉริยภาพด้ านร่ างกาย
 ออกกำลังกาย เพือ่ พัฒนา  ทำสิ่ งทีไ่ ม่ เคยทำ เช่ น ขี่
ความแข็งแรง ทนทาน จักรยาน ว่ ายน้ำ พายเรือ เข้ า
คล่องแคล่ วของกล้ ามเนือ้ เรียนคอร์ สเต้ นรำ การแสดง
และการเคลือ่ นไหว และ เพือ่ คอมพิวเตอร์
พัฒนาความยืดหยุ่นของ  ใช้ ร่างกายสลับซีก หัดใช้ มอื
ร่ างกาย ซ้ ายมากขึน้ ให้ สามารถใช้
 จัดกระดูกสั นหลังให้ ตรง แทนมือขวาได้
 ฝึ กทำท่ าบริหารสมอง
 กินอาหารให้ ครบส่ วน เลือก
Brain Gym ทีค ่ ้ นคว้ าและ
กินอาหารสุ ขภาพ ออกแบบโดย พอล และ เกล
เดนนิสสั น
“อัจฉริยะภาพ
ด้ านมิตสิ ั มพันธ์ และการจินตภาพ”
อัจฉริยภาพด้ านมิตสิ ั มพันธ์ และจินตภาพ ดีอย่ างไร
 เมือ่ ต้ องคิดสร้ างสรรค์ ผลงานใหม่ ๆ ออกแบบศิลปะ
ต้ องใช้ ทกั ษะด้ านมิตสิ ั มพันธ์
 จินตภาพเป็ นเสมือนแผนทีส ่ ่ วนตัวในสมอง แทนทีจ่ ะ
คิดอะไรยาวๆ ยาก เราสามารถแทนที่ ด้ วยแผนภูมิ
แผนภาพ ตาราง ซึ่งทำให้ เรื่องยากๆ เข้ าใจง่ ายขึน้
ตรวจสอบ อัจฉริยภาพด้ านมิตสิ ั มพันธ์ และจินตภาพ
 ชอบวาดรู ป  อ่านหนังสื อ ชอบใช้ ปากกา
 จำหน้ าคนได้ ดกี ว่ า แม่ นกว่ า เน้ นข้ อความ
จำชื่อ  ชอบชมภาพยนตร์
 แม่ นยำเรื่องเส้ นทาง  ชอบดูแฟชั่นในนิตยสาร
 จัดกระเป๋ าเดินทางเป็ น  ชอบจัดดอกไม้ จัดสวน
ระเบียบเรียบร้ อย  อ่ านแผนทีไ่ ด้ คล่ อง
 นึกภาพในหัวสมองได้ แจ่ ม  ชอบถ่ ายภาพ
ชัด  สนุกกับการต่ อ จิ๊กซอว์
 ประกอบ หรือรื้ออุปกรณ์
 ชอบเล่ นเกมปริศนา เกีย่ วกับ
ต่ างๆ ได้ ง่ายดาย
รู ปภาพ
กิจกรรมส่ งเสริม อัจฉริยภาพด้ านมิตสิ ั มพันธ์ และจินตภาพ
 พัฒนาทักษะการสั งเกตุ ด้ วย  พกปากกาสี หรือปากกาเน้ น
สายตา ข้ อความ
 พัฒนาทักษะการใช้ ภาพสี  หัดทำ My Maps
เส้ นสาย หรือรู ปทรงเพิม่  วาดแผนที่
เติม  ฝึ กเขียนหนังสื อกลับหัว
 พัฒนาความแม่ นยำเรื่อง  จัดดอกไม้ จัดบ้ าน จัด
ทิศทาง กระเป๋ า จัดโต๊ ะ
 พัฒนาเรื่องการจัดวาง การ  ฝึ กวาดวงกลม
 ใช้ กราฟแผนภูมิ แผนผัง
ใช้ พนื้ ที่
 รื้อ สำรวจ อุปกรณ์
“อัจฉริยะภาพ
ด้ านตรรกะและคณิตศาสตร์ ”
อัจฉริยภาพด้ านตรรกะและคณิตศาสตร์ ดีอย่ างไร
 เราต้ องใช้ ทกั ษะคณิตศาสตร์ และตรรกะเยอะมาก ทั้งทีร่ ้ ู ตวั
และไม่ ร้ ูตวั เช่ น เลือกถนนที่ทำให้ เราถึงทีห่ มายเร็วทีส่ ุ ด ซื้อ
อาหารทีท่ านแล้ วไม่ อ้วน ซื้อรถคันใหม่ ไหม
 งานวิจัยหลายชิ้น บอกว่ า การบริหารรายได้ และการมีเงินเก็บ
ของบุคคลในช่ วงสิ บปี แรกของการทำงาน มีความสั มพันธ์
โดยตรงกับความสามารถทางคณิตศาสตร์ ทีเ่ รียนมาใน
โรงเรียน เช่ น การซื้อของแพง เกินความจำเป็ น การลงทุนใน
พอร์ ตทีไ่ ม่ เหมาะสม
หลายคนบอกว่ าไม่ เก่ งเลข ไม่ มอี จั ฉริยภาพด้ านนี ้ ขอบอกว่ า “ไม่ จริง อัจฉ
ริยภาพด้ านนี้ เป็ นสิ่ งทีฝ่ ึ กหัดได้ ”
ตรวจสอบ อัจฉริยภาพด้ านตรรกะและคณิตศาสตร์
 คิดเลขในใจได้ เร็ว  พยากรณ์ หรือคาดเดา
 สนุกกับการคำนวณค่ าใช้ จ่าย เหตุการณ์ ต่างๆ ตามเหตุผลได้
ภายในบ้ าน วางแผนการเงิน แม่ นยำ
 จำเบอร์ โทรศัพท์ แม่ น  ชอบจัดหมวดหมู่ ข้ าวของ
 คาดคะเน น้ำหนัก ส่ วนสู ง เครื่องใช้ ตามลักษณะ เช่ น
ตามสี ขนาด น้ำหนัก
หรือระยะทางได้ ถูก
 ชอบประดิษฐ์ เครื่องมือ เพือ่
 ชอบวางแผนให้ ชัดเจนก่ อน
ลงมือปฏิบัติ ช่ วยแก้ปัญหา หรือ
สถานการณ์
 ชอบทดลองและทำกิจกรรม
 ชอบเล่ นเกมวางแผน เช่ น OX
ทางวิทยาศาสตร์ หมากรุก หมากฮอส โกะ
การพัฒนา อัจฉริยภาพด้ านตรรกะและคณิตศาสตร์

 ทำบัญชี ค่ าใช้ จ่ายส่ วนตัว

วันที่ ค่ าใช้ จ่ายเรื่อง จำนวนเงิน เงินสดหรือบัตรเครดิต


กิจกรรมส่ งเสริม อัจฉริยภาพด้ านตรรกะและคณิตศาสตร์
 บวกค่ าอาหาร ลองจำราคา  ฝึ กเล่นเกมทีต่ ้ องวางแผน OX
อาหารของแต่ ละจาน และ หมากรุก หมากฮอส โกะ
ลองคำนวณค่ าอาหารของวัน  หัดทำ My Maps
นั้น ว่ าต่ างจากราคาจริง  เรียนรู้ การวางแผนและจัด
เท่ าใด ระบบ
 บวกเลขทะเบียนรถ
 ทำบัญชีรายรับรายจ่ าย
 อ่ านหนังสื อเกีย่ วกับสิ่ ง
 จัดหมวดหมู่สิ่งของ
ประดิษฐ์
 ทายซิ ว่ าคนทีเ่ ดินมา อาชีพ
 ติดตามข่ าววิทยาศาตร์ และ
อะไร ทายจากบุคคลิก การ
เทคโนโลยี แต่ งกาย
“อัจฉริยะภาพ
ด้ านการเข้ าใจตนเอง”
อัจฉริยภาพด้ านการเข้ าใจตนเอง ดีอย่ างไร
 คุณหนูดเี ชื่อว่ า “อัจฉริยภาพด้ านนี ้ สำคัญทีส
่ ุ ดในกระบวน
อัจฉริยภาพทั้งหมด”
 เก่ งและฉลาดไปทุกเรื่อง แต่ ไม่ ร้ ู อยู่เรื่องเดียว คือเรื่องชีวต
ิ ตัว
เอง จะไม่ สามารถมีความสุ ขได้
 ยิง่ คุณเก่ ง ยิง่ ต้ องมีทกั ษะในการจัดการดูแลอารมณ์ ตนเองให้ ดี
ยิง่ กว่ าคนทัว่ ๆ ไป เพราะยิง่ คุณเก่ง คุณยิง่ มีโอกาสดูแลคน
จำนวนมาก ซึ่งอารมณ์ มผี ลต่ อคนมหาศาล
ข่ าวดี ก็คอื ตัวตนทีแ่ ท้ จริงเป็ นสิ่ งทีเ่ ราดูแลและสร้ างสรรค์ ได้ “ไม่ ใช่ ว่า
เกิดมาอย่ างไร ต้ องเป็ นอย่ างนั้นไปตลอดชีวติ ”
ตรวจสอบ อัจฉริยภาพด้ านการเข้ าใจตนเอง
 ชอบทำงานให้ เสร็จด้ วยฝี มือ  อธิบายเหตุผลในการตัดสิ น
ตนเอง ใจของตนเองได้ อย่ างชัดเจน
 มัน
่ ใจในตนเอง  กล้ าปฏิเสธในเรื่องทีไ่ ม่ ชอบ
 ยืนยันความคิดของตนเอง  รู้ ว่าตัวเองถนัดเรื่องอะไร ไม่
 วาดฝันอนาคตตนเองอย่ าง ถนัดเรื่องอะไร
ชัดเจน  ชอบเขียนเกีย่ วกับความคิด
 ชอบวางแผน ตั้งเป้ าหมายใน หรือความรู้ สึกของตนเอง
ชีวติ  ดูแลสุ ขภาพร่ างกายและ
 มีเทคนิคผ่ อนคลาย จิตใจของตนเอง
ความเครียด  อยู่คนเดียวได้ อย่ างสบายใจ
รู้ จกั ตนเอง - ทำอาชีพอะไรดี

สิ่ งทีเ่ ราชอบ สิ่ งทีเ่ ราเก่ ง

สิ่ งทีโ่ ลก/ ครอบครัว / องค์ กร ต้ องการจากเรา


ข้ อความในวงกลมทั้งสามเปลีย่ แปลงได้ ตลอด เราต้ องไม่ จำกัดอยู่แค่ ความ
สามารถในปัจจุบัน “เพราะมนุษย์ มคี วามเปลีย่ นแปลงเสมอ”
กิจกรรมส่ งเสริมอัจฉริยภาพด้ านการเข้ าใจตนเอง
 Begin w/ the end in  ตั้งเป้ าหมายแบบไคเซ็น
Mind เริ่มต้ นด้ วยจุดมุ่ง ค่ อยๆ เปลีย่ นแปลงตัวเอง
หมายในใจ ไปสู่ เป้ าหมายวันละเล็ก วัน
 ทบทวนชีวต ิ ใน 1 วัน แล้ว ละน้ อย
พรุ่งนีจ้ ะมีชีวติ ทีส่ ดใสขึน้  การผ่ อนคลายอย่ างสมบูรณ์
อย่ างไร แบบ ผ่ อนคลายอวัยวะ
 Self SWOT Analysis หายใจเข้ าออกช้ าๆ ลึกๆ
วิเคราะห์ จุดแข็งจุดอ่ อนของ  ยิม้ ให้ กบั ตนเองก่ อนออกจาก
ตัวเอง บ้ าน
 เขียนชีวประวัตต ิ นเอง  วันของฉัน ให้ รางวัลกับตัว
เอง
“อัจฉริยะภาพด้ านมนุษยสั มพันธ์
ด้ านการเข้ าใจผ้ ูอนื่ ”
อัจฉริยภาพด้ านมุษษยสั มพันธ์ การเข้ าใจผู้อนื่ ดีอย่ างไร

 อัจฉริยภาพด้ านนี้ คือตัวแปรสำคัญ ทีจ่ ะกำหนดว่ าเรา


จะไปถึงจุดไหนในชีวติ ชีวติ เราจะหาความสุ ขได้ ยาก
หรือง่ าย
 ความสุ ขในหน้ าทีก่ ารงาน ความสุ ขในชีวต
ิ สมรส
สารพัดความสุ ขในชีวติ มนุษย์ มาจากตัวแปรของอัจฉ
ริยภาพนี้ เป็ นส่ วนใหญ่
ตรวจสอบอัจฉริยภาพด้ านมนุษยสั มพันธ์
และการเข้ าใจผู้อนื่
 มีเพือ่ นหลายกลุ่ม หลายคน  ทำให้ คนอืน่ สบายใจ
 สนทนากับผู้อน ื่ เป็ นเวลา  สั งเกตอารมณ์ คนอืน ่ ได้ เร็ว
นานๆ  ชอบช่ วยเหลือผู้อน ื่
 เพือ่ นๆ วางใจ และขอความ  ทำให้ คนอืน ่ คล้ อยตามได้
คิดเห็น  เข้ าใจความรู้ สึกของคนอืน ่
 ชอบนั่งดูผ้ ูคน ในสถานการณ์ ต่างๆ
 ทักทายผู้อนื่ ก่ อน  ชอบทำงานกลุ่ม
 เปิ ดโอกาสให้ คนอืน ่ พูดคุย  เพือ่ นๆ มักเข้ ามาปรึกษา
ด้ วยเสมอ  เป็ นนักวางแผนกิจกรรม
 ชอบอาสาสมัคร ของกลุ่ม
กิจกรรมส่ งเสริมอัจฉริยภาพด้ านมนุษยสั มพันธ์
และการเข้ าใจผู้อนื่
 ยิม้  นั่งดูผ้ ูคน
 อ่ านความหมายจากใบหน้ า  คิดแบบ ชนะ-ชนะ แก้
คู่สนทนา ปัญหาแบบชนะ-ชนะ
 เพือ่ นสอนเพือ่ น ยิง่ สอนยิง่
 ฟังอย่ างลึกซึ้ง ฟังอย่ าง
ฉลาด
แท้ จริง ไม่ คดิ ขัดแย้ ง ไม่  ร่ วมกิจกรรมกลุ่มในโอกาส
ตอบโต้ ฟังให้ ร้ ู ว่าเขา
ต่ างๆ
ต้ องการสื่ อสารอะไร
 ชวนคุยเรื่องของเขา บอกเล่ า
เรื่องของเรา
“อัจฉริยะภาพด้ านการเข้ าใจ
ธรรมชาติ”
อัจฉริยภาพด้ านการเข้ าใจธรรมชาติ ดีอย่ างไร
 อัจฉริยภาพด้ านธรรมชาติ มีอยู่ในตัวมนุษย์ ทุกคน ถึงแม้ เราจะ
ยังไม่ ร้ ู ตวั ก็ตาม และเป็ นปัญญาด้ านทีพ่ ฒ
ั นาได้ ง่าย และ
เป็ น“ธรรมชาติ” มากทีส่ ุ ด
 สมองของเรา ถูกสร้ างมาให้ ชอบธรรมชาติ ถึงจะไม่ ได้ คลุกคลี
กับธรรมชาติมากมายนัก แต่ หน่ วยความจำทีต่ กทอดมาใน
สมองเรา ซึ่งอยู่ในส่ วนจิตใต้ สำนึก จำได้ เสมอ
 เมือ่ เราเข้ าใจสรรพสิ่ งรอบตัวแล้ ว เราจะมีความนิ่ง สุ ขุม มี
ความใสสว่ าง และมีปัญญาเฉียบแหลมลุ่มลึก
ตรวจสอบ อัจฉริยภาพด้ านการเข้ าใจธรรมชาติ
 ชอบท่ องเทีย่ วตามแหล่ง  อยู่นอกห้ องปรับอากาศได้
ธรรมชาติ  สามารถเอาตัวรอดใน
 คาดเดาภูมอิ ากาศในวันนั้นๆ สถานการณ์ ต่างๆ ได้
ได้  ชอบใช้ ผลิตภัณฑ์ จากวัสดุ
 รักสั ตว์ เล่ นกับสั ตว์ เลีย้ ง ได้
ธรรมชาติ
 ใส่ ใจสิ่ งแวดล้ อม
นานๆ
 ชอบดูดาว นก สายน้ำ ก้ อน
 มักได้ กลิน่ ดิน แดด ฝน เมฆ แมลง ท้ องฟ้ า ดิน แร่
 รู้ จักชนิดของต้ นไม้  สนใจการปรุ งอาหาร ปั้นดิน
 ปลูกต้ นไม้ ได้ งอกงาม หล่อโลหะ สลักน้ำแข็ง
กิจกรรมส่ งเสริมอัจฉริยภาพด้ านการเข้ าใจธรรมชาติ
 ออกไปอยู่นอกห้ องปรับอากาศ  ไปตลาดต้ นไม้ คิดถึง
มองไกลๆ ใกล้ชิดต้ นไม้ ทใี่ ห้ ร่ม มหัศจรรย์ ของพืชพันธุ์
เงา ธรรมชาติ
 ทำศิลปะภาพพิมพ์ เช่ นก้ าน
 ไปดูดาวท้ องฟ้าจำลอง
กล้วย ใบไม้
 จิบชา สั มผัสรสชา ไม่ แค่ เพียง  ทำสมุดทับดอกไม้ ใบไม้
วัตถุดบิ แต่ ให้ เห็นความยิง่  ปลูกต้ นไม้ ททำ
ี่ งาน
ใหญ่ ของธรรมชาติ และความ  ใช้ ผลิตภัณฑ์ ธรรมชาติ
รักทีผ่ สานอยู่
 ถอดรองเท้ าเดินบนดิน บน
 หัดทำอาหารเลือกวัตถุดบ ิ ทราย บนหญ้ า
“อัจฉริ ยะภาพด้านดนตรี และจังหวะ”
อัจฉริยภาพด้ านดนตรีและจังหวะ ดีอย่ างไร
 ดนตรีและจังหวะ ช่ วยจัดระบบคลืน
่ สมองของเรา ให้ เข้ าสู่
ภาวะผ่ อนคลาย เหมาะกับการเรียนรู้ และพักผ่ อน
 ดนตรีกลุ่มนีม ้ กั เป็ นกลุ่มนุ่มๆ เบาๆ ซึ่งมีแพทเทิร์นเสี ยงทีซ่ ้ำ
ทำให้ เรารู้ สึกคล้ ายถูกสะกดจิต
ตรวจสอบอัจฉริยภาพด้ านดนตรีและจังหวะ
 ชอบฮัมเพลง  พิมพ์ดดี เป็ นจังหวะ
 ชอบคำคล้ องจอง ชอบ
 ชอบร้ องเพลงหรือร้ อง
บทกลอนทีม่ สี ั มผัส
คาราโอเกะ
 ชอบฟังเพลง หรือชม
คอนเสิ ร์ต
 เล่ นเครื่องดนตรีได้
 รับรู้ เสี ยงของธรรมชาติได้
เช่ นเสี ยงนก เสี ยงลม
กิจกรรมส่ งเสริมอัจฉริยภาพด้ านดนตรีและจังหวะ
 ร้ องเพลงในห้ องน้ำ ควบคุม  ฟังเสี ยงในสวน
ลมหายใจ  เพิม
่ สไตล์หลายแนวเพลง
 ร้ องคาราโอเกะ  เปลีย่ นเนือ้ เพลง เล่ นสนุกๆ

 ฝึ กอ่ านออกเสี ยงเป็ นจังหวะ


จะโคน
 เพิม่ สไตล์ หลายแนวเพลง
 เปิ ดเพลงบรรเลงเบาๆ คลอ
ระหว่ างอ่ านหนังสื อ
ทำไมคนเราไม่ ต้องเก่ งด้ านเดียว
 คนเราทำอย่ างเดียวให้ ดี...ไม่ ดห
ี รอก
แต่ ควรทำอย่ างหนึ่งให้ ดเี ลิศไปเลย แล้ วทำอย่ างทีเ่ หลือให้ ดี
จะดีกว่ า
 อาชีพเดียว ใช้ อจั ฉริยภาพด้ านเดียวคงน่ าเบื่อ
 ตัวคุณหนูดี – จบฮาเวิร์ด, เป็ นทีป ่ รึกษาด้ านสมอง, สอน
ยิงธนู, สอนโยคะ, เล่ นละครอาสาสมัคร, เขียนบท

แต่ จะเก่ งทุกด้ านได้ ต้ องฝึ ก การใช้ เวลาให้ เป็ น


“อัจฉริยะสร้ างได้ ” จริงหรือ ?
สมองของเรามีเซลล์สมอง เท่ ากับ ไอน์ ส
ไตน์ ดังนั้น ไอน์ สไตน์ ฉลาดเท่ าไหน
เราก็ฉลาดได้ เท่ านั้น

เราทุกคนมีอจั ฉริยภาพซ่ อนอยู่ภายใน อยู่ทวี่ ่ าจะค้ นหาอย่ างไรให้ เจอ


แบ่ งปันการเรียนรู้ “อัจฉริ ยะสร้างได้”

จาก คอร์ ส “อัจฉริยะสร้ างได้ ”


และหนังสื อ “อัจฉริยะ
สร้ างได้ ” ของคุณวนิษา เรซ

You might also like