You are on page 1of 1

ข้อสอบที่เคยออกมาแล้ว และเก็งข้อสอบ

เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
1. เลนส์รวมแสงของกล้องจุลทรรศน์ จะอยูท่ ตำ ่ี แหน่ง ใต้ Iris Diaphragm
2. ทางเดินของแสง:
Light ---> Condenser ---> Specimen --->Objective lens --->Eye piece lens --->Images
3. เลนส์ใกล้วตั ถุ ทีใ่ ช้กำลังขยาย 100x จะต้องใช้น้ำมันเป็ นตัวกลางสไลด์
4. เริม่ จากการใช้เลนส์ใกล้วตั ถุกำลังต่ำ ไปหาสูง เพราะหาภาพได้งา่ ย ขอบเขตการมองเห็นกว้าง
5. Condenser เป็ นรวมแสง (เพิม่ ความเข้มแสง) Iris Diaphragm เป็ นตัวปรับความเข้มแสง
6. Stereoscopic Microscope ทำให้เกิดภาพเสมือน 3 มิติ ศึกษาได้ทงั ้ วัตถุทบึ และโปร่งแสง, เลนส์ใกล้วตั ถุมี
กำลังขยายต่ำกว่า 4x
7. TEM ส่องผ่าน ภาพทีไ่ ด้เป็ น ภาพ 2 มิติ VS SEM ส่งกราด ภาพทีไ่ ด้เป็ น ภาพ 3 มิติ
8. กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง จะมี เลนส์นูน 2 ตัว ในการเกิดภาพ
การหักเหครัง้ ที่ 1 Objective lens: ทำให้เกิดภาพจริง หัวกลับขนาดใหญ่กว่าวัตถุ หลังเลนส์
การหักเหครัง้ ที่ 2 Eye piece lens: Relative to Objective images: เกิดภาพเสมือน หัวตัง้ ขนาด
ใหญ่หน้าเลนส์
***สรุปเทียบกับ Object เกิดภาพเสมือนหัวกลับ กลับซ้ายไปขวา (หมุน 180 องศา) ปรากฏทีเ่ รตินา
ม ม
---------->
9. เพราะฉะนัน้ ถ้าเลื่อนวัตถุไปทางซ้าย ภาพทีเ่ ห็นเลื่อนไปทางขวา
10. กำลังขยายรวม = กำลังขยายเลนส์ใกล้วตั ถุ x กำลังขยายเลนส์ใกล้ตา
11. กำลังขยายรวมต่ำ เห็นภาพกว้าง เห็นเซลล์มาก VS กำลังขยายรวมสูง เห็นภาพแคบ เห็นรายละเอียดเซลล์
12. กรอบของภาพคงทีต่ ลอด VS สนามภาพ = บริเวณทีเ่ ราเห็น เช่น กำลังขยายสูง สนามภาพน้อย
13. Ocular = Eyepiece
14. ยิง่ ใช้กำลังขยายมาก แสงทีเ่ ห็นจะน้อยลง ต้องใช้ Diaphragm ปรับช่องให้มาก ระยะระหว่าง Objective lens
กับวัตถุน้อยลง
15. Electron Microscope ส่งได้เฉพาะสิง่ ทีไ่ ม่มชี วี ติ
16. หลักการปรับภาพ: แสงไม่เหมาะปรับ Iris diaphragm และโฟกัสไม่เหมาะ ปรับหยาบ-ละเอียด ภาพไม่ชดั
ห้ามปรับกำลังขยาย
17. การคงสภาพเซลล์ตอ้ งใช้ 0.9% NaCl
18. การย้อม Gram: Crystal Violet  Iodine  Alcohol  Safranin
19. การใช้กล้องจอมืด ต้องใช้กบั ตัวอย่างทีแ่ สงส่องผ่านได้
20. เทคนิคการศึกษา:
แสงผ่านได้ ไม่ตอ้ งย้อมสี  ย้อมสีเซลล์  เพิม่ แสงเงา  เพิม่ ความเป็ น 3 มิติ  ใช้การย้อมด้วยสี
เรืองแสง (Fluorescence)
21. กล้องจุลทรรศน์ทด ่ี ตี อ้ งมีเลนส์ใกล้วตั ถุกำลังขยายสูงเพราะว่าจะเห็นภาพได้ละเอียดกว่า

You might also like