You are on page 1of 60

สํานักงานสภาวิศวกร

คูมือ
การขอรับใบอนุญาต
เปนผูป ระกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมระดับภาคีวิศวกร

ณ 5 กรกฎาคม 2549
สารบัญ
หนา
1. บทนํา 1
2. นิยามคําศัพท 2
3. คําแนะนําสําหรับการยื่นขอรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมระดับภาคีวิศวกร 3
4. หลักเกณฑการพิจารณาผลการศึกษาสําหรับผูที่เขาศึกษากอนปการศึกษา 2546 ทุกสาขา 5
5. หลักเกณฑการพิจารณาผลการศึกษาสําหรับผูเขาศึกษาตั้งแตปการศึกษา 2546 เปนตนไป 8
6. อัตราคาธรรมเนียม 9
7. กรรมการและบุคลากร 10
8. คําถามที่พบบอย 11
9. ภาคผนวก ก
ก.1 กฏกระทรวงกําหนดอัตราคาธรรมเนียมสําหรับผูป ระกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม 13
ก.2 ขอบังคับวาดวยหลักเกณฑการออกใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม 15
ประเภทภาคีวศิ วกร พ.ศ. 2540
ก.3 ขอบังคับวาดวยการออกใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมระดับภาคี 18
วิศวกร พ.ศ. 2543
ก.4 ขอบังคับวาดวยการรับสมัครเปนสมาชิกสามัญของสภาวิศวกร 20
ก.5 ขอบังคับวาดวยคุณสมบัติและลักษณะตองหาม 22
10. ภาคผนวก ข (ตามขอบังคับ ก.ว. วาดวยการรับรองหลักสูตรการศึกษาและสถานศึกษา และการ
เทียบปริญญาหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพการชางเปนคุณวุฒิในวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. 2540)
ข.1 รายวิชาวิศวกรรมหลักเฉพาะ สาขาวิศวกรรมโยธา 24
ข.2 รายวิชาวิศวกรรมหลักเฉพาะ สาขาวิศวกรรมเครื่องกล 25
ข.3 รายวิชาวิศวกรรมหลักเฉพาะ สาขาวิศวกรรมไฟฟากําลัง 27
ข.4 รายวิชาวิศวกรรมหลักเฉพาะ สาขาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร 28
ข.5 รายวิชาวิศวกรรมหลักเฉพาะ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ 29
ข.6 รายวิชาวิศวกรรมหลักเฉพาะ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร 31
11. ภาคผนวก ค (ตามขอบังคับสภาวิศวกรวาดวยการรับรองปริญญา ประกาศนียบัตร หรือวุฒิบัตร
เทียบเทาปริญญาในสาขาวิศวกรรมศาสตร พ.ศ. 2543)
ค.1 วิชาพื้นฐานทางวิทยาศาสตรที่สภาวิศวกรจะใหการรับรอง 32
ค.2 รายวิชาและเนื้อหาวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตรที่สภาวิศวกรจะใหการรับรอง 33
ค.3 รายวิชาและเนื้อหาวิชาวิศวกรรมหลักเฉพาะของสาขาวิศวกรรมโยธา 38
ค.4 รายวิชาและเนื้อหาวิชาวิศวกรรมหลักเฉพาะของสาขาวิศวกรรมเครื่องกล 41
ค.5 รายวิชาและเนื้อหาวิชาวิศวกรรมหลักเฉพาะของสาขาวิศวกรรมไฟฟา 43
ค.6 รายวิชาและเนื้อหาวิชาวิศวกรรมหลักเฉพาะของสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ 47
ค.7 รายวิชาและเนื้อหาวิชาวิศวกรรมหลักเฉพาะของสาขาวิศวกรรมเหมืองแร 51
5
หลักเกณฑการพิจารณาผลการศึกษา
สําหรับผูที่เขาศึกษากอนปการศึกษา 2546 ทุกสาขา

ลําดับที่ รายละเอียด มติที่ประชุม


พิจารณาตามผลการศึกษาตามเงื่อนไขทายตารางเทียบรายวิชาในหลักสูตรที่สภา
1
วิศวกรรับรอง
2 อนุโลมนับรายวิชาวิศวกรรมหลักเฉพาะ ตามรหัสและชื่อวิชาที่เปลี่ยนไปของทุก มติคณะอนุกรรมการ
หลักสูตรที่ผานการรับรอง โดยเนื้อหายังสอดคลองและเปนไปตามหลักสูตรเดิม ตรวจสอบผลการ
ทั้งนี้จะนับรายวิชาวิศวกรรมหลักเฉพาะที่ผา นการรับรองเทานั้น หากมีการ ศึกษาฯครั้งที่ 3/2547
เปลี่ยนแปลงผูส อน ชื่อวิชา รหัสวิชา หรือเนื้อหารายวิชา (Course Description) เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม
สถาบันจะตองแจงใหสภาวิศวกรทราบทุกครั้ง 2547
3 รายวิชาที่เรียนภาคฤดูรอน (Summer) 3.1 มติคณะอนุมาตร
3.1 ผูเขาเรียนถึงปการศึกษา 2545 (ถึงรหัส 45) ฐานการศึกษาฯ ครั้งที่
3.1.1 การลงทะเบียนเรียนในภาคฤดูรอน จนถึงปการศึกษา 2545 จะนับ 1/2547 เมื่อวันที่ 7
รายวิชาที่ลงเรียนใหเฉพาะวิชาที่ผลการเรียนในภาคปกติได D หรือ D+ มกราคม 2547
เทานั้น (W หรือ F นับไมได) และรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียนตองไดเกรด
C ขึ้นไป 3.2 มติคณะกรรมการ
3.1.2 การลงทะเบี ยนเรียนในภาคฤดูรอน ตั้งแตปการศึกษา 2546 จะ สภาวิศวกร ครั้งที่
นับรายวิชาใหไดทุกรายวิชาที่ไดเกรด C ขึ้นไป 9/2547 เมื่อวันที่ 12
3.2 ผูที่ลงทะเบียนเรียนในภาคฤดูรอนตั้งแตปการศึกษา 2546 เปนตนไป ใน กรกฎาคม 2547
ทุกสาขาวิชาและทุกชั้นป ในทุกหลักสูตรและสถาบันที่ผานการรับรองจากสภา
วิศวกรแลว จะนับรายวิชาใหตั้งแตที่ไดเกรด C ขึ้นไป
4 4.1 การเทียบโอนรายวิชาวิศวกรรมหลักเฉพาะ (ตามเกณฑ ก.ว.เดิม) 4.1 มติคณะ
1. การโอนระหวางสถาบัน จะนับรายวิชาวิศวกรรมหลักใหก็ ตอเมื่อทั้ง 2 อนุกรรมการตรวจ
หลักสูตรสภาวิศวกรใหการรับรองแลว โดยตองแนบ Transcript ของทั้ง 2 หลัก สอบผลการศึกษาฯ
สูตร ครั้งที่ 7/2547 เมื่อวันที่
2. การโอนภายในสถาบันเดียวกัน จะนับรายวิชาวิศวกรรมหลักให แตตอง 13 กรกฎาคม 2547
ระบุรายวิชาใน Transcipt ที่ยื่นเสนออยางชัดเจน
3. การเรียนในหลักสูตรที่ต่ํากวาระดับปริญญาตรี จะไมนับรายวิชาวิศวกรรม 4.2 มติกรรมการสภา
หลักเฉพาะให วิศวกร ครั้งที่ 5/2548
4.2 การเทียบโอนรายวิชาวิศวกรรมหลักเฉพาะ ตามเกณฑ สภาวิศวกร(ตาม เมื่อวันที่ 11 เมษายน
เกณฑเดิม) 2548
1. จบจากหลักสูตรที่สภาวิศวกรใหการรับรองทั้ง 2 ปริญญา
52

3. Operations Research ประกอบดวย


An introduction to the methodology of operations research in modern industrial
engineering problem solving, emphasis is made on the use of mathematical models, linear
programming transportation model, game theory, queuing theory, inventory model and simulation in
decision making process.

4. Chemical Engineering Principles and Calculations ประกอบดวย


General introduction to chemical engineering : Stoichiometry and material balance
calculation; recycling, bypassing and purging; use of chemical and phase equilibrium data; energy
balances, use of thermodynamic data; study of typical processes.

5. Production Planning and Control ประกอบดวย


Introduction to production systems; forecasting techniques; inventory management;
production planning; cost and profitability analysis for decision making; production scheduling;
production control.

6. Process Dynamics and Control ประกอบดวย


Mathematical modeling of chemical engineering systems; solution techniques and
dynamics of these systems; introduction to automatic control; feedback control concept; stability
analysis; frequency response and control system design; introduction to measurement and control
instrument characteristics.

7. Quality Control ประกอบดวย


Quality control management, quality control techniques; engineering reliability for
manufacturing.

8. Unit Operations ประกอบดวย


Physical properties of fluid; static and application; transportation of fluids and flow
measurement; physical models for mass transfer, heat transfer and simultaneous heat-mass transfer
operations; application of these models in the design of separation processes, including

You might also like