You are on page 1of 20

กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

(ปนจั่น)

ประกาศกระทรวงมหาดไทย
เรือ่ ง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับปนจั่น

อาศัยอํานาจตามความในขอ 2 (7) และขอ 14 แหงประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 103 ลงวันที่ 16


มีนาคม 2515 กระทรวงมหาดไทยจึงกําหนดสวัสดิการเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยสําหรับลูกจาง
ไวดังตอไปนี้

ขอ 1 ประกาศนี้เรียกวา “ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับปนจั่น”

ขอ 2 ประกาศนี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดหนึ่งรอยแปดสิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปนตนไป

ขอ 3 ประกาศนี้มิใหใชบังคับแก
(1) ราชการสวนกลาง
(2) ราชการสวนภูมิภาค
(3) ราชการสวนทองถิ่น
(4) กิจการอื่นตามที่กระทรวงมหาดไทยจะไดประกาศกําหนด

ขอ 4 ในประกาศนี้
“นายจาง” หมายความวา ผูซึ่งตกลงรับลูกจางเขาทํางานโดยจายคาจางให และหมายความรวมถึงผูซึ่งได
รับมอบหมายใหทํางานแทนนายจาง ในกรณีที่นายจางเปนนิติบุคคล หมายความวาผูมีอํานาจกระทําการแทนนิติ
บุคคล นั้น และหมายความรวมถึง ผูซึ่งไดรับมอบหมายใหทํางานแทนผูมีอํานาจกระทําการแทนนิติบุคคล
“ลูกจาง” หมายความวา ผูซึ่งตกลงทํางานใหแกนายจางเพื่อรับคาจางไมวาจะเปนผูรับคาจางดวยตนเอง
หรือไมก็ตามและหมายความรวมถึงลูกจางประจําและลูกจางชั่วคราวแตไมรวมถึงลูกจางซึ่งทํางานเกี่ยวกับงานบาน
“ปน จั่น” (Cranes หรือ Derricks) หมายความวา เครื่องจักรกลที่ใชยกสิ่งของขึ้นลงตามแนวดิ่งและเคลื่อน
ยายสิ่งของเหลานั้นในลักษณะแขวนลอยไปตามแนวราบ
“ปนจั่นชนิดอยูกับที่” หมายความวา ปนจั่นที่ประกอบดวยอุปกรณควบคุมและเครื่องตนกําลังอยูในตัวซึ่ง
ติดตั้งอยูบนหอสูง ขาตั้ง หรือบนลอเลื่อน
“ปนจั่นชนิดเคลื่อนที่” หมายความวา ปนจั่นที่ประกอบดวยอุปกรณควบคุมและเครื่องตนกําลังอยูในตัว
ซึ่งติดตั้งอยูบนยานที่ขับเคลื่อนในตัวเอง
“ลวดวิ่ง” หมายความวา เชือกลวดเหล็กกลาที่เคลื่อนที่ในขณะปนจั่นทํางาน
“ลวดโยงยึด” หมายความวา เชือกลวดเหล็กกลาที่ยึดสวนใดสวนหนึ่งของปนจั่นใหมั่นคง
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 104 ตอนที่ 94 วันที่ 21 พฤษภาคม 2530
มีผลใชบังคับตั้งแตวันที่ 17 พฤศจิกายน 2530 เปนตนไป
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน
(ปนจั่น)

“ผูบ ังคับปนจั่น” หมายความวา ผูทําหนาที่บังคับการทํางานของปนจั่น


“วิศวกร” หมายความวา วิศวกรซึ่งไดรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตามที่คณะ
กรรมการควบคุมการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมกําหนดตามกฎหมายวาดวยวิชาชีพวิศวกรรม
“สวนความปลอดภัย” หมายความวา อัตราสวนระหวางแรงดึงที่เชือกลวดเหล็กกลารับไดสูงสุดตอแรงดึงที่
เชือกลวดเหล็กกลารับอยูจริง
หมวด 1
ขอกําหนดทั่วไป
ขอ 5 ใหนายจางที่ใชปนจั่นปฏิบัติตามรายละเอียดคุณลักษณะของปนจั่น และคูมือการใชงานที่ผูผลิต
ปนจั่นกําหนดไว
ในการประกอบ การทดสอบ การซอมบํารุง และการตรวจสอบปนจั่นใหนายจางปฏิบัติตามรายละเอียด
คุณลักษณะและคูมือการใชงานตามวรรคหนึ่งดวย
ในกรณีที่มีอุปกรณอื่นใชกับปนจั่น หามมิใหนายจางใชอุปกรณนั้นเกินหรือไมถูกตองตามรายละเอียดคุณ
ลักษณะตามวรรคหนึ่ง
ถาไมมีรายละเอียดคุณลักษณะหรือคูมือการใชงาน หรือผูผลิตปนจั่นมิไดกําหนดไวใหนายจางปฏิบัติตาม
รายละเอียดคุณลักษณะที่วิศวกรไดกําหนดขึ้นเปนหนังสือ

ขอ 6 ใหนายจางติดปายบอกพิกัดนํ้าหนักยกไวที่ปนจั่น ปดคําเตือนใหระวังอันตรายและติดตั้งสัญญาณ


เตือนอันตรายใหผูบังคับปนจั่นเห็นไดชัดเจน

ขอ 7 ในการทํางานเกี่ยวกับปนจั่นใหนายจางจัดใหมีการใหสัญญาณการใชปนจั่นที่เขาใจในระหวางผู
เกี่ยวของ
ในกรณีที่การใชสัญญาณตามวรรคหนึ่งเปนการใชสัญญาณมือ ใหนายจางจัดใหมีรูปภาพหรือคูมือการใช
สัญญาณมือตามที่กําหนดไวทายประกาศนี้ติดไวที่ปนจั่นและบริเวณที่ทํางาน

ขอ 8 ใหนายจางจัดใหมีการตรวจสอบสวนประกอบและอุปกรณของปนจั่นทุก ๆ สามเดือน ตามแบบที่


กรมแรงงานกําหนด
ใหนายจางบันทึกเวลาที่ตรวจสอบและผลการตรวจสอบ โดยมีวิศวกรเปนผูรับรองไวเปนหลักฐานให
พนักงานเจาหนาที่ตรวจสอบไดในระหวางเวลาทํางาน

ขอ 9 ในการทํางานเกี่ยวกับปนจั่น หามมิใหนายจางใชเชือกลวดเหล็กที่มีลักษณะดังตอไปนี้


(1) ลวดวิ่งที่มีเสนลวดในหนึ่งชวงเกลียว ขาดตั้งแตสามเสนขึ้นไปในเกลียวเดียวกัน หรือขาดตั้งแตหก
เสนขึ้นไปในหลายเกลียวรวมกัน
(2) ลวดโยงยึดที่มีเสนลวดในหนึ่งชวงเกลียวขาดตั้งแตสองเสนขึ้นไป
(3) ลวดเสนนอกสึกไปหนึ่งในสามของเสนผาศูนยกลาง
(4) ลวดวิ่งหรือลวดโยงยึดที่ขมวด ถูกบดกระแทก แตกเกลียวหรือชํารุด ซึ่งเปนเหตุใหการรับนํ้าหนักของ
เชือกลวดเหล็กกลาเสียไป
(5) เสนผาศูนยกลาง มีขนาดเล็กลงเกินรอยละหาของเสนผาศูนยกลางเดิม
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน
(ปนจั่น)

(6) ถูกความรอนทําลายหรือเปนสนิมมากจนเห็นไดชัดเจน
ขอ 10 หามมิใหนายจางใชรอก ในการทํางานเกี่ยวกับปนจั่นที่มีอัตราสวนระหวางเสนผานศูนยกลางของ
รอกหรือลอใดๆ กับเสนผานศูนยกลางของเชือกลวดเหล็กกลาที่พันอยูนอยกวามาตรฐานที่กําหนดดังตอไปนี้
18 ตอ 1 สําหรับรอกปลายแขนปนจั่น
16 ตอ 1 สําหรับรอกของตะขอ
15 ตอ 1 สําหรับรอกหลังแขนปนจั่น
ขอ 11 ในขณะทํางาน ใหนายจางจัดใหมีการควบคุมใหมีเชือกลวดเหล็กกลาเหลืออยูในที่มวนเชือกลวด
ไมนอยกวาสองรอบ
เชือกลวดเหล็กกลาที่ใช ตองมีสวนความปลอดภัยดังนี้
(1) เชือกลวดเหล็กกลาที่เปนลวดวิ่ง ไมนอยกวา 6
(2) เชือกลวดเหล็กกลาที่เปนลวดโยงยึด ไมนอยกวา 3.5

ขอ 12 ใหนายจางจัดใหมีสิ่งครอบปดสวนที่หมุนรอบตัวเอง หรือสวนที่เคลื่อนไหวไดของเครื่องจักรเพื่อให


ลูกจางทํางานดวยความปลอดภัย

ขอ 13 ใหนายจางจัดทําเครื่องหมายแสดงเขตอันตรายหรือเครื่องกั้นเขตอันตรายในรัศมีสวนรอบของ
ปน จั่นที่หมุนกวาดระหวางทํางานเพื่อเตือนลูกจางใหระวังอันตรายอันอาจเกิดขึ้นในรัศมีของสวนที่หมุนได

ขอ 14 ปน จัน่ ที่มีความสูงเกินสามเมตร ใหนายจางจัดใหมีบันไดพรอมราวจับและโครงโลหะกันตกใหแก


ลูกจางที่ทํางาน

ขอ 15 ใหนายจางจัดทําพื้นและทางเดินบนปนจั่นชนิดกันลื่น

ขอ 16 ใหนายจางติดตั้งเครื่องดับเพลิงชนิดที่เหมาะสมและใชการไดที่หองบังคับปนจั่น

ขอ 17 ใหนายจางจัดใหมีสิ่งครอบปดหรือฉนวนหุมทอไอเสียของปนจั่นเพื่อปองกันอันตรายอันอาจเกิด
จากความรอนของทอไอเสีย

ขอ 18 ปน จั่นที่ใชเครื่องยนต นายจางตองจัดใหมีถังเก็บเชื้อเพลิงและทอสงเชื้อเพลิงติดตั้งอยูในลักษณะ


ทีจ่ ะไมเกิดอันตรายเมื่อเชื้อเพลิงหก ลน หรือรั่วออกมา

ขอ 19 ใหนายจางเก็บและเคลื่อนยายเชื้อเพลิงที่ใชกับปนจั่นดวยความระมัดระวัง มิใหเกิดอันตรายได

ขอ 20 เมือ่ มีการใชปนจั่นใกลสายไฟฟา ใหนายจางปฏิบัติ ดังตอไปนี้


(1) ถาสายไฟฟามีแรงดันไฟฟาไมเกินหาสิบกิโลโวลท ใหระยะหางระหวางสายไฟฟานั้นกับสวนหนึ่งสวน
ใดของปนจั่น หรือกับสวนหนึ่งสวนใดของวัสดุที่ปนจั่นกําลังยกอยูตองไมนอยกวาสามเมตร
(2) ถาสายไฟฟามีแรงดันไฟฟาเกินหาสิบกิโลโวลท ใหระยะหางระหวางสายไฟฟานั้นกับสวนหนึ่งสวนใด
ของปนจั่น หรือกับสวนหนึ่งสวนใดของวัสดุที่ปนจั่นกําลังยกอยูเพิ่มขึ้นจากระยะหางตาม (1) อีกหนึ่งเซ็นติเมตร
สําหรับแรงดันไฟฟาที่เพิ่มขึ้นหนึ่งกิโลโวลท
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน
(ปนจั่น)

(3) ในกรณีที่ปนจั่นเคลื่อนที่โดยไมยกวัสดุและไมลดแขนปนจั่นลง ใหระยะหางระหวางสวนหนึ่งสวนใด


ของปนจั่นกับสายไฟฟาเปน ดังนี้
(ก) สําหรับสายไฟฟาที่มีแรงดันไฟฟาไมเกินหาสิบกิโลโวลทไมนอยกวาหนึ่งเมตรยี่สิบหาเซนติเมตร
(ข) สําหรับสายไฟฟาที่มีแรงดันไฟฟาเกินหาสิบกิโลโวลทแตไมเกินสามรอยสี่สิบหากิโลโวลทไมนอย
กวาสามเมตร
(ค) สําหรับสายไฟฟาที่มีแรงดันไฟฟาเกินสามรอยสี่สิบหากิโลโวลท แตไมเกินเจ็ดรอยหาสิบกิโล
โวลท ไมนอยกวาหาเมตร

ขอ 21 ถาปนจั่นหรือวัสดุที่จะยกตั้งอยูใกลเสาสงคลื่นโทรคมนาคมกอนใชปนจั่นใหนายจางจัดใหมีการ
ตรวจตัวปนจั่นและวัสดุนั้นวาเกิดประจุไฟฟาเหนี่ยวนําหรือไม ถาพบวามีประจุไฟฟาเหนี่ยวนําที่ตัวปนจั่นและวัสดุ
ที่จะยกใหนายจางตอสายตัวนํากับปนจั่นและวัสดุนั้นใหประจุไฟฟาไหลลงดิน ตลอดเวลาที่มีการใชปนจั่นทํางาน
ใกลเสาสงคลื่นโทรคมนาคม

ขอ 22 ถามีสารไวไฟอยูในบริเวณที่ใชปนจั่น ใหนายจางนําสารไวไฟออกจากบริเวณที่ใชปนจั่นกอน


ปฏิบัติงาน

ขอ 23 หามมิใหนายจางใหลูกจางทํางานเกี่ยวกับปนจั่นที่ชํารุดเสียหายหรืออยูในสภาพที่ไมปลอดภัย

ขอ 24 ถามีการทํางานเกี่ยวกับปนจั่นในเวลากลางคืน ใหนายจางจัดใหมีแสงสวางทั่วบริเวณตลอดเวลาที่


ลูกจางทํางาน ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับภาวะแวดลอม

ขอ 25 หามมิใหนายจางหรือลูกจางดัดแปลงหรือแกไขสวนใดสวนหนึ่งของปนจั่น หรือยินยอมใหผูอื่น


กระทําการเชนวานั้น อันอาจทําใหลูกจางที่ทํางานเกี่ยวกับปนจั่นมีความปลอดภัยนอยลง

หมวด 2
ปนจั่นชนิดอยูกับที่

ขอ 26 ใหนายจางติดตั้งปนจั่นบนฐานที่มั่นคงโดยมีวิศวกรเปนผูรับรอง และใหสวนที่เคลื่อนที่หรือหมุนได


ของปนจั่นอยูหางจากสิ่งกอสรางหรือวัตถุอื่นไมนอยกวาหาสิบเซนติเมตร

ขอ 27 ปน จั่นเคลื่อนที่บนรางหรือปนจั่นที่มีรางลอเลื่อนที่อยูบนแขนปนจั่น ใหนายจางจัดใหมีสวิตชให


หยุดปนจั่นไดโดยอัตโนมัติ และใหมีกันชนหรือกันกระแทกที่ปลายทั้งสองขางของรางดวย

ขอ 28 ในขณะปนจั่นเคลื่อนที่ ใหนายจางจัดใหมีสัญญาณเสียงและแสงวับวาบเตือนใหลูกจางทราบ

ขอ 29 ใหนายจางจัดใหมีเครื่องกวาดสิ่งของหนาลอทั้งสองขางของปนจั่น

ขอ 30 ถาลูกจางปฏิบัติงานบนแขนปนจั่น ใหนายจางจัดใหมีราวกันตกไว ณ บริเวณที่ปฏิบัติงานและจัดให


ลูกจางสวมใสเข็มขัดนิรภัยและสายชูชีพตลอดเวลาที่ปฏิบัติงาน
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน
(ปนจั่น)

หมวด 3
ปนจั่นชนิดเคลื่อนที่

ขอ 31 ใหนายจางที่ใชปนจั่นจัดใหมีอุปกรณปองกันแขนตอไมใหอยูหางจากแนวเสนตรงของแขนปนจั่น
นอยกวาหาองศา

ขอ 32 ใหนายจางที่นําปนจั่นชนิดเคลื่อนที่ไปติดตั้งอยางชั่วคราวอยูบนเรือ แพ หรือพาหนะลอยนํ้า ปฏิบัติ


ดังตอไปนี้
(1) ยึดปนจั่นไวกับเรือ แพ หรือพาหนะลอยนํ้าใหมั่นคงโดยมีวิศวกรเปนผูรับรอง
(2) เปลี่ยนปายบอกพิกัดนํ้าหนักยกของปนจั่นใหตรงตามความสามารถในการยกสิ่งของไดโดยปลอดภัย
โดยนํ้าหนักของปนจั่นรวมกับพิกัดนํ้าหนักยกจะตองไมเกินระวางบรรทุกเต็มที่ของเรือ แพ หรือพาหนะลอยนํ้านั้น

หมวด 4
เบ็ดเตล็ด

ขอ 33 ใหนายจางจัดใหมีและใหลูกจางใชหมวกแข็ง ถุงมือ รองเทาหัวโลหะ หรืออุปกรณความปลอดภัย


อืน่ ๆ ตามลักษณะและสภาพของงานตลอดเวลาที่ทํางานเกี่ยวกับปนจั่น
ใหนายจางจัดอบรมลูกจางใหรูจักวิธีใช วิธีทํ าความสะอาดและวิธีบํ ารุงรักษาอุปกรณความปลอดภัย
ตลอดจนขอจํากัดของอุปกรณเหลานั้น

ขอ 34 ใหนายจางออกขอบังคับการทํางานเกี่ยวกับปนจั่นกําหนดรายละเอียดในการใชอุปกรณความ
ปลอดภัยไว

ขอ 35 ใหนายจางจัดใหมีคูมือการปฏิบัติงานเกี่ยวกับปนจั่นเปนภาษาไทย ใหลูกจางศึกษาและปฏิบัติตาม


โดยถูกตอง

ขอ 36 ใหนายจางจัดใหมีผูควบคุมทําหนาที่ควบคุมการใชปนจั่นใหเปนไปโดยถูกตองและปลอดภัย

ขอ 37 ใหนายจางเปนผูออกคาใชจายตามประกาศนี้

ประกาศ ณ วันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2530

พลเอก ประจวบ สุนทรางกูร


รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน
(ปนจั่น)

การใหสัญญาณมือสําหรับปนจั่นชนิดอยูกับที่

สัญญาณใหลูกรอกเคลื่อนที่
สัญญาณใหยกของขึ้นได สัญญาณใหลดของที่ยกลง กํามือขวา หงายขึ้นในระดับไหล นิ้วหัวแมมือ
ใหงอศอกขึ้นไดฉาก ใชนิ้วชี้ชี้ขึ้น แลวหมุน กางแขนออกเล็กนอย ใชนิ้วชี้ชี้ลง แลวหมุน ชี้ออกในทิศทางที่ตองการใหลูกรอกเคลื่อนที่
เปนวงกลม เปนวงกลม ไปโดยโยกมือเคลื่อนที่ในทางแนวนอน

สัญญาณใหสะพานปนจั่นเคลื่อนที่ สัญญาณหยุดยกของฉุกเฉิน
สัญญาณใหหยุดยกของ เหยียดฝามือขวาตรงออกไปขางหนาในระดับ เหยียดแขนซายออกไปอยูในระดับไหล
เหยี ย ดมื อ ซ า ยออกข า งลํ าตั ว ระดั บ ไหล ไหล ฝ า มื อ ตั้ ง ตรงทํ าท า ผลั ก ในทิ ศ ทางที่ ฝามือควํ่าลง แลวเหวี่ยงไป-มา ในแนว
ฝามือควํ่าลงโดยเหยียดแขนนิ่งอยูในทานี้ ตองการใหสะพานเคลื่อนที่ไป ระดับไหลอยางรวดเร็ว

สัญญาณการใชลูกรอกคู
ชูมือซายระดับหรือเหนือศีรษะงอขอศอกเปน
มุมฉาก (90 องศา) ชูนิ้วชี้ขึ้นเพียงนิ้วเดียว
หมายถึงใหใชลูกรอกหมายเลข 1 (หมายเลขที่ สัญญาณใหยกของขึ้นชา ๅ
เขียนบนลูกรอก) ชูนิ้วขึ้นพรอมกันทั้งสองนิ้ว ยกแขนควํ่าฝามือใหไดระดับคาง แลวใชนิ้วชี้ สัญญาณเลิกใชปนจั่น
หมายถึง ใหใชลูกรอกหมายเลข 2 สัญญาณ ของมื อ อี ก ข า งหนึ ่ ง ชี ้ ต รงกลางฝ า มื อ แล ว หมุ น ใหผูบังคับปนจั่น เหยียดแขนทั้งสองออก
ตาง ๆใหทําเชนเดียวกัน(เชนยกขึ้นหรือลดลง) ชา ๅ ไปทางขางลําตัว โดยหงายฝามือทั้งสองขาง
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน
(ปนจั่น)

การใหสัญญาณมือสําหรับปนจั่นชนิดเคลื่อนที่

สัญญาณใชรอกใหญหรือตะขอใหญ
สัญญาณใหลดของที่ยกลง กํามือยกขึ้นเหนือศีรษะแลวเคาะเบา ๆ
สัญญาณใหยกของขึ้นลงได
กางแขนออกเล็กนอย ใชนิ้วชี้ ชี้ลง บนศีรษะตนเองหลายๆ ครั้ง
ใหงอขอศอกขึ้นใหไดฉาก ใชนิ้วชี้ ชี้ขึ้น
แลวหมุนเปนวงกลม แลวใชสัญญาณอื่นๆ ที่ตองการ
แลวหมุนเปนวงกลม

สัญญาณใชตะขอเชือกเสนเดี่ยว
(รอกชวย)
งอขอศอกขึ้นกํามือระดับไหลโยไปขางหนาเล็ก สัญญาณใหยกแขนปนจั่น สัญญาณใหลดแขนปนจั่นลง
นอย แลวใชมืออีกขางหนึ่งแตะที่ขอศอก เหยียดแขนออกสุดแขน แลวกํามือ ยกหัวแม เหยียดแขนออกสุดแขน แลวกํามือยกหัว
จากนั้นใหสัญญาณอื่นๆ ที่ตองการ มือขึ้น แมมอื ลง

สัญญาณใหยกแขนปนจั่น แลวหยอนของที่ สัญญาณลดแขนปนจั่นลง แลวยกของที่


สัญญาณใหยกของขึ้นชา ๆ
กําลังยกลง กําลังยกขึ้น
ยกแขนควํ่าฝามือใหไดระดับคาง
เหยียดแขนออกสุดแขน เหยียดฝามือ เหยียดแขนออกสุดแขน เหยียดฝามือ
แลวใชนิ้วชี้ของมืออีกขางหนึ่งชี้ตรงกลาง ในลักษณะตั้งยกหัวแมมือขึ้น แลวกวักนิ้วทั้งสี่ ในลักษณะตั้งหัวแมมือชี้ลง แลวกวักนิ้วทั้งสี่
ฝามือ แลวหมุนชา ๆ ไปมา (ยกเวนนิ้วหัวแมมือ) ไปมา (ยกเวนนิ้วหัวแมมือ)
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน
(ปนจั่น)

การใหสัญญาณมือสําหรับปนจั่นชนิดเคลื่อนที่

สัญญาณใหแขนปนจั่นเหวี่ยงหมุนไปตามทิศ
ทางที่ตองการ สัญญาณใหหยุดยกของ สัญญาณหยุดยกของฉุกเฉิน
เหยี ย ดแขนซ า ยหรื อ ขวา ชี้ ไ ปตามทิ ศ ทางที่ เหยียดมือซายออกขางลําตัวระดับไหล ฝามือควํ่า เหยียดแขนซายออกไปอยูในระดับไหล ฝามือ
ตองการที่จะใหหมุนแขนปนจั่นไป ลง โดยเหยียดแขนนิ่งอยูในทานี้ ควํ่าลง โดยเหยียดแขนนิ่งอยูในทานี้

สัญญาณใหรถปนจั่น (ตีนตะขาบ)
สัญญาณใหรถปนจั่นเคลื่อนที่ในทิศทางที่ เดินหนาหรือถอยหลัง
ตองการ กํามือทั้งสองซอนกัน ยกขึ้นเสมอหนาทอง แลว
เหยียดฝามือขวาตรงออกไปขางหนาในระดับ สัญญาณใหหยุดและยึดเชือกลวด หมุนมือที่กําสองขางใหไดจังหวะกัน ถาจะใหรถ
ไหล ฝ า มื อ ตั้ ง ตรงทํ าท า ผลั ก ในทิ ศ ทางที่ ทั้งหมด ปนจั่นเดินหนาก็หมุนมือไปขางหนา ถาจะใหรถ
ตองการใหรถปนจั่นเคลื่อนที่ไป กํามือทั้งสองเขาหากันใหอยูในระดับเอว ปนจั่นเดินถอยหลัง ก็หมุนมือถอยหลัง

สัญญาณใหรถปนจั่น (ตีนตะขาบ) เคลื่อนที่


ทางดานขาง (โดยยึดตีนตะขาบขางหนึ่งไว)
ใหยึด(ล็อค)ตีนตะขาบขางหนึ่ง โดยกํามือขวา
ชูขึ้น ใหขอศอกงอเปนมุมฉาก 90 องศา ให
ตีนตะขาบดานตรงขามเคลื่อนที่ตามตองการ สัญญาณใหรถปนจั่นเลื่อนแขนปนจั่นออก สัญญาณหดแขนปนจั่นเขา
โดยกํามืออีกขางหนึ่งอยูระดับเอว แลวหมุนเขา (สําหรับรถปนจั่นชนิดแขนยืด-หดได) (สําหรับรถปนจั่นชนิดแขนยืด-หดได)
หาตัวแนวดิ่ง (สัญญาณนี้ใชเฉพาะรถปนจั่น กํ ามื อ ทั ้ ง สองข า ง หงาย ยกขึ ้ นเสมอเอว แล ว กํ ามื อทั้งสองขาง ควํ่าแลวยกขึ้นเสมอเอว แลว
เคลื่อนที่ชนิดตีนตะขาบเทานั้น) เหยียดหัวแมมือออกทั้งสองขาง ใหหัวแมมือทั้งสองขางชี้เขาหากัน
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน
(ปนจั่น)

แบบ คป.1
แบบตรวจสอบสวนประกอบและอุปกรณของปนจั่นชนิดอยูกับที่
(Stationary Cranes)
กรมแรงงาน กระทรวงมหาดไทย

ขาพเจา ………………………………………………………………….………………………………..…อายุ……………………………ป
ที่อยูเลขที่……………หมูที่…………ตรอก/ซอย……………………ถนน……………………………………….ตําบล/แขวง………….……………..
อําเภอ/เขต………………………………………จังหวัด…………………………….……….โทรศัพท…………………………………………………………..
สถานที่ทํางาน……………………………………………………………………………………………………………เลขที่……………………………………………
ตรอก/ซอย…………………………………ถนน……………………………………..………ตําบล/แขวง………….…………………………………………

อําเภอ/เขต………….…………………….จังหวัด…………………………….……………โทรศัพท……………………………………………………………
ไดรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สาขาเครื่องกล ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. 2505
ประเภท…………………………………………………………เลขทะเบียน……………………………………………ตั้งแต………………………………………

ขาพเจาไดทําการตรวจสอบสวนประกอบและอุปกรณปนจั่นของ………………………………………………………………..
โดย………………………………………………………………………..เจาของ/ผูจัดการ…………………………………………………………………………..
ที่อยูเลขที่………………ตรอก/ซอย………………………ถนน…………………….………………….…….ตําบล/แขวง………….…………………..
อําเภอ/เขต……………………………….จังหวัด……………………………..…………………….โทรศัพท…………………………………………………..
เมื่อวันที่………………………………………..ขณะตรวจสอบปนจั่นใชงานอยูที่…………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ขาพเจาไดทําการตรวจสอบปนจั่นและอุปกรณตามรายการตรวจสอบที่ระบุไวในเอกสารแนบทาย พรอม
ทัง้ ไดปรับปรุงแกไขสวนที่ชํารุดหรือบกพรองจนใชงานไดถูกตองปลอดภัย และขอรับรองวาปนจั่นเครื่องนี้ใชงาน
ไดอยางปลอดภัย ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับปนจั่น

(ลงชื่อ)…………………………………………………… (ลงชื่อ)…………………………………………………………
(……………………………………………) (……………………………………………….…)
วิศวกรผูตรวจสอบ เจาของ/ผูจัดการ

สําหรับเจาหนาที่
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน
(ปนจั่น)

แบบ คป.1
รายการตรวจสอบสวนประกอบและอุปกรณปนจั่นชนิดอยูกับที่

1. แบบปนจั่น ปนจั่นหอสูง (Tower Crane)


ปนจั่นเหนือศีรษะ (Overhead Crane)
ปนจั่นขาสูง (Gantry Crane)
อื่น ๆ (ระบุ)…………………………………………………………………………………………….
2. ผูผลิต สรางโดย……………………………………………………… ประเทศ……………………………..
ตามมาตรฐาน…………………………………………………………………………………………….
ออกแบบใหยกนํ้ าหนักไดสูงสุดที่ปลายแขนปนจั่น…………..ตัน (ยาวสุด)
ออกแบบใหยกนํ้าหนักไดสั้นสุดที่ตนแขนปนจั่น………..…….ตัน (สั้นสุด)
3. รายละเอียดคุณลักษณะ (Specification) และคูมือการใชงาน การประกอบ การทดสอบ การซอมบํารุงและ
การตรวจสอบ
มีมาพรอมกับปนจั่น
มี โดยวิศวกรกําหนดขึ้น
ไมมี
4. สภาพโครงสราง
4.1 สภาพโครงสรางปนจั่น
เรียบรอย
แตก ชํารุด บิดเบี้ยว ตองแกไข
4.2 สภาพรอยเชื่อมตอ (Joints)
เรียบรอย
ชํารุดตองแกไข
4.3 สภาพของนอตและหมุดยํ้า
เรียบรอย
ชํารุดตองแกไข
5. มีการตรวจสอบปนจั่น
5.1 หลังประกอบเสร็จ มี ไมมี
5.2 หลังซอมสวนสําคัญ มี ไมมี
5.3 หลังเกิดอุบัติเหตุ มี ไมมี
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน
(ปนจั่น)

……………………………………………………………วิศวกรผูตรวจสอบ
แบบ คป.1

6. รอก กวานและตะขอยก
6.1 เสนผาศูนยกลางรอกปลายแขนปนจั่น……………………………………………………………………………………………..
6.2 เสนผาศูนยกลางรอกของตะขอยก…………….……………………………………………………………………………………..
6.3 สภาพ กวานและตะขอยก
เรียบรอย
ชํารุดตองแกไข

7. สภาพของสลัก ลูกปน เพลา เฟอง โรลเลอร (Rollers)


เรียบรอย
ชํารุดตองแกไข
8. สภาพของเบรคและคลัทช
เรียบรอย
ชํารุดตองแกไข
9. สภาพของลวดวิ่ง (Running Ropes)
9.1 ขนาดเสนผาศูนยกลาง………………………………………………..สวนความปลอดภัย (Safety Factor)
เทากับ…………………………………….อายุการใชงาน………..ป
9.2 ในหนึ่งชวงเกลียวมีลวดขาดตั้งแต 3 เสนขึ้นไปในเกลียวเดียวกัน
มี ไมมี
9.3 มีลวดขาดตั้งแต 6 เสนขึ้นไปในหลายเกลียวรวมกัน
มี ไมมี
10. สภาพของลวดโยงยึด (Standing Ropes)
10.1 ขนาดเสนผาศูนยกลาง………………………………สวนความปลอดภัย………………………………..
อายุการใชงาน………….ป
10.2 เสนลวดในหนึ่งชวงเกลียวขาดตั้งแตสองเสนขึ้นไป
มี ไมมี

11. ลวดวิ่ง และ/หรือ ลวดโยงยึด


11.1 เสนผาศูนยกลางเล็กลงเกินรอยละ 5 ของเสนผาศูนยกลางเดิม
มี ไมมี
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน
(ปนจั่น)

………………………………………………………..วิศวกรผูตรวจสอบ
แบบ คป. 1

11.2 ลวดเสนนอกสึกไปหนึ่งในสามของเสนผาศูนยกลาง
มี ไมมี
11.3 ขมวด ถูกกระแทก แตกเกลียวหรือชํารุดจนเปนเหตุใหการรับนํ้าหนักเสีย
มี ไมมี
11.4 ถูกความรอนทําลายหรือเปนสนิมมากจนเห็นไดชัด
มี ไมมี
12. สภาพของนํ้ามันไฮดรอลิกและทอลม
12.1 มีการรั่วของนํ้ามันและทอลมหรือขอตอ
มี ไมมี
12.2 มีการบิดตัวอยางผิดปกติของทอนํ้ามัน
มี ไมมี
12.3 มีนํ้ามันรั่วที่บริเวณขอตอที่ไมสามารถขันนอตใหหายรั่วได
มี ไมมี
12.4 มีรอยสึกบริเวณเปลือกนอกของทอ
มี ไมมี
13. สภาพการสึกหรอของกลไกระบบควบคุม
เรียบรอย
ชํารุดตองแกไข
14. สภาพการหลอลื่นโดยทั่วไป
เรียบรอย
บกพรองตองแกไข
15. มีครอบปด (Guard) สวนที่หมุนได ที่อาจเปนอันตราย
มี ไมมี
16. การยึดโยงปนจั่นและนํ้าหนักถวง (Counterweight) ใหมั่นคง
เรียบรอย
ชํารุดตองแกไข
17. อุปกรณไฟฟา
17.1 สภาพแผงสวิตชไฟฟา รีเลยและอุปกรณอื่น
เรียบรอย
ชํารุดตองแกไข
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน
(ปนจั่น)

………………………………………………………..วิศวกรผูตรวจสอบ
แบบ คป. 1

17.2 สภาพมอเตอรไฟฟา
เรียบรอย
ชํารุดตองแกไข
18. ความตึงของสายพานตัววี
ปกติ
ตองปรับ
19. การทํางานของ Limit Switches ของ
19.1 ชุดตะขอยก
ถูกตองเรียบรอย
ตองปรับแตงใหม
19.2 ชุดลอเลื่อน
ถูกตองเรียบรอย
ตองปรับแตงใหม
19.3 มุมแขนปนจั่น (เฉพาะ Derricks)
ถูกตองเรียบรอย
ตองปรับแตงใหม
19.4 การเคลื่อนที่บนรางของปนจั่น
ถูกตองเรียบรอย
ตองปรับแตงใหม
19.5 ชุดพิกัดนํ้าหนักยก
ถูกตองเรียบรอย
ตองปรับแตงใหม
20. ปนจั่นชนิดเคลื่อนที่บนรางหรือมีรางลอเลื่อนอยูบนแขนมีกันชนหรือกันกระแทกที่ปลายทั้งสองขางของราง
มี ไมมี
21. มีอุปกรณปองกันไมใหลอเลื่อนตกจากรางดานขาง
มี ไมมี
22. มีการดัดแปลงแกไขสวนหนึ่งสวนใดของปนจั่น
มี ไมมี
23. ปน จัน่ ที่มีความสูงเกินสามเมตร มีบันไดพรอมราวจับและโครงโลหะกันตกใหแกลูกจางที่ทํางาน
มี ไมมี
24. มีการจัดทําพื้นและทางเดินบนปนจั่นเปนชนิดกันลื่น
มี ไมมี
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน
(ปนจั่น)

…………….……………………………………………..วิศวกรผูตรวจสอบ
แบบ คป.1
รายการแกไข ซอมแซม ปรับแตง สิ่งชํารุดบกพรอง

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน
(ปนจั่น)

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แบบ คป.2
แบบตรวจสอบสวนประกอบและอุปกรณของปนจั่นชนิดเคลื่อนที่
(Mobile Cranes)
กรมแรงงาน กระทรวงมหาดไทย

ขาพเจา ………………………………………………………………….………………….…………..…อายุ……………………….……ป
ที่อยูเลขที่……………………..………ตรอก/ซอย………..………………..ถนน………………….………………ตําบล/แขวง………….……………
อําเภอ/เขต…………………………………………จังหวัด……………………..…………………….โทรศัพท………………………………………………….
สถานที่ทํางาน…………………………………………………………………………………………………………เลขที่……………………………………………..
ตรอก/ซอย…………………..ถนน……………………………………..………………..ตําบล/แขวง………….……………………………………………..
อําเภอ/เขต……………………………..………….จังหวัด…………………………………………………….โทรศัพท………………………………………..
ไดรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สาขาเครื่องกล ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. 2505
ประเภท…………………………………………………………เลขทะเบียน…………………………………..ตั้งแต……………………………………………..

ขาพเจาไดทําการตรวจสอบสวนประกอบและอุปกรณปนจั่นของ…………………………………………………………………
โดย……………………………………………………………………..…เจาของ/ผูจัดการ…………………………………………………………………………..
ที่อยูเลขที่……………….……………ตรอก/ซอย…………………………ถนน………………………………..…ตําบล/แขวง………….……………..
อําเภอ/เขต………………………………....จังหวัด……………………….……………………….โทรศัพท………………………………………….……….
เมื่อวันที่………………………………………..ขณะตรวจสอบปนจั่นใชงานอยูที่………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ข า พเจ า ได ทํ าการตรวจสอบป นจั่นและอุปกรณตามรายการตรวจสอบที่ระบุไวในเอกสารแนบทาย


พรอมทั้งไดปรับปรุงแกไขสวนที่ชํารุดหรือบกพรองจนใชงานไดถูกตองปลอดภัย และขอรับรองวาปนจั่นเครื่องนี้
ใชงานไดอยางปลอดภัย ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับปนจั่น

(ลงชื่อ)…………………………………………………… (ลงชื่อ)…………………………………………………………
(……………………………………………) (……………………………………………….…)
วิศวกรผูตรวจสอบ เจาของ/ผูจัดการ

สําหรับเจาหนาที่
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน
(ปนจั่น)

แบบ คป.2

รายการตรวจสอบสวนประกอบและอุปกรณของปนจั่นชนิดเคลื่อนที่

1. แบบปนจั่น ไฮดรอลิก ลอยาง


ลอตีนตะขาบ
อื่น ๆ
2. ผูผลิต สรางโดย……………………………………………………… ประเทศ……………………………..
ตามมาตรฐาน…………………………………………………………………………………………….
ออกแบบใหยกนํ้ าหนักไดสูงสุดที่ปลายแขนปนจั่น…………..ตัน (ยาวสุด)
ออกแบบใหยกนํ้าหนักไดสั้นสุดที่ตนแขนปนจั่น………..…….ตัน (สั้นสุด)
3. รายละเอียดคุณลักษณะ (Specification) และคูมือการใชงาน การประกอบ การทดสอบ การซอมบํารุงและ
การตรวจสอบ
มีมาพรอมกับปนจั่น
มี โดยวิศวกรกําหนดขึ้น
ไมมี
4. สภาพโครงสราง
4.1 สภาพโครงสรางปนจั่น
เรียบรอย
แตก ชํารุด บิดเบี้ยว ตองแกไข
4.2 สภาพรอยเชื่อมตอ (Joints)
เรียบรอย
ชํารุดตองแกไข
4.3 สภาพของนอตและหมุดยํ้า
เรียบรอย
ชํารุดตองแกไข
5. มีการตรวจสอบปนจั่น
5.1 หลังประกอบเสร็จ มี ไมมี
5.2 หลังซอมสวนสําคัญ มี ไมมี
5.3 หลังเกิดอุบัติเหตุ มี ไมมี
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน
(ปนจั่น)

……………………………………………………………วิศวกรผูตรวจสอบ
แบบ คป.2

6. รอก กวานและตะขอยก
6.1 เสนผาศูนยกลางรอกปลายแขนปนจั่น……………………………………………………………………………………………..
6.2 เสนผาศูนยกลางรอกของตะขอยก…………….……………………………………………………………………………………..
6.3 สภาพรอก กวานและตะขอยก
เรียบรอย
ชํารุดตองแกไข
7. สภาพของสลัก ลูกปน เพลา เฟอง โรลเลอร (Rollers)
เรียบรอย
ชํารุดตองแกไข
8. สภาพของลวดวิ่ง (Running Ropes)
8.1 ขนาดเสนผาศูนยกลาง………………………………………………..สวนความปลอดภัย (Safety Factor)
เทากับ…………………………………….อายุการใชงาน………..ป
8.2 ในหนึ่งชวงเกลียวมีลวดขาดตั้งแต 3 เสนขึ้นไปในเกลียวเดียวกัน
มี ไมมี
8.3 มีลวดขาดตั้งแต 6 เสนขึ้นไปในหลายเกลียวรวมกัน
มี ไมมี
9. สภาพของลวดโยงยึด (Standing Ropes)
9.1 ขนาดเสนผาศูนยกลาง………………………………สวนความปลอดภัย………………………………..
อายุการใชงาน………….ป
9.2 เสนลวดในหนึ่งชวงเกลียวขาดตั้งแตสองเสนขึ้นไป
มี ไมมี
10. ลวดวิ่ง และ/หรือ ลวดโยงยึด
10.1 เสนผาศูนยกลางเล็กลงเกินรอยละ 5 ของเสนผาศูนยกลางเดิม
มี ไมมี
10.2 ลวดเสนนอกสึกไปหนึ่งในสามของเสนผาศูนยกลาง
มี ไมมี
10.3 ขมวด ถูกกระแทก แตกเกลียวหรือชํารุดจนเปนเหตุใหการรับนํ้าหนักเสีย
มี ไมมี
10.4 ถูกความรอนทําลายหรือเปนสนิมมากจนเห็นไดชัด
มี ไมมี
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน
(ปนจั่น)

…………………………………………………………..วิศวกรผูตรวจสอบ
แบบ คป. 2

11. สภาพการหลอลื่นโดยทั่วไป
เรียบรอย
บกพรองตองแกไข
12. มีครอบปด (Guard) สวนที่หมุนได ที่อาจเปนอันตราย
มี ไมมี
13. มีที่ครอบหรือฉนวนหุมทอไอเสียของปนจั่น
มี ไมมี
14. ความตึงของสายพานตัววี
ปกติ
ตองปรับ
15. สภาพของฐานชวยรับนํ้าหนัก
เรียบรอย
ชํารุดตองแกไข
16. มีอุปกรณปองกันแขนตอ ใหอยูหางจากแนวเสนตรงของแขนปนจั่น เกิน 5 องศา
มี ไมมี
17. เครื่องดับเพลิง
มี ไมมี
18. มีการดัดแปลงแกไขสวนหนึ่งสวนใดของปนจั่นหรือไม
มี ไมมี
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน
(ปนจั่น)

…………………………………………………………..วิศวกรผูตรวจสอบ
แบบ คป.2
รายการแกไข ซอมแซม ปรับแตง สิ่งชํารุดบกพรอง

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน
(ปนจั่น)

You might also like