You are on page 1of 3

เอกสารประกอบการสอน วิชา 2502 312

ทฤษฎีการออกแบบ 1 (Design 1)

โดย

เถกิง พัฒโนภาษ PhD


ภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรม
คณะสถาปตยกรรมศาสตร
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

จัดรูปเลมใหมจากเนื้อหาที่เริ่มใชตั้งแตปการศึกษา 2545
สารบัญ

1.
พัฒนาการของมนุษยที่เกี่ยวของกับการออกแบบ หนา 2-12
นับตั้งแตยุคกอนประวัติศาสตร
จนถึงยุคปฏิวัตอ ิ ุตสาหกรรม

ใชประกอบการสอนครั้งแรก เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2545


(2 คาบ)

2.
การเปลี่ยนแปลงที่เปนเงื่อนไขของวิถีชีวต
ิ หนา 13-24
และการออกแบบ 'สมัยใหม'

ใชประกอบการสอนครั้งแรก เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2545 (2 คาบ)

3.
จุดเปลี่ยนแหงศตวรรษ: วิกฤติของสมัยใหม หนา 25-31
การเปลี่ยนแปลงที่นําไปสูการเปลี่ยนกระบวนทัศน

ใชประกอบการสอนครั้งแรก เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2545


(2 คาบ)

4.
กระบวนทัศนของ 'หลังสมัยใหม' กับการออกแบบ หนา 32-40
และ จักษุธรรมรวมสมัย

ใชประกอบการสอนครั้งแรก เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2545 (2 คาบ)

5.
การออกแบบในประเทศไทย หนา 41-45
และสถานะของนักออกแบบในยุคขอมูลขาวสาร
(2 คาบ)
ใชประกอบการสอนครั้งแรก เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2545

6.
Planned Obsolescence & Capitalism หนา 46-52
อิทธิพลของ สไตล รสนิยม และแนวโนมกระแส
นิยม (Styles Tastes and Trends) ตอการ
ออกแบบ

ใชประกอบการสอนครั้งแรก เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2545 (2 คาบ)


ค ว า ม นํา จะตองคนควาหาขอมูลมาจากหลายแหลงโดยเฉพาะ
การอานเพื่อเทียบเคียงกันและหาขอสรุปใหกับตนเอง

เอกสารประกอบการสอนนี้ มีเนื้อหาวาดวยพัฒนาการ อยางไรก็ตาม วัตถุประสงคของการบรรยายนี้


ของมนุษย ที่เกี่ ย วของกับการออกแบบโดยอธิ บายถึง ไมใชการบอกเลาขอมูลตางๆเกี่ยวกับเหตุการณที่เกิด
เงื่ อ นไขที่ ก อ ให เ กิ ด การปฏิ วั ติ อุ ต สาหกรรมซึ่ ง ส ง ผล ในชวงกวาหนึ่งหมื่นปดังกลาว แตการบรรยายนี้จะจับ
สืบเนื่ องมา จนถึงปจจุ บัน การบรรยายนี้ค รอบคลุม เอาเพี ย งเหตุ ก ารณ สํ า คั ญ ในประวั ติ ศ าสตร ขึ้ น มา
ช ว งเวลาตั้ ง แต ยุ ค ก อ นประวั ติ ศ าสตร เ มื่ อ ประมาณ อภิปราย เพื่อใหนิสิตมองเห็นภาพกวางๆวามีเหตุปจจัย
10000 ป ม าแล ว จนถึ ง ปลายคริ ส ตศตวรรษที่ สํ า คั ญ ที่ ทํ า ให ก ารออกแบบเปลี่ ย นแปลงมาสู ส ภาพ
18(ประมาณปลายรัชกาลที่สามตอรัชกาลที่สี่ของไทย) อย า งที่ เ ราเห็ น กั น ในป จ จุ บั น และอาจจะสามารถ
ซึ่ ง เป น ช ว งเวลาที่ เ กิ ด การปฏิ วั ติ อุ ต สาหกรรมขึ้ น ใน ทํา นายอนาคตของการออกแบบได ใ นระดั บ หนึ่ งด ว ย
ประเทศอั ง กฤษ แล ว กล า วถึ ง ช ว งคริ ส ศตวรรษที่ 19 ดวยเหตุที่การบรรยายนี้มุงการอภิปรายประเด็นสําคัญ
จนถึงชวงสงครามโลกครั้งที่สองซึ่งเปนชวงเวลาของ ม า ก ก ว า ใ ห ข อ มู ล จํ า เ พ า ะ ใ น ร า ย ล ะ เ อี ย ด ก า ร
ยุ ค ส มั ย ใ ห ม (Modernism)โ ด ย ก ล า ว ถึ ง ก า ร ยกตั ว อย า งประกอบจึ ง ไม จํ า เป น ต อ งตรงตามลํ า ดั บ
เป ลี่ ย น แ ป ล ง ที่ เ ป น เงื่ อ น ไ ขข อง วิ ถี ชี วิ ต แ ล ะ ก า ร เหตุ ก ารณ ก อ นหลั ง หากแต จ ะใช ตั ว อย า งจากหลาย
ออกแบบ'สมัยใหม' ตอมากลาวถึงพัฒนาการออกแบบ สมัยมาอภิปรายรวมกันบาง
ตั้งแตหลังสงครามโลกครั้งที่สอง(ค.ศ.1945)มาจนถึง
สิ้นศตวรรษที่ 20 โดยพิจารณาถึงวิกฤติทางความคิด เมื่ อ พู ด ถึ ง “เวลา” กั บ เหตุ ก ารณ ใ น
ของปรั ช ญาการออกแบบสมั ย ใหม (Modernism)ซึ่ ง ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร ห ล า ย ค น มั ก ม อ ง แ บ บ ผิ ว เ ผิ น ว า
กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงที่นําไปสูการเปลี่ยนกระบวน เหตุ ก ารณ ต า งๆนั้ น เกิ ด ขึ้ น สื บ เนื่ อ งเป น สายเดี ย ว
ทั ศ น ที่ เ ป น รากฐานของแนวคิ ด ทางปรั ช ญาที่ เ รี ย กว า ก ล า ว คื อ เ มื่ อ เ กิ ด เ ห ตุ ก า ร ณ ห นึ่ ง แ ล ว จึ ง เ กิ ด อี ก
Postmodernism ซึ่งมีความเกี่ยวพันอยางแนบแนนกับ เหตุการณหนึ่งตามมาในลักษณะคลายกับเปนเสนตรง
สิ่งที่เรียกวาจักษุธรรม(visual culture) นอกจากนั้นยัง แตในสภาพความเปนจริงเหตุการณมากมายเกิดขึ้นใน
จะพิจารณาถึงการออกแบบในประเทศไทยและสถานะ เวลาหรือชวงเวลาเดียวกัน ถึงแมวาการเปลี่ยนแปลง
ของนั ก ออกแบบในยุ ค ข อ มู ล ข า วสาร แล ว กล า วถึ ง ของเวลายังจะคงรูปแบบเดิมคือมีอดีต, ปจจุบัน, และ
ประเด็ น สํ า คั ญ ที่ เ กี่ ย วกั บ การออกแบบก็ คื อ Planned อนาคต แต ก ารส ง ผลสื บ เนื่ อ งในประวั ติ ศ าสตร นั้ น มี
Obsolescence ที่มีความเกี่ยวเนื่องกันอยางแนบแนน สภาพเปนราวเครือขายใยแมงมุม มากกวาเปนเสนตรง
กับระบบเศรษฐกิ จทุ นนิ ยม(Capitalism) และเรื่ อง อยางที่มักเขาใจกัน ลักษณะความเขาใจคลาดเคลื่อน
อิท ธิ พลของ สไตล รสนิ ย ม และแนวโนม กระแสนิ ย ม นี้ มี โ อกาสเกิ ด ขึ้ น ได ม ากยิ่ ง ขึ้ น เมื่ อ นิ สิ ต อ า นเอกสาร
(Styles Tastes and Trends) ที่มีตอการออกแบบ ชุด ทางประวั ติ ศ าสตร ที่ เ ขี ย นขึ้ น โดยอคติ มี ก ารตั ด ต อ
การบรรยายนี้ จ บลงด ว ยการพิ จ ารณาหลั ก สู ต รการ เลื อ กสรรเอาเฉพาะเหตุ ก ารณ และบุ ค คลที่ ผู เ ขี ย น
ออกแบบอุ ต สาหกรรมบั ณ ฑิ ต ที่ ใ ช กั น อยู ใ นคณะ ต อ งการให ส ง ผลทางความคิ ด อย า งใดอย า งหนึ่ ง ต อ
สถาป ตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เพื่อ ผูอ า น ประวั ติ ศ าสตร ก ารออกแบบก็ ห นี ไ ม พ น ป ญ หา
แนะแนวนิสิตถึง สิ่งที่นิสิตไดเรียนมาแลว สิ่งที่นิสิตจะ ดังกลาว กลาวคือหนังสือสวนใหญพูดถึงนักออกแบบ
ได เ รี ย นต อ ไป และสิ่ ง ที่ นิ สิ ต จํ า เป น ต อ งแสวงหาเอง เพศชายที่มี ผ ลงานโดดเดน ราวกั บวาในอดีต นั้นไม มี
เพื่อใหพัฒนาความสามารถของตนใหพรอมสําหรับการ นักออกแบบที่เปนผูหญิงที่มีความสามารถเลย ซึ่งเปน
เปนนักออกแบบไดในอนาคต ความเข า ใจผิ ด พลาดที่ เ กิ ด จากผลงานเขี ย นของ
นั ก วิ ช าการทางด า นประวั ติ ศ าตร ก ารออกแบบอย า ง
การที่ นิ สิ ต ในฐานะที่ จ ะเป น นั ก ออกแบบใน Nicholas Pevnser หรือการกลาวถึงความเปลี่ยนแปลง
อนาคต จําเปนจะตองมีความรูเกี่ยวกับประวัติศาตรการ ในแง รู ป แบบการออกแบบราวกั บ ว า เป น ผลมาจาก
ออกแบบก็ดวยเหตุผลสําคัญสองประการ ประการแรก ความคิ ด ของนั ก ออกแบบคนใดคนหนึ่ ง หรื อ กลุ ม ใด
คือ เพื่อจะไดไมสรางงานออกแบบที่มีความผิดพลาด กลุ ม หนึ่ ง โดยปราศจากพื้ น ฐานอั น สํ า คั ญ คื อ การ
ซ้ําความผิดพลาดที่เกิดขึ้นในอดีต และประการที่สอง เปลี่ยนแปลงในรูปแบบของงานออกแบบนั้นเปนผลมา
คือเพื่อใหสามารถหยิบยืมความรูทางการออกแบบจาก จากความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และ พลวัตทาง
อดีตไมวาจะเปนเทคโนโลยี กลไก ระบบ หรือรูปแบบ สั ง คมในแตล ะยุ ค สมัย ในฐานะที่ นิ สิตเปน คนไทย ก็
มาใชในงานออกแบบยุคปจจุบันอยางรูเทาทัน พึ ง ตระหนั ก ด ว ยว า เอกสารหรื อ บทความเกี่ ย วกั บ
ประวั ติ ศ าสตร ก ารออกแบบเกื อ บทั้ ง หมด ทั้ ง ที่ เ ป น
ในการศึ ก ษาประวั ติ ศ าสตร นั ก ประวั ติ ศ าตร ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ไมไดกลาวถึงพัฒนาการ
จะตองคนควาหาขอมูลและหลักฐานทางประวัติศาสตร ทางการออกแบบที่ เ กิ ด ขึ้ น ในประเทศไทยเลย ซึ่ ง
เข า มาปะติ ด ปะต อ เป น เรื่ อ งราวที่ เ ป น เหตุ เ ป น ผล แต ขอบกพรองนี้เปนเรื่องที่เขาใจไดไมยากดวยเหตุที่วา
การที่จะไดมาซึ่งเรื่องราวทางประวัติศาสตรนั้นจะตอง ประเทศไทยไมอยูในฐานะที่มีบทบาททางเศรษฐกิจที่
ผานกลไกการตีความของนักประวัติศาสตร ดวยเหตุนี้ ส ง ผลสํ า คั ญ ในระดั บ โลก ผลก็ คื อ การออกแบบของ
นิ สิ ต จึ ง พึ ง สั ง วรไว ต ลอดเวลาที่ ฟ ง การบรรยายครั้ ง นี้ ไทยถูกละเลยไมกลาว ถึงในเอกสารเหลานั้น
และตลอดเวลาที่อานหนังสือเกี่ยวกับประวัติศาสตรการ
ออกแบบ วาสิ่งที่ไดอานหรือไดยินนั้นผานการตีความ
โดยผู เ ขี ย นหรื อ ผู เ ล า ซึ่ ง อาจมี อ คติ เ อนเอี ย งไปจาก
ความจริงไปบางไมมากก็นอย หลักการที่ดีก็คือ นิสิต เถกิง พัฒโนภาษ

You might also like