You are on page 1of 12

1.

หมายถึง งานที่แสดงออกมาบนพืน ้ ระนาบ เช่น กระดาษ ผ้าใบ ฯลฯ


2. ศิลปะทางประติมากรรม หมายถึง ผลงานที่แสดงออกต่อวัสดุแปรรูปได้
เช่น ดิน หิน ไม้ ฯลฯ โดยวิธีการแกะสลัก ปั้น หล่อ ถอดแบบพิมพ์ เป็นต้น ประเภทของงาน
ประติมากรรมแบ่งออกได้ดังนี้
( Baft – Relief )
เป็นรูปแกะสลักหรือรูปปั้นนั้นมองเห็นเฉพาะด้านหน้าเพียงด้านเดียว โดยแกะเป็นร่องลึกรอบ
ส่วนนูนซึ่งนูนสูงขึ้นจากพื้นผิวเล็กน้อย จึงมีลักษณะส่วนรวม กลมกลืน เกือบแบน ตัวอย่างเช่น
เหรียญและรูปสลักหินอ่อน เรื่องรามเกียรติ์ฐานผนังของโบสถ์วัดพระเชตุพนฯ เป็นต้น
( High Relief )
เป็นรูปแกะสลักหรือปั้นมองเห็นด้านหลังเพียงด้านเดียว แต่นูนสูงจากพื้นผิวหรือนูนมากว่าแบบ
นูนตำ่า ตัวอย่างเช่น รูปสลักที่ฐานทั้งสี่ด้านของอนุเสาวรีย์ประชาธิปไตย กรุงเทพมหานคร เป็นต้น
( Round Relief )
เป็นรูปแกะสลักหรือปั้นมองเห็นรอบด้านเหมือนกับสภาพจริง ซึ่งอาจจะมีรูปทรงเหมือนจริงตาม
ธรรมชาติ ( Realistic Form ) หรือเป็นแบบดัดแปลงจากธรรมชาติ ตามความคิดสมัยใหม่ในลักษณะรูป
ทรงนามธรรม ( Abstract Form)

งานประติมากรรมนั้น ได้แก่ การปั้น และการแกะสลัก จัดให้เป็นรูปทรงในลักษณะแบบสามมิติ


อาจจะเป็นการถ่ายทอดจากวัตถุชีวิต และธรรมชาติ หรืออาจจะสร้างสรรค์ขึ้นจากจินตนาการใน
แบบคิดฝัน แบบนามธรรมหรือรูปธรรม

๒ . ๑ สา ขาทัศนศิลป์ หมายถึง ศิลปะที่มองเห็นได้ด้วยตา แบ่งออกเป็น วิจิตรศิลป์ ประยุกต์ศิลป์ ได้แก่

๒ . ๑ . ๑ วิจิตรศิลป์ วิจิตรศิลป์ หมายถึง งานศิลปะที่สนองความต้องการของอารมณ์และจิตใจเป็นสำาคัญ โดยถือเอาความรู้สึกนัน้ เป็นคุณค่า


โดยเฉพาะคุณค่าทางความงาม จึงเรียกอีกความหมายหนึง่ ว่า "ประณีตศิลป์" หรือ "ศิลปะบริสุทธิ์"
( ๑ ) จิตรกรรม ได้แก่ ภาพเขียนสี ฯลฯ และ ภาพลายเส้น
( ๒ ) ประติมากรรม ได้แก่ งานปั้น แกะสลัก การหล่อ ฯลฯ
( ๓ ) ภาพพิมพ์ ได้แก่ ภาพพิมพ์ทุกชนิด เช่น ภาพพิมพ์ไม้ ภาพพิมพ์หิน ภาพพิมพ์ร่องลึก และภาพพิมพ์ตะแกรงไหม รวมถึงผลงานศิลปะ
ประเภท MONOPRINT คอมพิวเตอร์ ฯลฯ
4. สื่อประสม ได้แก่ ผลงานศิลปกรรมที่ใช้กรรมวิธีทางวัสดุต่าง ๆ สื่อทางเทคโนโลยีได้แก่ งานประเภทจัดวาง ฯลฯ
( ๕ ) ภาพถ่าย ได้แก่ ผลงานศิลปะภาพถ่าย ที่เสนอด้วยสื่อและกรรมวิธีต่าง ๆ

๒ . ๑ . ๒ ประยุกต์ศิลป์
( ๑ ) สถาปัตยกรรม ได้แก่ สถาปัตยกรรมแบบประเพณี สถาปัตยกรรมร่วมสมัย
( ๒ ) สถาปัตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป์ ได้แก่ การจัดตกแต่งภายในอาคาร
( ๓ ) การออกแบบผังเมือง ได้แก่ การจัดองค์ประกอบของชุมชน กลุ่มอาคาร สิ่งแวดล้อม และสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวเนื่องกับส่วนของเมือง

( ๔ ) ภูมิสถาปัตยกรรม ได้แก่ การจัดองค์ประกอบของสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง และไม่เกีย่ วข้องกับอาคาร ทีเ่ กี่ยวเนื่องกับกิจกรรมของ


สาธารณะในชุมชนและพื้นที่ธรรมชาติ
( ๕ ) การออกแบบอุตสาหกรรม ได้แก่ การออกแบบผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่ผ่านกระบวนการผลิตให้มีประโยชน์ใช้สอยละมีความเหมาะสมกับ
วัสดุที่ใช้ในการผลิตอย่างมีศิลปะ
( ๖ ) ประณีตศิลป์ ได้แก่ ผลงานประยุกต์ศิลป์ประเภทอื่น ๆ ทีใ่ ช้ศาสตร์และศิลป์ สร้างสรรค์ขึ้นด้วยวัสดุและกรรมวิธี เพื่อความ
สุนทรียภาพและ / หรือมีประโยชน์ใช้สอย

3.สถาปัตยกรรม หมายถึง งานด้านการออกแบบสิ่งก่อสร้างและการสร้างเกีย่ วกับที่อยู่อาศัยสาธารณสถาน หรือสถานทางศาสนาและรวมถึงการ


วางผังเมือง เป็นรูปแบบศิลปะที่ตอบสนองความต้องการงานประโยชน์ใช้สอย และยังมีรูปแบบคุณค่าทางความงามผสมผสานกันด้วยงาน
สถาปัตยกรรมถือว่าเป็นวิทยาศาสตร์แห่งการก่อสร้าง เพราะต้องอาศัยความรูท้ างการคำานวณ หลักทางวิทยาศาสตร์ผสมผสานกับหลักทาง
ศิลปกรรม
บางท่านอาจสงสัยว่า สิ่งก่อสร้างที่เป็นสถูป เจดีย์ ปรางค์ เป็นสถาปัตยกรรมที่สนองคุณประโยชน์ด้านใดเพราะไม่เหมือนบ้านเรือน แต่เนื่องจาก
ความต้องการของมนุษย์แบ่งเป็นความต้องการใหญ่ ๆ 2 อย่าง คือ ความต้องการทางกายและความต้องการทางจิตใจ ฉะนั้นความต้องการทั้งสอง
อย่างนี้จะสะท้อนออกมาทางสถาปัตยกรรม คือความต้องกรทางกาย ได้แก่ อาคารบ้านเรือน ส่วนสถูป เจดีย์ ปรางค์ นัน้ คือความต้องการทาง
จิตใจ เป็นการสร้างขึ้นมาเพื่อความเชื่อความศรัทธาของมนุษย์ดังนี้เหตุผลเกี่ยวกับการใช้เนื้อที่ และบริเวณในสถาปัตยกรรมสร้างขึ้นสนองความ
เชื่อและศาสนาซึ่งไม่คำานึงถึงประโยชน์ใช้สอยเพราะสถาปัตยกรรมบางอย่างสร้างขค้นโดยไม่หวังใช้เนื้อที่ภายในเลย เป็นสถาปัตยกรรมใช้
ศึกษาค้นคว้าทางรูปแบบตามอิทธิพลและความเชื่อศรัทธาต่อศาสนา

วิธีการสร้างสถาปัตยกรรม แต่เดิมนัน้ ยุคแรกๆ จะเน้นเพื่อความจำาเป็นต่อการดำารงชีวิต ยังไม่ได้เน้นถึงความสวยงาม ต่อมาจึงคิดรูปแบบได้ซับ


ซ้อนมีการเขียนแบบก่อนลงมือก่อสร้าง ตลอดจนคิดคำานวณถึงเรื่องของนำ้าหนัก แสง ยึดถึงสถานภาพทางภูมิศาสตร์กระแสทางลมพัดผ่าน และ
ความเชื่อถือก็จะทำาให้รูปแบบของสถาปัตยกรรมแตกต่างกันออกไปด้วย ปัจจุบันนี้รูปแบบง่ายๆ เป็นแท่ง เป็นกล่องไม่รุงรัง ไม่คำานึงถึง
ธรรมชาติมากนัก เพราะความเจริญทางเทคโนโลยี สามารถทำาให้มนุษย์เอาชนะธรรมชาติได้ด้วยเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ จึงมีส่วนทำาให้มนุษย์
สร้างรูปแบบทางสถาปัตยกรรมได้ตามความต้องการ วัตถุที่ใช้ทำางานทางสถาปัตยกรรมนั้น จะมีความแตกต่างกันไปตามยุคสมัย เช่น หินไม้ อิฐ
ศิลาแลง ซีเมนต์ เป็นต้น

1 ศิลปะเชียงแสน
พระพุทธรูปเชียงแสน-ไชยปราการ เป็นพระพุทธรูปแขนงหนึ่งของศิลปะเชียงแสน โดยมักพบใน
บริเวณอำาเภอไชยปราการ ทางตอนเหนือของจังหวัดเชียงใหม่ พระพุทธรูปศิลปะในแขนงนี้ มี
ลักษณะเฉพาะที่สามารถสังเกตุได้ง่ายมาก โดยการสังเกตุจากพระพักตร์ที่มีลก ั ษณะเฉพาะ ทั้งใน
ส่วนของตา ริมฝีปากและใบหู ซึ่งมีความแตกต่างไปจากศิลปะเชียงแสนบริสุทธิ์ แต่เนือ ่ งจากราคา
เช่าหาของศิลปะในแขนงนี้ตำ่ากว่าแบบเชียงแสนบริสท ุ ธิ์ ทำาให้ผู้ที่ให้เช่าพระพุทธรูปนั้น มักตั้ง
ราคาเช่าหาเท่ากับพระพุทธรูปเชียงแสนบริสุทธิ์ และบอกกับผู้เช่าว่าพระองค์นั้นๆ คือศิลปะ
เชียงแสนแท้ๆ ดังนั้นจึงต้องใช้การพิจารณาอย่างถี่ถ้วนก่อนที่จะตัดสินใจเช่าเพื่อบูชา หรือการ
ศึกษาศิลปะแบบผิดๆ

2 ศิลปะสุโขทัย
พุทธศตวรรษที่ 17 - 20 อาณาจักรสุโขทัย นับเป็นราชธานีที่มีความชัดเจนเป็นครั้งแรกของชนเผ่า
ไทยสยาม ศิลปะสุโขทัยจึง นับเป็นสกุลศิลปะแบบแรกของชนชาติไทย แต่ไม่ใช่แรกสุดเพราะก่อน
หน้านั้นมีศิลปะที่ใกล้เคียงกับศิลปะสุโขทัยมาก คือ ศิลปะเชียงแสน ริมแม่นำ้าโขงในแถบจังหวัด
เชียงราย ศิลปะสุโขทัยผ่านการคิดค้น สร้างสรรค์ คลี่คลาย สังเคราะห์ในแผ่นดินที่เป็นปึกแผ่น
มั่นคงจนได้รูปแบบที่งดงาม พระพุทธรูปสุโขทัย ถือว่ามีความงามตามอุดมคติไทยอย่างแท้จริง
อุดมคติของพระพทธรูปสุโขทัยเกิดจากต้นแบบศิลปะที่ส่งอิทธิพลต่อช่างสมัยนั้นด้วย คือ อิทธิพล
ศิลปะจากศรีลังกาและอินเดีย ลักษณะ สำาคัญของพระพุทธรูปสุโขทัย คือ พระวรกายโปร่ง เส้น
รอบนอกโค้งงาม ได้จังหวะ พระพักตร์รูปไข่ยาวสมส่วน ยิ้มพองาม พระขนงโก่ง รับกับ พระนาสิก
ที่งุ้มเล็กน้อย พระโอษฐ์แย้มอิ่ม ดูสำารวม มีเมตตา พระเกตุมาลา รูปเปลวเพลิง พระสังฆาฏิยาว
จรดพระนาภี พระศกแบบก้นหอย ไม่มีไร พระศก พระพุทธรูปศิลปะสุโขทัยมีความงดงามมาก ที่
มีชื่อเสียงมากได้แก่ พระพุทธชินราช พระพุทธชินสีห ์์ พระศาสดา พระพุทธไตรรัตนายก และ
พระพุทธรูปปางลีลา นอกจากพระพุทธรูปแล้ว ในสมัยสุโขทัยยังมี งานประติมากรรมที่มีชื่อเสียง
อีกอย่างหนึ่งคือ เครื่องสังคโลก ซึง่ เป็นเครื่อง ปั้นดินเผาสมัยสุโขทัยที่มล ี ักษณะเฉพาะ มีชื่อเสียง
ไปทั่วโลก เครื่องปัน
้ ดินเผาสังคโลก เป็นเครื่องปัน ้ ดินเผาเคลือบ สีเขียวไข่กา สีนำ้าตาล สีใส เขียน
ทับลายเขียนรูปต่าง ๆ มี ผิวเคลือบแตกราน สังคโลกเป็นสินค้าออก ทีส ่ ำาคัญของอาณาจักรสุโขทัย
ที่ ส่งไปจำาหน่ายนอกอาณาเขต จนถึงพิลิปปินส์ อินโดนีเซีย และญี่ปุ่น

3
พุทธศตวรรษที่ 19 - 24 อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรที่ยิ่งใหญ่ และมีอายุยาวนานถึง 417
ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 1893 - 2310 ศิลปะอยุธยาที่เจริญรุ่งเรืองมีหลายแขนง ได้แก่ การประดับมุก การเขียน
ลายรดนำ้า ลวดลายปูนปั้น การแกะสลักไม้ และ เครื่องปั้นดินเผาลายเบญจรงค์ ฯลฯ ศิลปะการ
สร้างพระพุทธรูปในสมัย อยุธยาไม่ค่อยรุ่งเรืองนัก ไม่มีลักษณะเฉพาะที่เด่นชัด ลักษณะทั่วไปจะ
เป็น การผสมผสานศิลปะแบบอืน ่ ๆ มีพระวรกายคล้ายกับพระพุทธรูปอู่ทอง พระพักตร์ยาวแบบ
สุโขทัย พระเกตุมาลาเป็นหยักแหลมสูงรูปเปลวเพลิง พระขนงโก่งแบบสุโขทัย สังฆาฏิใหญ่ปลาย
ตัดตรง หรือสองแฉกแต่ไม่ เป็นเขี้ยวตะขาบ แบบเชียงแสน หรือสุโขทัย ตอนหลังนิยมสร้าง
พระพุทธ รูปทรงเครื่องแบบกษัตราธิราชเนือ ่ งด้วยอยุธยามีพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำา
ชาติ พระมหากษัตริย์ทุกพระองค์เป็นอัครศาสนูปถัมภกพระพุทธศาสนา ราษฎรส่วนใหญ่มีความ
เลื่อมใสในพระพุทธศาสนาก่อให้เกิดการสร้างสรรค์ศิลปกรรม ในรูปของงานสถาปัตยกรรม
ศิลปกรรม และจิตรกรรม ยังมีการสร้างสรรค์ศิลปกรรมด้านอื่นๆ ได้แก่ งานศิลปกรรม เพื่อการ
เฉลิมพระเกียรติพระมหากษัตริย์ เช่น พระราชวัง เป็นต้นศิลปกรรมสมัยอยุธยามีการสร้างสรรค์
หลายสาขา ได้แก่

สถาปัตยกรรม หมายถึง ศิลปะในการก่อสร้าง สถาปัตยกรรมทางพระพุทธ


ศาสนาสมัยอยุธยา แบ่งได้เป็น ๔ ยุค คือ
ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (พระเจ้าอู่ทอง)จนสิ้นสมัยสมเด็จพระบรม
ราชาธิราชที่ ๒ (เจ้าสามพระยา)พ.ศ.๑ยุคที่๑ ๘๙๓-๑๙๙๑ เมื่อแรกตั้งกรุงศรีอยุธยาไทยได้รับอิทธิพล
ของศิลปะขอมจึงนิยมสร้างตามศิลปะแบบลพบุรี โดยมักสร้างพระสถูปทีท ่ ี่เป็นหลักของพระอาราม
เป็นปรางค์ตามแบบเขมร ดังเช่นที่วัดพุทธไธสวรรย์ วัดราชบูรณะ วัดมหาธาตุ เป็นต้น
ตั้งแต่สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถจนสิน ้ สมัยพระอาทิตยวงศ์ พ.ศ. ๑๙๙๑-๒๑๗๒
เมื่อช่วงเวลาส่วนใหญ่ในสมัยของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ พระองค์ได้เสด็จไปประทับที่
พิษณุโลก บรรดาช่างหลวงจึงได้รับเอาศิลปะแบบสุโขทัยเข้ามาเผยแพร่ในอยุธยา จึงเกิดความ
นิยมสร้างพระสถูปเป็นเจดีย์ทรงลังกาแบบสุโขทัย แต่ดัดแปลงให้สูงชะลูดกว่าเป็นลักษณะเฉพาะ
ของสมัยอยุธยา เช่น พระเจดียใ์ หญ่ ๓ องค์ในวัดพระศรีสรรเพชญ์ และพระเจดีย์ใหญ่ที่วัดใหญ่
ชัยมงคล เป็นต้น
ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททองจนสิ้นสมัยสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ ๙(พระเจ้า
ท้ายสระ)พ.ศ.๒๑๗๒-๒๒๗๕ สมเด็จพระเจ้าปราสาททองทรงปราบปรามเขมรกลับมาอยู่ใน
อำานาจของไทยอีก ไทยจึงได้รับเอาวัฒนธรรมเขมรเข้ามาใหม่ ลักษณะสถาปัตยกรรมจึง
เป็นแบบอย่างศิลปะเขมร เช่น ปราสาทพระนครหลวง พระปรางค์ประธานที่วด ั ไชยวัฒนา
ราม นอกจากนี้ยังมีการสร้างพระเจดีย์เหลี่ยมหรือเจดีย์ย่อมุมไม้สิบสองขึ้นด้วย ซึ่งสร้างที่
วัดชุมพลนิกายาราม บางปะอิน เป็นต้น
ตั้งแต่สมัยพระบรมราชาธิราชที่ ๓ (พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ)จนถึงสิน ้ สมัย
อยุธยา พ.ศ.๒๒๗๕-๒๓๑๐ไทยยังคงนิยมสร้างเจดีย์ย่อมุมไม้สบ ิ สองเหมือนยุคที่ ๓ เช่น
ฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยม ซึ่งมุมแต่ละเหลี่ยมจะย่อมุมแบ่งออกไปอีกสามมุมรวมเป็นสิบสองมุม
หมายถึง ศิลปะในการปัน ้ หล่อ หรือ แกะสลักส่วนใหญ่ของอยุธยา
คือ การสร้างพระพุทธรูปด้วยสำาริด ในช่วงก่อนสมัยอาณาจักรอยุธยา ดินแดนลุ่มแม่นำ้า
เจ้าพระยาเป็นที่ตั้งอาณาจักรที่มีศิลปะเป็นของตนเอง เช่น แคว้นทวารวดี แคว้นละโว้ (ล
พบุรี) เป็นต้น ในสมัยอยุธยาตอนต้นได้รับอิทธิพลศิลปะแบบทวารวดี (มอญ) กับลพบุรี (ขอ
ม) ผสมผสานกัน เรียกว่า ศิลปะแบบอู่ทอง พระพุทธรูปแบบอู่ทองของอยุธยาจะมีพระ
พักตร์เป็นเหลี่ยม สมัยต่อมาก็รับอิทธิพลศิลปะแบบสุโขทัยเข้ามาแต่ยังมีอิทธพลศิลปะแบบ
อู่ทองผสมอยู่ ต่อมาในสมัยพระเจ้าปราสาททอง อยุธยาได้เขมรกลับมาเป็นประเทศราชอีก
ครั้ง การสร้างพระพุทธรูปสลักด้วยศิลาทรายสีแดงตามแบบเขมร พระพุทธรูปมีพระเนตร
และพระโอษฐ์เป็นขอบสองชั้น หรือมีพระมัสสุเหนือพระโอษฐ์
สมัยอยุธยาตอนปลายนิยมสร้างพระพุทธรูปทรงเครื่อง ซึ่งมี ๒ แบบ คือแบบทรงเครื่อง
ใหญ่อย่างกษัตริย์ทรงมงกุฎยอดแหลม
และแบบทรงเครื่องน้อย สวมชฎาหน้าเชิด พระพุทธรูปยืนนิยมสร้างปางประทานอภัย รูป
แบบที่ยกพระหัตถ์ ๒ ข้าง เรียกว่า ปางห้ามสมุทร รูปแบบที่ยกพระหัตถ์ขวา เรียกว่า ปาง
ห้ามญาติ รูปแบบที่ยกพระหัตถ์ซ้ายเรียกว่า ปางห้ามพระแก่นจันทร์ เป็นต้น
หมายถึง ศิลปะในการวาดภาพ ระบายสี
จิตรกรรมสมัยอยุธยา เป็นศิลปะที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา ภาพจิตรกรรมมักเป็นภาพ
พุทธประวัติทศชาดกและไตรภูมิ ในสมัยอยุธยาตอนต้นรับอิทธิพลศิลปะแบบลพบุรี (ขอม)
สุโขทัย และศิลปะลังกา นิยมใช้สีขาว แดง ดำา และปิดทอง บนภาพ ในสมัยอยุธยาตอน
กลางรับอิทธิพลศิลปะแบบสุโขทัย ใช้สีระบายภาพมากขึ้นอีกครั้ง ช่างของอยุธยาได้พัฒนา
ความสามารถโดยการนำาสีต่างๆ เช่น เขียว ฟ้า หรือม่วงมาใช้ ภาพวาดสีสดใสทีชีวิตชีวา
โดยมีลักษณะภาพบุคคลและลวดลายเป็นแบบอยุธยา แต่เขียนภาพทิวทัศน์ตามแบบจีน

หมายถึง งานศิลป์ที่มีความประณีต อาจเป็นงานสถาปัตยกรรม


หรืองานประติมากรรมก็ได้
งานประณีตศิลป์สมัยอยุธยามีความงดงามเหนือศิลปะแบบอื่นที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม
ที่สำาคัญ คือ
. เช่น บานประตู พระพุทธรูป มณฑป ๕ ยอด ตู้เก็บ
หนังสือ นอกจากนี้ยังมีเครื่องไม้จำาหลักรูปประติมากรรมประเภทลอยตัว เช่น กินรี ครุฑ
สัตว์ในนิยาย เป็นต้น
. ลายรดนำ้าประกอบด้วย การลงรักเขียนลายด้วยนำ้ายาหรดาล และปิด
ทองรดนำ้า ทำาได้ทั้งบนแผ่นไม้ แผ่นโลหะ พื้นปูน ผิวเครื่องเขิน ดินเผา ฯลฯ ผลงานทีพ่ บ
เช่น บานประตู หน้าต่างโบสถ์และวิหาร ตู้พระธรรม เป็นต้น
. เป็นงานที่ใช้เปลือกหอยมุกมาเลื่อยฉลุลาย แล้วนำามาปะติดด้วยรัก
ประดับภาชนะต่างๆ เช่น ตู้ บานประตู หน้าต่าง เป็นต้น เครื่องมุก สมัยอยุธยามีฝีมือ
ประณีตงดงามมาก โดยเฉพาะบานประตูพระอุโบสถประดับมุก ซึง่ เริ่มสร้างครั้งแรกใน
รัชกาลสมเด็จพระบรมธิราชที่๓ (พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ)ซึง่ งดงามมาก
. งานประณีตศิลป์เกี่ยวกับการออกแบบลวดลาย มีเครื่องถมดำา เครื่อง
ถมเงิน เครื่องถมทอง และเครื่องถมตะทอง ซึ่งก็คือถมเงินที่มีทองแต้มระบายตามลายที่
เป็นดอก เป็นช่อได้ระยะกัน
. งานที่พบ เครื่องราชูปโภคของพระมหากษัตริย์ เครื่อง
ทองประดับอัญมณี ทองพระกร แหวนตรา เป็นต้น

บรรดาสิ่งของเครื่องใช้ที่ขุดค้นพบในพระเจดีย์และพระปรางค์ต่างๆ บรรจุอยู่ภายในกรุ
ข้างใต้โบราณสถานมักมีการค้นพบผอบ หรือพระเจดีย์เล็กๆบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ
สิ่งของมีค่าต่างๆ เช่น พระพุทธรูปทองคำา แก้วแหวนเงินทอง ทีม ่ ีผู้ใจบุญบริจาค กรุที่
สำาคัญ ได้แก่ กรุวัดราชบูรณะ ซึ่งสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๒ ทรงสร้างในบริเวณที่
ถวายพระเพลิงเจ้าอ้ายกับเจ้ายี่ พระเชษฐาของพระองค์ ภายในกรุพบเครื่องราชูปโภค
ทองคำาประดับอัญมณี และพระพุทธรูปทองคำาและเงิน ปัจจุบันถูกเก็บรักษาไว้ที่
พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติเจ้าสามพระยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

4 ศิลปะรัตนโกสินทร์
ตั้งอยู่ที่อาคารประพาสพิพิธภัณฑ์ ชั้นล่าง จัดแสดงศิลปวัตถุสมัยรัตนโกสินทร์ นับตั้งแต่
สถาปนากรุงเทพมหานครเป็นราชธานีเมื่อ พ.ศ. 2325 จนถึงปัจจุบัน แบบศิลปะรัตนโกสินทร์มีความ
สืบเนื่องกับศิลปะอยุธยา และพัฒนารูปลักษณะของตนเองขึ้น โดยวิวัฒนาการทางศิลปะส่วนหนึ่ง
ขึ้นอยู่กับกระแสพระราชนิยมในแต่ละยุคสมัย นับตั้งแต่รัชกาลที่ 4 เป็นต้นมา ศิลปะตะวันตกได้เข้า
มามีอิทธิพลต่อศิลปะไทยประเพณีมากขึ้น และมีการย้อนกลับมาสร้างงานศิลปะตามแบบศิลปะ
โบราณ วัตถุสำาคัญที่จัดแสดงในห้องนีไ้ ด้แก่ พระพุทธรูปทรงเครื่อง สมัยรัชกาลที่ 1-3 ตัวอย่าง
ศิลปะรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 1
ไม้ลงรักปิดทอง จัดแสดงที่โรงราชรถ
ศิลปะรัตนโกสินทร์ตอนต้น พุทธศตวรรษที่ 24 ราชรถทรงบุษบก สำาหรับทรงพระศพพระบรม
พระพุทธรูปทรงเครื่องอย่างพระมหาจักรพรรดิ ศิลปะรัวงศ์ ผู้ทรงศักดิ์สูงชั้นสมเด็จเจ้าฟ้า สันนิษฐานว่า
สร้ ตนโกสิ
างราวนพ.ศ.
ทร์ พุ
2342 ในรัชกาลที่ ่ 25
ทธศตวรรษที แกะจากแก้
1 เพื่ออั ญเชิญพระวผลึก
หมายถึง พระพุทธเจ้าปางทรมานพระยามหาชมพู นิยม
โกศสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดา
กันในสมัยอยุธยาตอนปลายและต้นกรุงรัตนโกสินทร์
ศิลปะรัรัตกนโกสิ
ษ์ ออกรพะเมรุ ทอ
นทร์ รัชกาลที้ งสนามหลวงเมื ด 2342
่อ พ.ศ.
่ 1 ไม้ลงรักปิดทองจั
แสดงที่ห้องราชยานคานหาม พระทีน
่ ั่งภิมุข
มณเฑียร
ไม้ลงรักปิดทอง
ศิลปะรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 2
จัดแสดงทีห ่ ้องไม้จำาหลัก มุขเด็จ
บานประตูไม้จำาหลักลายพฤกษา ประกอบด้วยลายดอกพุดตาล สอดแทรกด้วยรูปสัตว์นานา
ชนิดเต็มพื้นที่ การแกะคว้านลึกซ้อนทับกันเข้าไปเป็นชั้นๆจนลายบางตอนลอยตัวขึ้น ภาพสัตว์
และจังหวะการเกี่ยวพันของกิ่งก้านสาขาแลดูซับซ้อนมีชีวิตชีวา แสดงฝีมืออันยอดเยี่ยมของช่าง
แกะสลัก สันนิษฐานว่าพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยรัชกาลที่ 2 ทรงร่วมแกะสลักบาง
ส่วนด้วย

พุทธศตวรรษที่ 25 - ปัจจุบัน ศิลปะรัตนโกสินทร์ในตอนต้น เป็นการสืบทอดมาจากสกุล


ช่างอยุธยา ไม่ว่าจะเป็น การเขียนลายรดนำ้า ลวดลายปูนปั้น การแกะสลักไม้ เครื่องเงิน เครื่อง
ทอง การสร้างพระพุทธรูป ล้วนแต่สืบทอดความงามและวิธีการ ของศิลปะอยุธยาทั้งสิ้น ต่อมา ใน
สมัยรัชกาลที่ 4 มีการติดต่อกับชาวต่างชาติ มากขึ้นโดยเฉพาะชาติตะวันตก ทำาให้ลักษณะศิลปะ
ตะวันตกหลั่งไหลเข้าสู่ ประเทศไทย และมีอิทธิพลต่อศิลปะไทยในสมัยต่อมา หลังจากการเสด็จ
ประ พาสยุโรปทั้ง 2 ครั้งของ พระเจ้าอยูห่ ัวรัชกาลที่ 5 ได้มีการนำาเอาแบบอย่าง ของศิลปะตะวันตก
เข้ามาผสมผสานกับศิลปะไทย ทำาให้ศิลปะไทยแบบ ประเพณี ซึง่ เป็นแบบดั้งเดิม มีการ
เปลี่ยนแปลงรูปแบบไปเป็นศิลปะไทย แบบร่วมสมัย ในที่สด ุ ลักษณะของพระพุทธรูปเน้นความ
เหมือนจริงมากขึ้น เช่น พระศรีศากยทศพลญาณ ฯ พระประธานพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม
เป็นพระพุทธรูปปางลีลาโดยการผสมผสานความงามแบบสุโขทัยเข้ากับความ เหมือนจริง เกิดเป็น
ศิลปะการสร้างพระพุทธรูปในสมัยรัตนโกสินทร์

6 เรือนเครื่องผูก
เรือนไทยทางใต้ก็คล้ายกับทางเหนือ คือแบ่งเป็น ๒ แบบ ได้แก่ เรือนเครื่องผูก กับ เรือนเครื่องสับ
ค่ะ

มักเป็นกระท่อมแบบง่ายๆ ใช้ไม่ไผ่เป็นโครงสร้างแล้วผูกด้วยหวาย
หลังคามุงจากหรือแฝก ไม่นิยมกั้นฝาห้อง แต่จะใช้ม่านกั้นห้องนอนแทนให้เป็นสัดส่วน ไม่มีรั้ว
ปลูกติดๆกันเป็นหมู่บ้าน เพื่อจะได้ช่วยเหลือกันใกล้ชิด ว่ากันว่าเพราะพ่อบ้านเป็น 'ชาวเล' ต้อง
ออกทะเลเป็นประจำาทีละหลายๆวัน ปล่อยแม่บ้านและลูกๆเอาไว้ทางบ้านตามลำาพัง ก็ตอ ้ งอาศัย
ความใกล้ชิดของชุมชน เพื่อดูแลและช่วยเหลือหากมีภัยต่างๆให้ ดีกว่าจะปลูกบ้านอยู่โดดเดี่ยวห่าง
จากผู้อื่น
เป็นบ้านสำาหรับคนฐานะดีขึ้นกว่าแบบแรก การสร้างซับ
ซ้อนกว่าเรือนเครื่องผูก ปลูกด้วยไม้เคี่ยมหรือไม้หลุมพอ เพราะไม้สักอย่างทางภาคเหนือหายาก
แทบไม่มีเลย ยกใต้ถุนสูงพอคนลอดได้ ทีแ ่ ตกต่างจากภาคอื่นคือไม่ขุดหลุมลงเสาเอก แต่จะใช้แท่ง
หินหรือคอนดรีตฝังลงในดิน ให้พื้นบนโผล่ขึ้นเหนือดินแล้ววางเสาบ้านลงบนแท่น แล้วใช้ไม้เนื้อ
แข็งอย่างไม้ตง ร้อยทะลุจากโคนเสาหัวบ้านไปจนถึงโคนเสาท้ายบ้านเพื่อยึดไว้ให้มั่นคง ตัวเรือน
มีความยาวเป็นสองช่วงของความกว้าง มีพน ื้ ระเบียงลดตำ่ากว่าตัวเรือนใหญ่ และมีนอกชานลดตำ่า
กว่าพื้นระเบียงอีกที หลังคาจั่วตั้งโค้งแอ่นติดไม้แผ่นปัน ้ ลมแบบหางปลา มุงกระเบื้อง และมี
กันสาดยื่นออกไปกว้างคลุมสามด้าน สมกับอยู่ในสถานที่ฝนชุก ระเบียงก็มีชายคาคลุมไว้เช่นกัน
แล้วแยกเรือนครัวออกไปต่างหาก เรือนพวกนีจ ้ ะสร้างเพิ่มเป็นเรือนหมู่กไ็ ด้ค่ะ ประมาณ ๓-๔
เรือน สำาหรับลูกหลานเมื่อแต่งงานแยกออกไปอยู่อก
ี เรือนหนึ่ง

บ้านหลังคาจั่ว
แต่ถ้าจะปลูกแบบบ้านคนฐานะดี ลองไปหาแบบในจังหวัดทางใต้สุดอย่าง ยะลา ปัตตานี
นราธิวาส สงขลา บ้านมักจะกว้าง ก่อสร้างสวยงามแข็งแรงขึ้นกว่าสองแบบแรก แบ่งได้เป็น ๓
แบบตามรูปแบบหลังคาค่ะ เป็นรูปจั่วตรงมุงด้วยกระเบื้อง ประดับเชิง
ชายและช่องลมด้วยไม้ฉลุ ตัวเรือนใต้ถน
ุ ยกสูง มีระเบียงและนอกชาน

เป็นบ้านใต้ถุนสูง หลังคามุง
กระเบื้อง รูปทรงลาดเอียงสี่ด้านไม่มี
จั่ว ตรงรอยตัดเหลี่ยมหลังคาครอบ
ด้วยปูนกันฝนรั่วลงบ้าน เป็นแบบ
หลังคาที่แข็งแรง ต้านลมพายุได้ดีค่ะ
มักพบมากแถวสงขลา ฝรั่งเรียกทรง
หลังคาแบบนี้ว่า "ทรงฮิปส์"

1. ( )
เรือนหลังคามุงจาก ฝาขัดแตะ หลังเล็กสำาหรับครอบครัว
แรกเริ่มที่มี
รูปแบบเรียบง่ายสามารถสร้างให้เสร็จได้ภายในหนึ่งวัน
โดยใช้ไม้ไผ่
ทีม
่ ีอยู่ในท้องถิ่นและแรงงานจากชาวบ้านให้ความร่วมมือ
ในลักษณะ
เรียกว่า " การลงแขก "
2. (
)
เรือนหลังคามุงจาก ยกเรือนขึ้นสูง เพื่อเก็บอุปกรณ์ทำามา
หากินและทำา

7 เรือนกาแล
กิจกรรมใต้ถุนบ้าน การแบ่งส่วนเรือนแสดงให้เห็นถึงการ
ขยายขนาด
ของครอบครัว และมีสมาชิกเป็นเด็กอ่อน

3. ( )
เรือนไม้แท้สามช่วงเสา ฝาปะกน หลังคามุงจากสำาหรับ
ครอบครัวที่มี ฐานะมีความมั่นคงในการประกอบอาชีพ โดย
เฉพาะการทำานา ซึง่ เป็น
อาชีพที่นิยมทำากันมากในสมัยโบราณ เพราะมีภูมป
ิ ระเทศเอื้อ
อำานวย

4.
เรือนสามช่วงเสาสองหลัง เชื่อมด้วยชานมีครัวไฟแยกต่างหาก
หลังคา มุงจากและกระเบื้องสำาหรับครอบครัวผู้มีฐานะ ใน
บริเวณเรือนมียุ้งเก็บ ข้าวเปลือกและอุปกรณ์การทำานา

5.
สถานที่สำาหรับเก็บข้าวเปลือกหลังจากที่ได้ผ่านการนวด
เรียบร้อยแล้ว โดยข้าวส่วนหนึ่งจะเก็บเป็นพันธุ์ข้าวเปลือกใน
ปีต่อไป และข้าวสำาหรับ
ใช้สีกน
ิ ระหว่างปี

6.
พืน
้ ที่สำาหรับเลี้ยงสัตว์ของชาวนา เพื่อไว้ใช้แรงงานและเป็น
อาหาร เช่น ไก่ หมู ควาย และพื้นที่สำาหรับปลูกพืชผักสวนครัว
ไว้ประกอบ
อาหาร โดยส่วนที่เหลือนำาจำาหน่ายได้

บ้านหลังคามนิลา บ้านหลังคามนิลา หรือเรียกว่าแบบ บรานอร์ เป็ นบ้านหลังคาจัว่ผสมหลังคา


ปั ้ นหยา คือส่วนหน้าจัว่อยู่ข้างบนสุดแต่สร้างค่อนข้างเตีย
้ ด้านล่างลาดเอียงลงมา รับกับหลังคาด้านยาวซ่ึงลาดเอียงตลอด เป็ นเรือนใต้ถน

สูงเหมือนสองแบบแรก
แถมท้ายด้วยความเช่ ือของชาวใต้ในการปลูกบ้าน ถ้าใครสนใจจะปลูกเรือนจริงๆ ลองเช่ ือไว้ก็ไม่เสียหายอะไรนะคะ หลายข้อก็มีเหตุผล
สมควรในตัว หลายข้อก็คล้ายๆภาคกลางน่ีเอง แสดงว่าเป็ นความเช่ ือท่ีแพร่หลายกันทัว่ไป
- ห้ามปลูกเรือนบนจอมปลวก
- ห้ามปลูกคร่อมตอ
- ห้ามสร้างบนทางสัญจร
- เลือกพ้ืนดินท่ีดินสีออกแดง ดูสะอาด กล่น ิ ไม่เหม็นสกปรก
เรือนทรงสะละไน เป็นชื่อที่ชาวล้านนา เรียกอาคารประเภทประดับลายฉลุไม้

บ้านที่มีหลังคาซับซ้อน ได้รับอิทธิพลจากตะวันตก เกิดเอกลักษณ์เฉพาะของล้านนา


ภายในแบบกาแล

เรือนทรงสะละไนอีกแห่งนึงที่ใหญ่โตสวย
งามมากด้วยไม้สักทั้งหลัง

แก้ไขเมื่อ 20 ก.ย. 46 11:51:42

"บ้านคำาเท่ียง" เรือนไทยล้านนาหลังเดียว
ท่ียังคงรูปแบบการสร้าง แบบล้านนาไว้ทัง้หมด
แทรกตัวอยู่ท่ามกลางความเจริญ ของสังคมเมืองย่าน
อโศก ภายในจัดแสดงข้าวของเคร่ ืองใช้ รวมไปถึงคติ
ความเช่ ือของคนล้านนาได้อย่างน่าสนใจ
ทันที่ที่ก้าวลงจากสถานีรถไฟฟ้า
ทางออกที่ 3 แล้วเดินมาที่แยกอโศก (สุขุมวิท 21)
จะเห็น “ ”
ซึ่งเป็นเรือนไทยล้านนาแบบดั้งเดิม ทีเ่ รียกว่า “ ”

" " มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า " " หรือเรือนเครื่องสับแบบ


ประเพณีนิยมของล้านนา เป้นเรือนที่สร้างด้วยไม้เนื้อแข็ง เรียกชื่อตามลักษณะของไม้ป้านลม
หลังคาที่ส่วนปลายไขว้กันคือ " " ซึ่งนิยมสลักลวดลายอย่างสวยงาม ซึง่ ปัจจุบันเรือนทรง
โบราณแบบนี้หาดูได้ยากแล้ว
แต่เดิมนั้น บ้านหลังนี้อยู่ที่ จ. เชียงใหม่ แต่นางกิมฮ้อ นิมมานเหมินทร์ ผู้เป็นจ้าของเรือน เห็น
ความสำาคัญและเห็นคุณค่าของศิลปะล้านนาไทย จึงมอบเรือนหลังนี้ให้แก่สยามสมาคม เพือ ่ จัดตั้ง
เป็นพิพิธภัณฑ์ชาติพันธุ์วิทยา ให้คนรุ่นหลังได้มีโอกาสได้รับรู้เรื่องราวเกี่ยวกับวัฒนธรรมของคน
ล้านนา ซึง่ นับวันจะสูญหายไปกับกาลเวลา

ที่มาของชื่อ “ ” ตั้งขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์แก่มารดาของนางกิมฮ้อ คือ นางคำา


เที่ยง อนุสารสุนทร ซึ่งเป็นผู้หนึ่งที่เกิดบนเรือนหลังนี้
การไปเที่ยวชมเรือนคำาเที่ยงนี้ทำาให้ได้รู้เกี่ยวกับความเชื่อของคนล้านนา กล่าวคือ คนล้านนามี
การนับถือผี และให้ความสำาคัญกับความเชื่อนี้คอ ่ นข้างมาก โดยสะท้อนออกมาในรูปแบบต่าง ๆ
ดังนี้ คือ
@ ชุมชนส่วนใหญ่ในล้านนามี
ตำานานระบุว่า เดิมถิ่นฐานที่ตนอาศัยอยู่เป็นของพวกลัวะ ชาวลัวะมีการ
ตั้งบูชาเสาหลักเมือง หรือเสาใจบ้าน ซึ่งชาวลัวะเรียกว่า “
” ทำาจากลำาต้นของต้นไม้ แกะสลักลวดลายที่อาจจะแฝงด้วย
ความหมาย เช่น รูปสัญลักษณ์ผู้ชาย และผูห ้ ญิง ทีส่ ื่อระหว่างมนุษย์กบ ั
อำานาจลี้ลบ ั มองไม่เห็น สามารถให้คุณและโทษต่อการทำามาหากิน ความ
เป็นอยู่ ซึ่งเรียกกันว่า ผี สิงสถิตอยูใ่ นธรรมชาติรอบตัว หากอยากอยู่ดีกิน
ดี ต้องมีการเซ่นผีด้วยการฆ่าควายโดยผูกได้ที่เสาสะก๊าง เพือ ่ ให้ผีพอใจ
แล้วจะได้ผลตามที่ปรารถนา
ประเพณีนี้ได้ส่งอิทธิพลต่อชุมชนล้านนา แต่ละหมูบ ่ ้าจะมีเสาใจบ้าน
เสาหลักเมือง พอผีเสื้อบ้านและหอผีเสื้อเมือง หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อ
ใช้เป็นที่สถิตของสิ่งศักดิ์สทิ ธิ์ที่รักษาหมู่บ้าน (ผีเสื้อบ้าน) เมือง (เสื้อเมือง)
หรือที่เป็นสื่อระหว่างชาวบ้านชาวเมืองกับผีเสื้อบ้านเสื้อเมือง ทุกปีต้องเซ่นไหว้อย่างน้อยหนึ่ง
ครั้ง ถือเป็นประเพณีที่ต้องปฏิบัติ

@ ทำามาจากแผ่นไม้แกะสลักลวดลายสวยงาม ติดไว้เหนือ
ช่องประตูห้องนอน ซึ่งเชื่อว่าจะป้องกันสิ่งชั่วร้ายผ่านเข้าสู่ห้องนอน และ
เป็นสิ่งทีบ
่ อกเขตหวงห้ามระหว่างคนที่นับถือผีบรรพบุรุษเดียวกันกับ
คนนอก

@ ( ) การกำาหนด
บทบาทของผีประเภทต่าง ๆ เป็นการสะท้อนภูมป ิ ัญญาในเรื่องการจัดการทางสังคมของชาวล้าน
นาตามธรรมเนียม ผูห ้ ญิงจะเป็นผู้ครอบครองดูแลเรือนโดย “สายแม่” นี้จะ
เป็นผู้รับสืบทอดทั้งเรือนและผีปู่ย่า ซึง่ ลูกสาวคนสุดท้องจะต้องเป็นผู้
สืบทอดนำาผีปู่ย่าไปไว้ที่เรือนตนเองเรียกว่า “เค้าผี” และจะกระทำาอย่างนี้
เรื่อยไปจนกระทั่งไม่มีลูกสาวสืบทอด จึงเรียกว่า “ผีสุด”

สิ่งสำาคัญในเรือนเค้าผี (อ่านว่าเก๊าผี เพราะในภาษาเหนือจะออกเสียง ค


เป็นเสียง ก) คือ หอ (ศาล) หรือหิ้งผี สำาหรับบูชาผีปู่ย่า ซึ่งจะอยู่เหนือหัวใน
ห้องนอน ติดกับเสามงคล (เสาเอก)

บนหิ้งจะมีขัน (พาน) บูชาผีใส่ข้าวตอก ดอกไม้ ธูป เทียน ขันหมาก นำ้าต้น


แจกัน หมาก เป็นต้น และจะมีประเพณีเลี้ยงผีปู่ย่าเป็นประจำาทุกปี และใน
กรณีที่มีเทศกาลมงคลเป็นพิเศษ หรือในเทศกาลสงกรานต์ ซึ่งถือเป็นการ
ดำาหัวทั้งผีปู่ย่า และปู่ย่าจริง ๆ ไปพร้อม ๆ กัน
นอกจากความเชื่อเรื่องผีแล้ว ยังแสดงให้เห็นว่าคนล้านนาให้ความสำาคัญกับผู้หญิง ดังจะ
เห็นได้จากสิ่งต่อไปนี้
@ จากแม่สลู่ ูกสาว ผูห ้ ญิงต้อง
ฝึกหัดทอผ้ากับแม่ตั้งแต่เด็ก โดยหัดเก็บลวดลายให้ครบทุกอย่าง เมื่อ
ชำานาญแล้วต้องทอซิน ่ ตีนจกนุ่งเอง
เป็นของสำาคัญทีล
่ ูกสะใภ้นิยมให้เป็นของไหว้แม่
สามีหรือผูใ้ หญ่ที่นบั ถือในประเพณีรดนำ้าดำาหัว ใช้เป็นเครื่องประกอบ
ในพิธีเรียกขวัญข้าว เป็นเครื่องบูชาแม่โพสพ และเป็นเครื่องแต่งกาย
ของผีที่มาลงทรงในการเลี้ยงผีด้วย
@ จากแม่สล ู่ ูกสาว นับเป็น
งานสำาคัญอีกชิ้นทีห ่ ญิงสาวล้านนาต้องฝึกหัดเย็บ ปัก ถัก ทอเครื่อง
นอนจากแม่ให้ชำานาญตั้งแต่อายุ 5 ขวบ เนื่องจากมีธรรมเนียมว่า หญิง
สาวจะแต่งงานได้ตอ ้ งทำาเครื่องนอนไว้ให้ครบทุกอย่าง ได้แก่ สะลี (ฟูก)
ผ้าหลับ (ผ้าปูที่นอน) หมอนผ้าทวบ (อ่านว่าผ้าต่วบ) คือ ผ้าห่ม สุด (มุ้ง) ผู้เป็นแม่ต้องคอยดูแลสั่ง
สอนเพื่อไม่ให้น้อยหน้าหญิงสาวเรือนอืน ่ หมอนเป็นเครื่องนอนอย่างหนึ่งที่ผห ู้ ญิงต้อง
สามารถทำาได้ ซึง่ แบ่งเป็น 4 ชนิด ได้แก่ – หน้าหมอนแบ่งเป็นหกส่วน
– เป็นหมอนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส เย็บเป็นช่อง ๆ มีรูตรงกลาง –
เป็นหมอนทรงสามเหลี่ยม และ
– หน้าหมอนเป็นรูปครึ่งวงกลม นิยมปักหน้าหมอนด้วยเส้นไหมสีต่าง ๆ

ถ้าเทียบผู้หญิงสมัยใหม่กบั ผู้หญิงล้านนานี่แตกต่างกันโดยสิน ้ เชิง เพราะปัจจุบัน คงไม่มีหญิง


สาวคนไหนมานั่งเย็บหมอน หรือที่นอนกันแล้ว มาทีพ ่ ิพิธภัณฑ์เรือนคำาเที่ยงแล้วทึ่งในความ
สามารถของหญิงเราจริง ๆ
ที่ใต้ถุนของเรือนคำาเที่ยง ยังจัดแสดงเครื่องมือทำามาหากินของชาวล้านนา เช่น ไซชนิดต่าง ๆ
ข้อง แซะ สุม ตุ้ม ฯลฯ เสาสะก๊าง กี่ทอผ้า วีดีทัศน์แสดงเรื่อง “ ”
ตรงบันไดทางขึ้น จะมีหม้อใส่นำ้าไว้ล้างเท้าก่อนขึ้นบ้าน ซึ่งถือเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของคน
ล้านนา
ส่วนบนเรือนแบ่งเป็ น 3 ห้อง คือ
1. ห้องครัว จัดแสดงเคร่ ืองใช้ต่าง ๆ ของชาวล้านนา พร้อมวีดีทัศน์เร่ ือง
“ อร่อยกับแม่จำาปา” (สูตรแกงแคกบและน้ำาพริกปูของล้านนา) ดูจบแล้ว ท้องร้อง ขึน
้ มา ทั
นทีเลยแหละ ขอบอก

2. หรือในภาษาล้านนาเรียกว่า “ ” จัดแสดง เครื่องบายศรีสู่ขวัญ หำา


ยนต์แบบต่าง ๆ เครื่องสักการะอันสูงสุด
3. จัดแสดงยันต์เทียน ผ้ายันต์ ตะกรุด เครื่องประดับของชาวล้านนา แท่นบูชาผีปู่ย่า การ
ทอผ้าซิ่นตีนจก ที่นอน และหมอน

ที่ริมขอบชานด้านใดด้านหนึ่งจะมีหิ้งวางหม้อนำ้าดื่ม พร้อมที่วางกระบวย ภาษาล้านนาเรียกว่า “


” (อ่านว่า “ ” ในภาษาเหนือ จะออกเสียง ร เป็น ฮ)

เรือนคำาเที่ยงแห่งนี้ จึงเป็นเรือนไทยล้านนาที่คงทั้งรูปแบบ การจัดแสดงข้าวของต่าง ๆ รวมไปถึงให้ความรู้


เก่ียวกับวัฒนธรรมของคนล้านนาได้เป็ นอย่างดี

“กาแล” (อ่านว่า ก๋าแล) เป็นลักษณะเด่นของเรือนในล้านนา อันเป็นที่มาของชื่อเรียกประเภทเรือนดังกล่าว กาแลเป็นไม้แบนเหลี่ยม


แกะสลักลาย เชื่อมต่อจากปลายบนของปั้นลมเหนือจั่วบ้านในลักษณะที่ไขว้กันอยู่ กาแลที่เรือนอุ๊ยผัดมีการสลักลายงดงาม เป็นแบบ
กนกสามตัว ประกอบด้วยโคนช่อกนกมีกาบหุ้มซ้อนกันหลายชั้นคล้ายก้านไม้เถาตามธรรมชาติ ตรงส่วนก้านจะสลักเป็นกนกแตก
ช่อขึ้นไปสลับหัวกันจนถึงยอดกาแล แลดูอ่อนโยน ลงตัว แสดงถึงฝีมือเชิงช่าง (สล่า) ล้านนาลักษณะภายในของเรือนหลังนี้ เมื่อเดิน
ขึ้นไปตรงบันไดด้านหน้าจะพบกับชานบ้าน หรือที่คนเมืองเรียกว่า “ชานฮ่อม” ด้านซ้ายมือมีร้านนำ้า (ออกเสียงว่า “ฮ้านนำ้า”) แยกเป็น
สัดส่วนกับชานบ้าน ร้านนำ้าเป็นชั้นไม้ยกระดับติดกับข้างฝา สำาหรับตั้งหม้อนำ้าไว้ให้ผู้อาศัยและแขกดื่ม นับเป็นเสน่ห์ของกลิ่นอาย
วัฒนธรรมในอดีตถัดเข้าไปจากชานฮ่อมเรียกว่า “เติน” (ออกเสียงว่า “เติ๋น”) เป็นส่วนที่ยกระดับให้สูงกว่าพื้นชานฮ่อมราวหนึ่งคืบ
และอยู่ในเขตหลังคาบ้าน ส่วนนี้มีเนื้อที่มากสามารถใช้ประโยชน์ได้สารพัดในช่วงที่ใช้เป็นที่อยู่อาศัย ส่วนของเติ๋นบนเรือนอุ๊ยผัดนี้
พื้นที่ด้านขวามือจะตีฝาไม้คั่นระหว่างเติ๋นกับชานฮ่อมเพื่อกั้นเป็นห้อง สำาหรับเป็นมุมหิ้งพระ โดยจะทำาชั้นไม้ติดกับผนังฝั่งขวา หิ้ง
พระจะได้หันหน้าไปทางทิศตะวันตก (ตัวเรือนหันหน้าไปทางทิศใต้) ตรงกลางเติ๋นจะเป็นทางเดินยาวตรงกลางบ้านตลอดไปถึงชาน
หลังบ้าน ดังนั้นถัดจากเติ๋นขึ้นไปจึงเป็นบริเวณห้องนอนอยู่ทางขวา และซ้ายมือเป็นห้องครัว ในห้องนอนมีพื้นที่ค่อนข้างมาก
เนื่องจากต้องใช้นอนรวมกันทั้งครอบครัวในห้องนอน หรือ เรือนนอน ของบ้านอุ๊ยผัดนี้ มีหน้าต่างขนาดเล็กอยู่ 4 บาน มีผู้ให้ความ
เห็นว่าที่เรือนส่วนใหญ่ทางเหนือไม่ค่อยมีหน้าต่างหรือมีก็ขนาดเล็ก อาจเป็นเพราะอากาศค่อนข้างหนาวจึงเปิดรับลมแต่น้อยผ่าน
ร้อนผ่านหนาวเป็นเวลาเกือบสิบปี จากวันที่ทำาการรื้อย้าย และอนุรักษ์ไว้ที่สำานักฯ ผู้คนที่มีโอกาสได้มาเยี่ยมชมเรือนโบราณของที่นี่
ต่างรู้สึกประทับใจกับเรือนกาแลหลังเล็กนี้ บ้างก็ว่าเป็นบ้านที่ดูโรแมนติก น่ารัก น่าอยู่ บ้างก็ว่าดูน่ากลัว เนื่องจากเป็นบ้านไม้สีดำา
สนิทอยู่ท่ามกลางไม้แมกใหญ่ และเงียบสงบ อย่างไรก็ตามทุกคนต่างรู้สึกเป็นห่วงกับความทรุดโทรมตามกาลเวลาของเรือนอุ๊ยผัด

กาแลเด่นอ่อนช้อยร้อยความคิด
ไขว้สนิทติดอยู่หลังคาบน
เรือนน้อยคอยท่านานาชน
มาเยี่ยมยลชมเรือนอุ๊ยผัดกัน
ชราโรยอายุเกือบร้อยปี
แต่มีศรีมีศักดิใ์ ห้ชวนฝัน
แม้ผุเปราะบางตามวารวัน
รู้สำาคัญหมั่นช่วยเอ็นดูเรือน

มนฤทัย ไชยวิเศษ

. เป็นเรือนพักอาศัยของผู้มีอันจะกิน ผู้นำาชุมชนหรือบุคคลชั้น
สูงในสังคม ตั้งแต่ระดับชนบทจนถึงระดับเมือง เรือนประเภทนี้เป็นเรือนที่สร้างด้วยไม้
เนื้อแข็ง หรือไม้จริงทั้งหมด เรียกตามลักษณะของไม้ป้านลม หลังคาส่วนปลายยอดที่ไขว้
กัน ซึง่ ชาวเหนือเรียกส่วนที่ไขว้กันนี้ว่า”กาแล” สำาหรับคำาว่า “เรือนกาแล” เป็นชื่อที่นัก
วิชาการทางสถาปัตยกรรมบัญญัติไว้ เพื่อแยกความแตกต่างระหว่างเรือนไม้จริงแบบที่ ๓
หากแต่ชาวล้านนาในปัจจุบันเรียกว่า “เฮือนบ่าเก่า” (เฮือนคือเรียน บ่าเก่าคือโบราณ)
เพราะเป็นเรือนทรงโบราณของล้านนานั่นเอง ลักษณะพิเศษของเรือนกาแลอยู่ที่ยอดจั่ว
ประดับกาแลเป็นไม้สลักอย่างงดงาม ใช้วัสดุก่อสร้างคุณภาพดี ฝีมือช่างประณีต แต่มี
แบบแผนค่อนข้างตายตัว ส่วนใหญ่เป็นเรือนแฝด มีขนาดตั้งแต่หนึ่งห้องนอนขึ้นไป โดย
ทั่วไปเรือนประเภทนี้จะมีแผนผัง ๒ แบบใหญ่ ๆ คือ แบบที่ ๑ เอาบันไดขึ้นตรงติดชาน
นอกโดด ๆ แบบที่ ๒ เอาบันไดอิงชิดแนบฝาใต้ชายคาคลุม ทั้งสองแบบนี้จะใช้ร้านนำ้าตั้ง
เป็นหน่วยโด ๆ มีโครงสร้างของตัวเอง ไม่นิยมตีฝ้าเพดาน ปัจจุบันหาเรือนกาแลดูได้ยาก
เพราะมีหลงเหลือให้เห็นเพียงไม่กี่หลัง อย่างไรก็ตาม เรือนชนิดนี้เป็นเรือนที่แสดงถึง
วิวัฒนาการของกระบวนการก่อสร้างบ้านพักอาศัยของชาวล้านนาที่ถึงจุดสูงสุดก่อนได้
รับอิทธิพลจากต่างถิ่น ตลอดจนเป็นเรือนที่แสดงถึงเอกลักษณ์ของชาวล้านนาอย่าง
ชัดเจน ทั้งการวางผังพื้นที่ การจัดห้องต่าง ๆ ภายในตัวเรือน ตลอดจนรูปทรง ล้วน
สะท้อนถึงแบบแผนการดำาเนินชีวิตตามระเบียบประเพณีของล้านนาทั้งสิ้น

You might also like