You are on page 1of 26

ภาษากลาง

หมายถึง ภาษาท่ีใช้ส่ือสารกันในประเทศท่ีมีคนพูดกันอยู่
หลายภาษา จึงจำาเป็ นต้องเลือกภาษาใดภาษาหน่ึงเพ่ ือให้เป็ นภาษาท่ี
ทุกคนจะสามารถเข้าใจและใช้ส่ือสารกันได้ เช่น ในประเทศอินเดีย
คนท่ีอยู่ต่างรัฐหรือต่างวรรณะกันมักพูดภาษาท่ีต่างกันทำาให้ติดต่อ
กันไม่ได้ เม่ ือตกเป็ นของอังกฤษ คนทัง้ประเทศต้องเรียนภาษา
อังกฤษใช้ภาษาอังกฤษ ทำาให้ส่ือสารกันได้ ภาษาอังกฤษจึงกลาย
เป็ นภาษากลางสำาหรับคนอินเดีย ในกรณีท่ีคนสองชาติไม่รู้ภาษาของ
กันและกัน หากมีภาษาใดท่ีทัง้สองฝ่ ายเข้าใจ ก็อาจใช้ภาษานัน ้ เป็ น
ภาษากลางในการติดต่อได้ เช่น ในสมัยอยุธยา คนไทยไม่สามารถพูด
ภาษาอังกฤษได้ คนอังกฤษก็ไม่สามารถพูดภาษาไทย แต่มีคนฝ่ าย
ไทยและฝ่ ายอังกฤษท่รี ู้ภาษาโปรตุเกส การติดต่อระหว่างไทยกับ
อังกฤษ เช่น การทำาสัญญาค้าขายก็ต้องใช้ภาษาโปรตุเกส ภาษา
โปรตุเกสจึงเป็ นภาษากลางสำาหรับชาวไทยกับชาวอังกฤษในสมัยนัน ้
ในประเทศท่ีมีคนพูดหลายภาษาและต้องใช้ภาษากลาง ภาษากลางก็
จะเป็ นภาษาท่ีสำาคัญของประเทศด้วย เพราะเป็ นภาษาท่ีทำาให้คนทัง้
ประเทศมีความรู้สึกร่วมเป็ นอันหน่ึงอันเดียวกันได้ ในประเทศจีนคน
จีนต่างถ่ินกันก็พูดจากันไม่เข้าใจ จีนจึงได้กำาหนดให้ภาษาแมนดาริน
เป็ นภาษากลางของประเทศ และจัดการสอนให้คนทัง้ประเทศเรียน
ภาษาแมนดารินเพ่ ือให้สามารถส่ ือสารกันได้สะดวกขึ้นทัง้ประเทศ
ในประเทศไทย ภาษาถ่ินกรุงเทพฯเป็ นภาษากลางท่ีคนไทยไม่ว่าจะ
เป็ นคนเหนือ คนอีสาน คนตะวันออก คนใต้ ชนต่างชาติ หรือชนก
ลุ่มน้อยท่ีอาศัยอยู่ในประเทศไทยต่างก็เรียนรู้ และใช้ส่ือสารกันได้
ภาษาถ่ินกรุงเทพฯจึงเป็ นภาษากลางของประเทศไทย

สุภาษิต

หมวด ก
กงกำากงเกวียน
เวรสนองเวร กรรมสนองกรรม

กระต่ายหมายจันทร์
หวังในส่ิงท่ีเกินตัว (ตัวอย่าง)

กลมเป็ นลูกมะนาว
หลบหลีกไปได้คล่องแคล่วจนจับไม่ติด ( มักใช้ในทางไม่ดี )

กำาขีด
้ ีกว่ากำาตด
ได้บ้างดีกว่าไม่ได้อะไรเลย (ตัวอย่าง)

กำาแพงมีหู ประตูมีตา
การท่ีจะพูดหรือทำาอะไรให้ระมัดระวัง แม้จะเป็ นความลับเพียงไรก็
อาจมีคนล่วงรู้ได้ (ตัวอย่าง)

ก่ิงทองใบหยก
เหมาะสมกัน ใช้แก่หญิงกับชายท่ีจะแต่งงานกัน

กิง้ก่าได้ทอง
ชอบโอ้อวดในส่ิงท่ีตนมีเพ่ ือให้ผู้อ่ืนรู้ เพ่ ือให้ผู้อ่ืนสนใจตน

กินบนเรือนขีบ
้ นหลังคา
เนรคุณ เป็ นผู้ไม่รู้คุณของผู้อ่ืน

แกว่งตีนหาเสีย ้ น
รนหาเร่ ืองเดือดร้อน

ไก่เห็นตีนงู งูเห็นนมไก่
ต่างฝ่ ายต่างรู้ความลับซ่ึงกันและกัน (ตัวอย่าง)

หมวด ข
ขมิน
้ กับปูน
ชอบวิวาทกันอยู่เสมอเม่ ืออยู่ใกล้กัน , ไม่ถูกกัน

ข้าวใหม่ปลามัน
อะไรท่ีเป็ นของใหม่ก็ถือดี , นิยมเรียกช่วงท่ีสามีภรรยาเพ่ิง
แต่งงานกันใหม่ ๆ ว่า "ข้าวใหม่ปลามัน" (ตัวอย่าง)

เข้าหูซ้ายทะลุหูขวา
บอกหรือสอนแล้วไม่ได้ผล

เข็นครกขึน้ ภูเขา
ทำางานท่ียากเกินความสามารถของตนเอง

หมวด ค

คมในฝั ก
ลักษณะของผู้ฉลาด แต่น่ิงเงียบ ไม่แสดงความฉลาดนัน
้ ออกมา
โดยไม่จำาเป็ น มีความรู้ความสามารถ

ภาคอีสาน

ประเทศไทยแบ่งเป็ น 4 ภาคใหญ่ๆ ซ่ึงแต่ละภาคก็จะมีภาษาพูดหรือ


ภาษาถ่ินของตนเอง ภาคอีสานเป็ นภาคใหญ่มีประชากรเยอะ คน
อีสานได้กระจัดกระจายไปอาศัยอยู่ทั่วทุกภาคของประเทศ
และท่ีตามไปด้วยก็คือภาษาอีสานนั่นเอง มีหลายคนท่ีต้องการท่ีอยาก
จะศึกษาภาษาอีสานแต่ก็ยังขาดแหล่งค้นคว้า โดยส่วนมากจะอาศัย
เรียนรู้จากการพูดคุยสนทนา หรือสอบถามเอาเองบ้าง แต่ก็มีข้อ
จำากัดอยู่หลายอย่าง ผมในฐานะท่ีเป็ นลูกอีสานคนหน่ึงก็อยากช่วย
เป็ นอีกทางหน่ึงในการเผยแพร่ภาษาอีสานให้เป็ นท่ีรู้จักกันมากขึน

ไม่แน่นะครับอนาคตเพ่ ือนๆอาจจะมีหรืออยากมีคนรู้ใจเป็ นคนอีสาน
ก็ได้ใครจะไปรู้เอาหล่ะ่ครับเรามารู้จักกับลักษณะสำาคัญของภาษา
อีสานกันก่อนนะครับ
ภาษาอีสานจะแตกต่างจากภาษากลางคือ

1 คำาควบกล้ำา เพ่ ือนๆจะสังเกตเห็นว่า จะมีปัญหามากทีเดียวเม่ ือคน


อีสานต้องพูดหรืออ่านภาษาไทยท่ีมีคำาควบกล้ำา นั่นก็เพราะว่าใน
สำาเนียงภาษาพูดของคนอีสานนัน ้ จะไม่มีคำาควบกล้ำาอยู่เลย เช่นคำาว่า
"กวาง" อีสานจะออกเสียงเป็ น "กวง" หรืออย่างคำาว่า "คลอง" ก็จะ
ออกเสียงเป็ น "คอง"

2 การออกเสียง มักจะเกิดความเข้าใจผิดหรือแปลความหมายผิดกัน
บ่อยๆจากการส่ ือสารระหว่างคนอีสานกับคนภาคอ่ ืนๆเน่ ืองจาก
สำาเนียงภาษาพูดคนอีสานมักจะออกเสียงสูงเป็ นเสียงต่ำา(ออกเสียงโท
เป็ นเสียงเอก) เช่นคำาว่า "ข้าว" อีสานออกเสียงเป็ น "เข่า" หรือ
อย่างคำาว่า "น้ำา" จะออกเสียงเป็ น "น่าม"

3 การใช้พยัญชนะ ในสำาเนียงภาษาพูดคนอีสานจะไม่มีการใช้
พยัญชนะบางตัวเช่น "ช" คนอีสานจะออกเสียงเป็ นตัว "ซ" แทน
เช่นคำาว่า "ช้าง" อีสานออกเสียงเป็ น "ซ่าง" หรือพยัญชนะตัว "ร"
อีสานออกเสียงเป็ นตัว "ล"

นอกจากลักษณะสำาคัญข้างต้นแล้วภาษาอีสานยังมีเอกลักษณ์เด่น
อีกอย่างคือ การมีคำาสร้อยหรือคำาขยายท่ีส่ือให้เห็นภาพพจน์ ได้อย่าง
ชัดเจน เช่น ฮูจ่ิงปิ่ ง ฮูจ่องป่ อง ฮูจ่างป่ าง ฮูแจ่งแป่ ง และ ฮูโจ่งโป่ ง ซ่ึง
คำาเหล่านีท
้ ุกคำาจะส่ ือแสดงให้เห็นภาพขนาดของรูท่ีแตกต่างกันอย่าง
ชัดเจน

เอาหละ่่ครับเม่ ือเพ่ ือนๆรู้จักกับลักษณะเด่นของภาษาอีสานกันแล้ว


ต่อไปก็มารู้จักกับคำาศัพท์ภาษาอีสานและความหมายกันนะครับ
กับ"ภาษาอีสานวันละคำา" ซ่ึงผมจะหาเอาคำาท่ีได้ยินบ่อยๆ คำาอีสาน
โบราณ หรือคำาท่ีเพ่ ือนๆสอบถามกันเข้ามา แล้วเอามาแปลความ
หมายเพ่ ือให้เพ่ ือนเข้าใจ รวมทัง้มีการยกตัวอย่างการใช้ในประโยคให้
ด้วยนะครับ
ภาษาอีสานวันละคำา วันนีข ้ อเสนอคำาว่า "เส่ียว" ท่ีเลือกเอาคำานีม
้ าให้
รู้จักก่อนก็เพราะว่าผมเห็นมีการนำาเอาคำาๆนีไ้ปใช้ไม่ตรงกับความ
หมายท่ีแท้จริงของมันเพ่ ือนๆอาจจะเคยได้ยินกันมาบ้างนะครับท่ีมีคน
เรียกคนอีสานในเชิงดูหม่ินดูแคลนว่า "บักเส่ียว" แต่จะมีใครรู้บ้าง
ครับว่าแท้จริงแล้วคำาว่า "เส่ียว" นีม
้ ีความหมายท่ีดีมาก โดยในภาษา
อีสานนัน ้ "เส่ียว" มีความหมายว่า "เพ่ ือนรัก,เพ่ ือนแท้,เพ่ ือนตาย"
หรือในภาษาอังกฤษนัน ้ ตรงกับคำาว่า "Buddy" นั่นเองครับ

ตามประเพณีของชาวอีสานจะมีพิธีหน่งึ ท่ีใช้สำาหรับการทำาสัตย์สาบาน
กันระหว่างเพ่ ือน เพ่ ือยืนยันว่าจะเป็ นเพ่ ือนตายของกันและกัน พิธีนี้
เรียกว่า "พิธีผูกเส่ียว" พิธีผูกเส่ียวนีใ้ช่ว่าจะกระทำากันได้ง่ายๆนะ
ครับ สมัยก่อนการทำาพิธีนีจ้ะต้องได้รับการเห็นชอบจากผู้หลักผู้ใหญ่
คนเฒ่าคนแก่ท่ีเป็ นท่ีเคารพ ว่าคนทัง้สองสมควรท่ีจะทำาพิธีผูกเส่ียว
กันหรือไม่ ในปั จจุบันพิธีนีย ้ ังมีอยู่ทั่วไปตามท้องถ่ินต่างๆของภาค
อีสาน โดยเฉพาะท่ีจังหวัดขอนแก่นนัน ้ ได้มีการจัดพิธีนีข้ ึน
้ ทุกปี
ประมาณช่วงปลายเดือนพฤศจิกายนถึงต้นเดือนธันวาคม โดยจะรับ
สมัครคู่เส่ียวท่ีต้องการเข้าร่วมพิธีจากทุกจังหวัด ถึงแม้ว่ามนต์ขลัง
ของพิธีนีอ ้ าจจะลดลงไปบ้างแต่ผมเช่ ือว่าความศักดิส ์ ิทธิน์ ัน
้ ยังคงเหลือ
อยู่อย่างเต็มเปี่ ยม ผู้ท่ีผ่านพิธีผูกเส่ียวแล้วนัน ้ จะเปรียบเสมือนบุคคล
คนเดียวกัน และจะใช้คำาเรียกกันว่า "เส่ียว" ดังนัน ้ คำาว่า "บักเส่ียว"
จึงเกิดขึน
้ มา เม่ ือเส่ียวมีลูก ลูกจะต้องเคารพเส่ียวของพ่อแม่เหมือน
กับท่ีเคารพพ่อแม่ของตนเอง และจะใช้คำาเรียกเส่ียวของพ่อแม่ว่า "
พ่อเส่ียว แม่เส่ียว"

ขยายความกันมาตัง้นาน เอาเป็ นว่าเม่ ือเพ่ ือนๆรู้ความหมายทีแท้แล้ว


ผมก็หวังว่าเพ่ ือนๆจะนำาไปใช้ได้อย่างถูกต้องนะครับ ผมเองก็อาจจะ
ไม่ได้เก่งกาจมาจากไหน ก็อาศัยแต่เพียงว่าใช้ภาษานีม ้ าตัง้แต่เกิด
เท่านัน
้ เองครับ

"งัวควายซ้างซีพสิน ้ คงคู่ งา-เขา


คนเฮาวายซีวัง ซั่วยัง ดีค้าง
ทางดีเป็ นครูเค้า คนเอาเป็ นโตอย่าง
ทางทรามเสียซั่วฮ้าย ขายหน้าทั่วแผ่นดินฯ"
ภาคเหนือ

คำาอธิบาย
กำาบ่าเก่า เป็ นคำาสุภาษิตพ้ืนบ้านของคนล้านนา ซ่ึงเป็ นคติสอนใจ
ท่ีชาวบ้านในท้องถ่ินได้ยึดถือ เป็ นแนวทางในการประพฤติปฏิบัติใน
ชีวิตประจำาวัน คำาสุภาษิตจะมีทัง้ท่ีมีคำากล่าวท่ีดี และไม่ดี หากแต่มี
ประโยชน์ เป็ นแนวทางสั่งสอน ตักเตือนให้ข้อคิดท่ีเป็ นประโยชน์

ในปั จจุบันความเจริญทางวิทยาการ ได้เข้ามามีบทบาทในชีวิต


ประจำาวันของชาวเชียงใหม่ วัฒนธรรมอันดีงามบางอย่างกำาลังใกล้ ท่ี
จะสูญหายไป "กำาบ่าเก่า" เองก็เช่นกันท่ีใกล้จะสูญหายไปตามความ
งอกงามแห่งวัตถุ ลูกหลานชาวล้านนาทุกคน ควรท่ีจะระลึกถึงคุณค่า
ของวัฒนธรรมอันดีงาม ท่ีบรรพบุรุษได้สรรค์สร้างขึน ้ มา

คลองกิร ิยา - วาจา

กิน ๋ เข้า ห้ือไว้ต่าน้ำา


ศัพท์ เข้า หมายถึง ข้าว ต่าน้ำา หมายถึง เผ่ ือน้ำา
"กินข้าวให้เผ่ ือน้ำา" เป็ นสุภาษิตท่ีสอนในเร่ ืองการกินการ
อยู่ หรือการทำางานควรทำาแต่พอดี ไม่มากหรือน้อยเกินไป

เก๊ามันเต้าเหล้มเข้ม ปล๋ายมันเต๋มแม่น้ำา
ศัพท์ เหล้มเข็ม หมายถึง เข็มเป็ นเล่ม
"โคนมันเท่าเข็ม ปลายมันเต็มแม่น้ำา" กล่าวถึงเร่ ืองราวท่ี
เกิดขึน
้ เพียงเล็กน้อย แต่ถูกขยายให้มีความมากเกินความเป็ นจริง
มากเร่ ืองมากความไม่รู้จักจบสิน ้ กลายเป็ นเร่ อ
ื งราวใหญ่โตขึ้นมาได้

กำาบ่มีไผบ่ว่า นกจับปล๋ายคา บ่ตัว๋ป๊ ูก่อตัว๋แม่


ศัพท์ คา หมายถึง หลังท่ีทำาจากใบคา ตัว๋ป๊ ู หมายถึง ตัวผู้ ตัว๋
แม่ หมายถึง ตัวเมีย
"เร่ ืองราวไม่มีมูลความจริง ไม่มีใครพูดถึง นกเกาะหลังคา
ไม่เป็ นตัวผู้ก็เป็ นตัวเมีย" เป็ นสุภาษิตท่ีกล่าวถึงว่าเร่ ืองราวท่ีนำามา
พูดกันใหญ่โตนัน ้ ถึงจะไม่เป็ นความจริงทัง้หมด แต่ก็มีเน้ือความอยู่
บ้างไม่มากก็น้อย ตรงกับสุภาษิตภาคกลาง "ไม่มูลหมาไม่ขี" ้
กำาปากว่าไป เอาตีน
๋ ย่ำาไว้
ศัพท์ กำาปาก หมายถึง คำาพูด ย่ำา หมายถึง เหยียบ
"พูดไปเร่ ือย ๆ เอาตีนเหยียบไว้" กล่าวถึงบุคคลท่ีไม่มี
สัจจะในคำาพูด ชอบพูดจาให้สัญญากับบุคคลอ่ ืนไว้มาก เพ่ ือต้องการท่ี
จะใช้ประโยชน์จากผู้อ่ืน บุคคลจำาพวกนีม ้ ักไม่ให้ความสำาคัญกับส่ิงท่ี
ตนเองเคยพูดไว้

ควันไฟไผห่อบ่กุ้ม
ศัพท์ บ่กุ้ม หมายถึง ไม่ทั่วถึง
"ควันไฟ ไม่มีใครท่ีจะไปห่อหุ้มให้มิดชิด" ย่อมท่ีจะล่อง
ลอยออกมาให้เห็น เปรียบเทียบกับเร่ ืองราวท่ีเกิดขึน ้ แม้จะพยายาม
ปกปิ ดให้เป็ นความลับมากเพียงใด ในท่ีสุดเร่ ืองราวความลับนัน้ ย่อม
ถูกเปิ ดเผยออกมาในท่ีสุด

ใคร่ห้ือเปิ้ นฮักยากนักจักหวัง ใครห้ือเหิน ้ จังกำาเดียวก็ได้


ศัพท์ จัง หมายถึง เกลียด ชัง กำาเดียว หมายถึง ประเดีย ๋ วเดียว
"อยากให้คนอ่ ืนรักยากมากท่ีจะหวังให้เขารักได้ อยากให้
คนอ่ ืนเกลียดชัง เดีย ๋ วเดียวก็ได้" การท่ีจะทำาให้คนอ่ ืนมารักเรานัน ้
ทำาได้ยาก ต้องอาศัยเวลา และความพยายาม ความอดทน แต่การ
ทำาให้คนอ่ ืนเกลียดนัน ้ เพียงแค่ทำาส่ิงใดส่ิงหน่ึงเพียงเล็กน้อยท่ีขัดใจ
เพียงเล็กน้อยก็ทำาให้คนอ่ ืนเกลียดเราได้

ต๋ามีหน้าผ่อหน้าบ่หัน
ศัพท์ ผ่อ หมายถึง มอง ดู บ่หัน หมายถึง ไม่เห็น
"ตามีท่ีหน้า แต่มองหน้าตนเองไม่เห็น" กล่าวถึง บุคคลท่ี
ชอบจับผิดบุคคลอ่ ืนอยู่เสมอ กล่าวหา หรือนินทา ให้ผู้อ่ืนเส่ ือมเสีย
โดยท่ีไม่มองดูตนเอง เร่ ืองราวหรือความผิดต่าง ๆ ท่ีตนเองได้กระทำา
ซ่ึงมีมากมายนัก อาจจะมากกว่าบุคคลท่ีตนเองกล่าวถึงก็ได้

ตุ๊มผ้าลายหมาเห่า ค้นกำาเก่าจ้างผิดกัน ๋
ศัพท์ ตุ๊มผ้า หมายถึง ห่มผ้า กำาเก่า หมายถึง คำาพูดเดิม เร่ ืองราว
เดิม
สุภาษิตท่ีใช้สอนบุคคลอ่ ืนไม่ให้พูดในส่ิงท่ีผ่านมาแล้วใน
อดีต เพราะไม่มีประโยชน์ท่ีจะต้องร้ือฟ้ืนมาพูดกันอีก อาจเกิดการ
ทะเลาะวิวาทกันได้

ปากว่าบ่ดายใจ๊ก๋ารบ่ได้
ศัพท์ บ่ดาย หมายถึง เท่านัน ้
"พูดได้แต่ไม่สามารถทำาได้" เป็ นสุภาษิตท่ีเปรียบกับคนท่ีดี
แต่พูด แต่ไม่สามารถทำาให้ส่ิงท่ีพูดเป็ นความจริงขึ้นได้

ปากได้ไปเปล๋ ือง
ศัพท์ ปากได้ หมายถึง พูดเก่ง พูดมาก
การพูดมากจนเกินไป เป็ นสุภาษิตท่ีกล่าวถึง คนท่ีพูกเก่ง
พูดคล่อง สามารถใช้คำาพูดแก้ปัญหาต่างๆ ท่ีเกิดขึน
้ กับตัวเองจาก
เหตุการณ์ท่ีไม่ดีให้กลายเป็ นดีได้ บุคคลประเภทนีจ้ะมีมนุษยสัมพันธ์
ท่ีดีสามารถเข้ากับคนได้ทุกประเภท

แมวขึน้ ค่วน บ่ม่วนใจ๋หนู


ศัพท์ ขึน ้ ค่วน หมายถึง ขึน
้ บนเพดาน บ่ม่วน หมายถึง ไม่ถูกใจ
แมวขึน้ ไปบนเพดาน หนูท่ีอาศัยอยู่นัน้ ต้องไม่พอใจ เปรียบ
กับผู้ใหญ่เข้าร่วมกิจกรรมอย่างใดอย่างหน่ึงท่ีจัดขึน
้ สำาหรับผู้น้อย
ย่อมเป็ นท่ีอึดอัดใจของบุคคลเหล่านัน้ ทำาให้เกิดความเกรงใจ และ
รู้สึก ไม่สนุกกับกิจกรรมท่ีจัดขึน

ไม้สอดต๋าก๋วย
ศัพท์ ก๋วย หมายถึง ตระกร้า เคร่ ืองสานสำาหรับบรรจุส่ิงของหลาย
ชนิด หลายขนาด
คนท่ีทำาผิดย่อมถูกตำาหนิ เหมือนกับไม้ท่ีสอดตาตะกร้าท่ี
สอดตาใดก็สามารถเข้าได้หมด

แลกต๋ามแลกได้แจ้กก้นปุด
ศัพท์ แจ้ก หมายถึง ภาชนะสานรูปสอบ สำาหรับใส่ส่ิงของ ใช้ห้อย
แบกหลัง ปุด หมายถึง ขาด
"ถ้าแลกเปล่ียนส่ิงของไปเร่ ือย ๆ มักจะได้แจ้กก้นขาด"
เป็ นสุภาษิตท่ีกล่าวถึง ความไม่พอใจในส่ิงท่ีตนมีอยู่ ชอบแลกเปล่ียน
ส่ิงของกับบุคคลอ่ ืนเร่ ือย ๆ จนในท่ีสุดมักจะได้ส่ิงท่ีไม่ดีมาเป็ นของ
ตน

อย่าควักเอาแก่นต๋าออก แล้วเอาแก่นบ่ากอกเข้ายัด
ศัพท์ แก่นต๋า หมายถึง ดวงตา แก่นบ่ากอก หมายถึง แกนหรือ
เม็ดของมะกอก
"ไม่ควรควักเอาดวงตาออกแล้วเอาลูกมะกอกดันเข้าใส่"
เป็ นการสอนบุคคลมิให้ทิง้ส่ิงดีๆ ท่ีมีอยู่ เพ่ ือท่ีจะรับเอาส่ิงใหม่โดย
สำาคัญผิดเห็นว่ามันมีคุณค่า และทิง้ของเดิมท่ีมีคุณค่าย่ิงกว่า
อ้าปากบ่หลมเข็ม
ศัพท์ หลม หมายถึง หลวม
"อ้าปากได้นิดเดียวเท่านัน้ " เป็ นสุภาษิตกล่าวถึงคนท่ีมี
ปากแล้วพูดไม่ออก เพราะเม่ ือพูดออกไปจะมีผลทำาให้เกิดความเดือด
ร้อน หรือเป็ นอันตรายต่อผู้พูดได้ ตรงกับสุภาษิตภาคกลางว่า "น้ำา
ท่วมปาก"

คลองคน

กบบ่ห้ือเกีย
้ ด เขียดบ่ห้ือต๋าย
ศัพท์ เกีย
้ ด หมายถึง โกรธ เคือง ไม่พอใจ
"กบไม่ให้เคืองใจ เขียดไม่ให้ตาย" เป็ นสุภาษิตท่ีสอนเก่ียว
กับการถนอมน้ำาใจของทัง้สองฝ่ าย เตือนคนท่ีเป็ นหัวหน้าหรือผู้
บริหารให้รู้จักถนอมน้ำาใจลูกน้องยามท่ีมีปัญหาขัดแย้งกัน

เค่งนักมักปุด
ศัพท์ เค่ง หมายถึง ตึง ไม่หย่อน ปุด หมายถึง ขาด
การกระทำาส่ิงใดส่ิงหน่ึงโดยเคร่งครัดเกินไปมักจะไม่ได้ผล
เช่น สายเคร่ ืองดนตรี ตึงเกินไปสายก็จะขาด ถ้าหย่อนเกินไปก็จะไม่
ได้ยินเสียง ฉะนัน้ เองกระทำาการส่ิงใด ไม่ควรรีบร้อนและเร่งรีบ
กระทำาลงไป

งัวลากเฟื องก็กิน
๋ เฟื อง
ศัพท์ งัว หมายถึง วัว เฟื อง หมายถึง ฟาง
การทำาส่ิงใดท่ีมีผลประโยชน์ ก็ต้องได้รับผลประโยชน์
ตอบแทนจากกิจการงานนัน ้ ๆ เช่น ถ้าขอให้คนอ่ ืนช่วยทำางานใดๆ ท่ี
เกิดผลประโยชน์ ก็ต้องแบ่งปั นผลประโยชน์เหล่านัน ้ ให้กับคนท่ีช่วย
ทำางานนัน้ ตามสมควรจะให้คนท่ีเขามาช่วยงานต้องใช้จ่ายเงินใน
กระเป๋ าของเขาเองเป็ นการไม่ถูกต้อง

นกบ่บินบ่จ้างก๋ำาปี กมันอ้า ควายบ่กิน


๋ หญ้าบ่จ้างข่มเขามันลง
ศัพท์ ข่ม หมายถึง ใช้กำาลังกดลง
นกท่ีไม่ชอบบิน ถึงแม้จะใช้มือจับปี กมันอ้า มันก็ไม่บิน ควาย
ไม่กินหญ้าถึงข่มเขาให้มันลงกินหญ้ามันก็ไม่กิน เปรียบเหมือนกับ
คน ส่ิงใดงานใดท่ีเขาไม่ชอบไม่ควรจะบังคับฝื นใจ ผลท่ีออกมาจะไม่ดี
เท่าท่ีควร

ฝนตกบ่ไคว่ใบไม้
ศัพท์ บ่ไคว่ หมายถึง ไม่ทั่ว
ฝนตกไม่ทั่วถึง คือ ตกกระจายเป็ นหย่อมๆ ในบางพ้ืนท่ี
เปรียบเทียบกับการทำาอะไรท่ีไม่ทั่วถึง เช่น การให้ส่ิงของแก่บริวาร
โดยไม่ทั่วถึงกัน ตรงกับสุภาษิตภาคกลางท่ีว่า "ฝนตกไม่ทั่วฟ้ า"

เล่นหมา หมาเลียหน้า เล่นข้า ข้าหยุบหัว


ศัพท์ หยุบ หมายถึง จับ
เจ้าของสุนัขเลีย
้ งให้ข้าวให้น้ำาแก่มัน เล่นคลุกคลีเป็ นประจำา
มักจะไม่กลัวเจ้าของและเลียหน้าตาเจ้าของ เช่นเดียวกับขุนนาง หรือ
คนร่ำารวยท่ีมีข้าทาสบริวารมาก ถ้าทำาตัวสนิทสนมคุ้นเคยกับข้าทาส
บริวารมากเกินไป พวกข้าทาสบริวารก็จะไม่มีความเกรงใจ ขาดความ
นับถือ

เหล็กบ่เหลีย
้ มเปิ้ นบ่เอาจี คนบ่ดีเปิ้ นบ่ใจ๊
ศัพท์ บ่ไคว่ หมายถึง ไม่ทั่ว
เหล็กท่ีไม่แหลมคม จะไม่เอามาใช้ คนไม่ดีไม่มีใครอยากจะ
เรียกใช้งาน เป็ นสุภาษิตสอนผู้ท่ีเป็ นหัวหน้าให้รู้จักเลือกใช้คน คนท่ี
ไม่ดี หรือไม่มีความขยันอดทน หรือขาดความฉลาดไม่ควรท่ีจะนำามา
ใช้งานบางอย่าง เพราะอาจจะทำาให้งานนัน ้ ไม่สำาเร็จลุล่วงได้

อย่าเอาคนไบ้นำาหน้า อย่าเอาต๋าบอดนำาตาง
ศัพท์ ไบ้ หมายถึง ไม่มีปัญญา
"อย่าเอาคนโง่นำาหน้า อย่าเอาคนตาบอดนำาทาง" เป็ นสุภาษิต
สอนให้รู้จักเลือกเอาคนท่ีดี มีความรู้ ความสามารถเป็ นผู้นำา ไม่เอา
คนชั่วเป็ นผู้นำา เพราะอาจทำาให้หลงทางไปในทางชั่วได้ เหมือนกับ
การเอาคนตาบอดนำาทาง

อยู่กับคนไบ้เหมือนผ่าไม้ตัด
้ ต๋า อยู่กับคนมีผหยาเหมือนผ่าไม้โล่ง
ปล้อง
ศัพท์ ตัด ้ ต๋า หมายถึง ตรงกับบริเวณตา ,โล่ง หมายถึง มีลักษณะ
ว่างหรือเปิ ดตลอด ,ไบ้ หมายถึง ไม่มีปัญญา
"อยู่กับคนไม่มีปัญญาเหมือนผ่าไม้ตรงตาไม้ แต่อยู่กับคนท่ีมี
ปั ญญา สามารถผ่าไม้ได้ตลอดทัง้ปล้อง" เป็ นสุภาษิตใช้เปรียบเทียบ
การใช้งานระหว่างคนฉลาดกับคนโง่ การให้คนโง่ทำากิจการหรือส่ิงใด
ส่ิงหน่ึงย่อมเป็ นการยากท่ีจะสำาเร็จ ตรงข้ามกับการใช้คนฉลาดย่อม
จะทำาให้งานหรือกิจการนัน ้ สำาเร็จมากกว่า คนฉลาดมักจะได้เปรียบ
เสมอในการทำากิจการงานต่างๆ

ฮักเบ้ืองย่ำาแคม
ศัพท์ เบ้ือง หมายถึง ข้าง ด้าน ทาง ,แคม หมายถึง ข้าง
"รักด้านหน่ึงแต่เหยียบอีกด้านหน่ึงไว้" เป็ นการกระทำาท่ไี ม่
สม่ำาเสมอหรือทัดเทียมกัน จะเป็ นคำาสอนในเร่ ืองการวางตัวของผู้
ปกครอง ควรวางตัวเป็ นกลางอย่ารักคนหน่ึงเกลียดคนหน่ึง

คลองความเพียรและการทำามาหากิน

กิน
๋ ตึงหลายต๋ายคนเดียว
ศัพท์ ตึงหลาย หมายถึง มาก หลายคน
"กินหลายคนแต่ตายคนเดียว" การกระทำาส่ิงใดส่ิงหน่ึงท่ี
ทำาร่วมกันหลายๆ คน และรับผลประโยชน์ร่วมกัน แต่ยามใดท่ีเกิด
ปั ญหาขึน้ มักจะมีคนแก้ปัญหาเพียงคนเดียว ทำาให้ภาระท่ีหนักต้อง
มาตกอยู่กับคนเพียงคนเดียว ซ่ึงเป็ นการยากท่ีจะแก้ไขปั ญหาให้
สำาเร็จลุล่วงไปได้อย่างรวดเร็ว

ขว้ำามือเป๋ นลาย หงายมือเป๋ นดอก


ศัพท์ ขว้ำา หมายถึง คว่ำา
"คว่ำามือเป็ นลาย หงายมือเป็ นดอก" เป็ นสุภาษิตกล่าวถึง
บุคคลท่ีมีความรู้ความสามารถในการทำางานได้หลายประเภทในการ
ทำางานแต่ละครัง้ก็สามารถสร้างรายได้ให้จำานวนมาก

ของจักเสียห้ือรีบใจ๊ ของจักได้ห้ือรีบเอา
"ของจะเสียให้ร ีบใช้ ของท่ีจะได้ให้ร ีบเอา" เป็ นสุภาษิต
สอนถึงความกระตือรือร้น ไม่เฉ่ ือยชาในกิจการงานต่างๆ ตรงกับ
สุภาษิตภาคกลางท่ีว่า "น้ำาขึน
้ ให้ร ีบตัก"

เข้าจะเสีย
้ งเพราะกิน
๋ หวาน คนจะผลาญเพราะนอนอุ่น
ศัพท์ เสีย
้ ง หมายถึง หมด ผลาญ หมายถึง ทำาให้ข้าวของหมดไป
ยากจนลง
"ข้าวจะหมดเพราะทานอร่อย คนจะยากจนก็เพราะนอน
สบาย" เป็ นสุภาษิตสอนคนไม่ให้เห็นแก่ความสุขสบายเพียงชั่วครู่
คนขีค้ ร้านเยียก๋ารอกแตก
ศัพท์ เยียะก๋าร หมายถึง ทำางาน ขีค ้ ร้าน หมายถึง ขีเ้กียจ
คนขีเ้กียจมักไม่ชอบทำางานและชอบผลัดวันประกันพรุ่ง
สะสมงานไว้เป็ นจำานวนมาก เม่ ือถึงเวลาต้องกลับมาทำาอีกก็จะเป็ น
ภาระหนัก

คนหมั่นต๋ายหลังด้าน คนขีค้ ร้านต๋ายหลังหัก


ศัพท์ หมั่น หมายถึง ขยัน
คนขยันจะทำางานพอประมาณแต่ทำาทุกวันไม่หยุดถ้าเป็ น
งานหาบ หรือแบกของก็เพียงแค่หลังด้าน แต่คนเกียจคร้าน ทำาๆ
หยุดๆ เม่ ือทิง้งานไว้มากและจะทำาให้เสร็จเสียทีเดียวก็เหมือนคนหลัง
หักล้มเหลวในท่ีสุด

คนหล็วกก๊าใกล้ คนไบ้ก๊าไกล๋
ศัพท์ หล็วก หมายถึง ฉลาด ก๊า หมายถึง ค้าขาย
"คนฉลาดมักจะทำามาหากินในท่ีใกล้ส่วนคนไม่มีปัญญา
หรือคนโง่มักจะทำามาหากินในท่ีห่างไกล" สุภาษิตใช้เปรียบเทียบคน
ฉลาดกับคนโง่ คนโง่ย่อมเป็ นเหย่ ือของคนฉลาดเสมอ และคนฉลาด
จะได้เปรียบในทุกด้าน

ใคร่เวยห้ือกาน ใคร่นานห้ือล่น
ศัพท์ เวย หมายถึง เร็ว, กาน หมายถึง คลาน, ล่น หมายถึง
ว่ิง
"อยากเร็วให้คลาน อยากนานให้ว่ิง" การกระทำาส่ิงใด
หากต้องการให้กิจการงานนัน ้ เสร็จเร็ว ต้องทำาอย่างช้าๆ มีความ
ละเอียด สุขุม รอบคอบ ถ้ากระทำาอย่างรีบเร่งอาจจะต้องกลับมาทำา
ใหม่อีกครัง้ทำาให้งานสำาเร็จช้าลงกว่าท่ีเป็ นอยู่ เป็ นสุภาษิตสอนคน
ให้การกระทำากิจการงานใด ๆ ก็ตาม ให้ทำาอย่างตัง้ใจ มีความหมาย
รอบคอบ ละเอียดมิฉะนัน ้ อาจจะต้องเสียเวลากลับมาทำาใหม่อีก

ใจ๋เป๋ นนาย ก๋ายเป๋ นบ่าว


ศัพท์ นาย หมายถึง จ้านาย, บ่าว หมายถึง ลูกน้อง หรือผู้อยู่ใต้
การปกครอง
"ใจเป็ นนาย กายเป็ นบ่าว" จิตใจถือว่ามีความสำาคัญย่ิง
จิตใจท่ีเข้มแข็งสามารถทำาให้ร่างกายแข็งแกร่งได้ ยามใดท่ีจิตใจ
อ่อนแอทำาให้ร่างกายอ่อนแอลงไปด้วย ถ้าต้องการจะให้งานประสบ
ความสำาเร็จจะต้องทำางานด้วยใจ
งาจ๊างหักขำาเศิก นอนหลับเดิก็บ่เสียก๋าร
ศัพท์ งาจ๊าง หมายถึง งาช้าง, หักขำา หมายถึง หักคา, เศิก
หมายถึง ศึก สงคราม, เดิก๊ หมายถึง ดึก
"งาช้างหักท่ามกลางศึกสงคราม นอนดีกไม่เสียงาน" เป็ น
สุภาษิตท่ีใช้เปรียบเทียบว่า เม่ ือลงมือทำางานอะไรแล้วจะต้องทำาอย่าง
เต็มท่ี เช่นเดียวกับช้างศึกท่ีรบในศึกสงครามแม้ว่างาช้างจะหักกลาง
ระหว่างการสู้รบ ก็จะต้องสู้ต่อไปจนกว่าจะรู้ผล

เงินคำาเป๋ นเจ้า เข้าเป๋ นนาย


ศัพท์ เข้า หมายถึง ข้าว
เงินทองสามารถท่ีจะจับจ่ายใช้สอย ซ้ือเกือบทุกส่ิงท่ีเรา
ต้องการ ข้าวมีคุณประโยชน์ต่อมนุษย์เช่นกัน เลีย ้ งมนุษย์ทัง้โลกควร
ยกย่อง สุภาษิตได้กล่าวถึงให้รู้จักคุณค่าของเงินทองและข้าวของ ไม่
ควรท่ีจะเหยียบย่ำาหรือใช้อย่างสุรุ่ยสุร่าย โดยไม่คิดเสียก่อน

เงินอยู่ในน้ำา คำาอยู่ในดิน
"เงินอยู่ในน้ำา คำาอยู่ในดิน" ถ้ามีความขยันหมั่นเดียร ย่อม
หาเงินทองได้ เพราะมีอยู่ทั่วไปในน้ำาในดิน ตรงกับสุภาษิตภาคกลาง
"ในน้ำามีปลา ในนามีข้าว"

จะหามก็อาย จะสะปายก็หนัก
ศัพท์ สะปาย หมายถึง สะพาย
ลักษณะของคนท่ีเกียจคร้านเม่ ือให้ทำางานอะไรก็ไม่ยอมทำา
ตรงกับสุภาษิตภาคกลาง "งานหนักไม่เอางานเบาไม่ส" ู้

เจ๊าก็ว่างาย ขวายก็ว่าแดด
ศัพท์ ขวาย หมายถึง สาย,ระยะเวลาตัง้แต่เข้าถึงเท่ียง งาย หมาย
ถึง เวลาประมาณ ๐๘.๐๐ น.ถึง ๑๐.๐๐ น.
"เช้าก็บอกว่ายังไม่สาย สายก็บอกว่าแดดร้อน" เป็ น
สุภาษิตท่ีใช้กล่าวถึงบุคคลท่ีชอบผลัดผ่อนเวลาในการทำางานตลอด
โดยมีข้ออ้างหรือข้อแก้ตัวเข้าข้างตัวเองตลอด
ซ้ือควายยามนา ซ้ือผ้ายามหนาว
ศัพท์ ยามนา หมายถึง ฤดูกาลทำานา ยามหนาว หมายถึง ฤดู
หนาว
"ซ้ือควายตอนช่วงทำานา ซ้ือผ้าในฤดูหนาว" สุภาษิตนีส ้ อน
ถึงการจับจ่ายซ้ือของให้เลือกเวลาท่ีเหมาะสม ไม่ร ีบเร่งกระทำาในเวลา
ท่ีกระชัน
้ ชิดเกินไป เพราะสินค้ามีราคาแพง และอาจจะไม่ถูกใจก็ได้

คลองความสัมพันธ์กับผู้อ่ืน

กับ
๊ ตีอ
้ ยู่ได้ กับ
๊ ใจ๋อยู่ยาก
ศัพท์ กับ ๊ ตี ห ้ มายถึง,แออักัดบ ๊ คัใจ๋
บแคบ
หมายถึง อึดอัดใจ คับ
แค้นใจ
"คับท่ีอยู่ คับใจอยู่ยาก" ท่ีอยู่อาศัยถึงแม้จะคับแคบ แต่ผู้ท่ี
อยู่มีความสัมพันธ์อันดีต่อกันก็อยู่กันอย่างมีความสุข ตรงกันข้ามถ้า
คนท่ีอยู่ไม่มีน้ำาใจต่อกัน ท่ีอยู่อาศัยแม้จะใหญ่โตก็อยู่อย่างไม่สบายใจ
อึดอัดทุกข์ใจ

ก้อนหินขว้างซัด ถูกตีห
้ ินขัง จ้างหุมขะนัง สะต๊อนใส่หน้า
ศัพท์ หินขัง หมายถึง บริเวณท่ีมีหินผา, ขะนัง หมายถึง ขว้างทิง้
ไป
"ถ้าขว้างก้อนหินไปถูกหินท่ีอยู่บริเวณนัน
้ ก้อนหินนัน ้ อาจ
สะท้อนกลับมาถูกหน้าผู้ขว้างได้" เปรียบได้กับการจะทำาส่ิงใดก็ตาม
ควรคิดให้ดีก่อนลงมือทำา ให้ระมัดระวังผลท่ีจะสะท้อนกลับเข้าหา
ตนเอง เช่น ถ้าทำาร้ายผู้อ่ืน ผลร้ายจะกลับมาถึงตน พูดให้ร้ายบุคคล
อ่ ืนตัวเองก็จะเป็ นแบบนัน

ของกิน
๋ ลำาปั๋ นกัน
๋ กิน
๋ คนหน้อย กิน
๋ คนเดียวจ้างแก๊น
ศัพท์ ลำา หมายถึง อร่อย, ปั๋ น หมายถึง แบ่ง, แก๊น หมายถึง
สำาลัก
"ของอร่อยต้องแบ่งปั นกันกินคนละเล็กละน้อย กินเองจะ
สำาลัก" เป็ นสุภาษิตสอนคนให้รู้จักแบ่งปั นข้าวของ หรือผลประโยชน์
ให้ผู้อ่ืน ควรมีความเอ้ือเฟ้ือเผ่ ือแผ่แก่คนทั่วไป จะทำาให้สังคมอยู่อย่าง
สงบสุข

เข้าหมู่แฮ้งเป็ นแฮ้ง เข้าหมู่ก๋าเป๋ นก๋า


ศัพท์ แฮ้ง หมายถึง แร้ง
"เข้าไปรวมกับแร้งก็เป็ นแร้ง เข้าไปรวมกับกาก็เป็ นกา"
เป็ นสุภาษิตท่ีสอนให้รู้จักการวางตนในการคบหาสมาคมกับผู้อ่ืน
ควรทำาเองให้เข้ากับบุคคลเหล่านัน ้ ให้ได้ เพ่ ือได้รับการยอมรับจากผู้
อ่ ืน

คนขีจ้ิไ๊ปไหน ไผบ่ถามหา คนมีเมตต๋าไปไหน บ่กัน ้


ศัพท์ ขีจ้ิ ห ๊ มายถึงตระหน่
กัน
้ ีเห็
หมายถึ
นแก่ตงัว อดอยาก
"คนตระหน่ีไปท่ีไหน ไม่มีใครถามหา คนมีเมตตาไปท่ีไหน
ไม่มีวันอดอยาก" คนท่ีมีเมตตาถึงแม้จะมีความทุกข์ยากย่อมได้รับ
ความช่วยเหลือ ต่างกับคนท่ีตระหน่ีไม่มีใครท่ีจะให้ความช่วยเหลือ
เวลาทุกข์

คนเนรคุณ ฮ้ายหลัง ดีหน้า


ศัพท์ ฮ้าย หมายถึง ร้าย
คนเนรคุณมักจะหน้าไหว้หลังหลอก ต่อหน้าผู้มีพระคุณ
ประพฤติดี แต่พอลับหลังกลับประพฤติไม่ดี ตรงกับสุภาษิตคนภาค
กลางท่ีว่า "หน้าไหว้หลังหลอก"

คนฮักเต้าผืนหนัง คนจังเต้าผืนสาด
ศัพท์ เต้า หมายถึง เท่า
"คนรักเท่าผืนหนัง คนชังเท่าผืนเส่ ือ" คือมีคนรักและคน
ชังพอๆ กัน ไม่ควรหวังว่าคนทัง้หลายจะรักเราทุกคน เม่ ือมีคนรักก็
ย่อมมีคนเกลียดชังด้วยเหมือนกัน เป็ นสุภาษิตสอนคนไม่ให้หวัง
อะไรมากเกินไป
งัวตัว๋ใดกิน
๋ หญ้าแผกหมู่ กันบ่ต๋ายเปิ้ นห่าก็ต๋ายเสือขบ
ศัพท์ แผก หมายถึง แยกออกไป ขบ หมายถึง กัด
"วัวตัวใดกินหญ้าแยกจากฝูง ถ้าไม่ตายเพราะถูกฆ่าก็จะ
ตายเพราะถูกเสือกัด" เป็ นสุภาษิตสอนให้คนอยู่รวมเป็ นหมู่พวก ถ้า
มีพฤติกรรมผิดแผกแปลกไปจากบุคคลอ่ ืน ในท่ีสุดบุคคลนัน ้ ก็จะไม่มี
ใครคบค้าสมาคมด้วย กลายเป็ นคนท่ีโดดเด่ียว และไม่สามารถแก้
ปั ญหาตามลำาพังได้

เงินคำาหาได้ น้ำาใจ๋หายาก
เงินทองหาได้ง่าย แต่จะหาคนท่ีมีความจริงใจ มีน้ำาใจได้ยาก

จักกิน
๋ ก็ขีจ้๊ะ จักละก็เสียดาย
ศัพท์ ขีจ้๊ะ หมายถึง น่ารังเกียจ น่าขยะแขยง
"จะกินก็รังเกียจ จะทิง้ไปก็เสียดาย" เป็ นลักษณะของคนท่ี
หวงแหนส่ิงของไว้ทัง้ๆ ท่ีตัวเองก็ไม่ต้องการ หรือไม่เห็นคุณค่า แต่
เม่ ือเห็นคนอ่ ืนเห็นคุณค่าหรือความสำาคัญก็ไม่ยอมให้ คล้ายสุภาษิต
ภาคกลาง "หมาหวงกว้าง"

จับใจ๋แฮ้ง บ่แหน้นใจ๋ก๋า จับใจ๋หมอยา พยาธิบ่สู้


ศัพท์ แฮ้ง หมายถึง แร้ง
"ถูกใจแร้ง ไม่ถูกใจกา ถูกใจหมอยา พยาธิไม่ชอบ" เป็ น
สุภาษิตท่ีสอนให้ตระหนักว่า คนเราต่างจิตต่างใจชอบกันไปคนละ
อย่าง

ปล๋าตัว๋เดียวเน่าตึงซ้า
ศัพท์ ซ้า หมายถึง ตะกร้า
ปลาท่ีอยู่ในตะกร้าเดียวกัน เม่ ือปลาตัวใดเน่าก็จะส่งกล่ิน
เหม็นทัง้ตะกร้า เปรียบได้กับการทำางานเป็ นหมู่คณะ เม่ ือมีคนใดคน
หน่ึงก่อเร่ ืองหรือทำาให้เส่ ือมเสีย ก็จะทำาให้คนทัง้หมู่คณะ เสียหายไป
ด้วย
แป๋ งเจือ
๊ ไว้หลายต้า หม่าเข้าไว้หลายเมือง
ศัพท์ เจ้ือ หมายถึง เมล็ดพันธุ์ หม่า หมายถึง หมัก,แช่
"เพาะเมล็ดพันธุ์ไว้หลายแห่ง หมักข้าวไว้หลายเมือง" เป็ น
สุภาษิตท่ีสอนเก่ียวกับการคบค้าสมาคมกับบุคคลอ่ ืน ความผูกมิตร
กับบุคคลต่างๆ ไว้เพราะในอนาคตอาจมีความจำาเป็ นท่ีจะต้องพ่ึงพา
อาศัยกัน

ไปเมืองใดก็ห้ือเอาไฟเมืองนัน้
"ไปเมืองใดก็ให้เอาไฟเมืองนัน้ " เป็ นสุภาษิตสอนให้รู้จัก
การวางตนให้เหมาะสมในสถานท่ีต่าง ๆ อย่าทำาตัวต่างจากคนอ่ ืนมาก
นัก ตรงกับสุภาษิตภาคกลาง "เข้าเมืองตาหล่ิวต้องหล่ิวตาตาม"

เม่ ือจะก่ิวขอห้ือก่ิวคองู เม่ ือจะอูขอห้ืนอูคอจ๊าง


ศัพท์ ก่ิว หมายถึง คอดก่ิว ห้ือ หมายถึง ให้ อู หมายถึง ใหญ่
เม่ ือถึงเวลาตกอับก็จงทำาตัวให้เหมือนงู งูถึงคอมันจะเล็กก็
ยังชูคอได้อย่างสง่าไม่ยอมให้ใครเหยียบย่ำาได้ เม่ ือถึงเวลาร่ำารวยก็ขอ
ให้ร่ำารวยจริงเหมือนดังช้างท่ีมีตัวและลำาคอใหญ่โตไม่ใช่รวยแต่เปลือก
นอก

ไม้ต้นเดียวบ่เป๋ นก๋อ ป๋ อต้นเดียวบ่เป๋ นเหล่า


ศัพท์ ก๋อ หมายถึง กลุ่มแห่งต้นไม้ท่ีเกิดจากเหง้าเดียวกัน เช้ือสาย
เดียวกัน
"ไม้ต้นเดียวไม่เรียกเป็ นกอ ต้นปอต้นเดียวก็ไม่เรียกเป็ น
ป่ า" เป็ นสุภาษิตท่ีกล่าวถึง คนเราไม่สามารถท่ีจะอยู่ตามลำาพังเพียง
คนเดียว และไม่สามารถท่ีจะทำางานใหญ่ได้สำาเร็จลงได้ตามลำาพังต้อง
ประสานและพ่ึงพาบุคคลอ่ ืน

สอนเปิ้ นไต่ขัว ตัว๋กลัว๋ตกน้ำา


ศัพท์ ขัว หมายถึง สะพาน
"สอนคนอ่ ืนให้ข้ามสะพาน ตัวเองกลัวตกน้ำา" เปรียบ
เทียบกับคนท่ีไม่มีความมั่นใจในตัวเอง บอกกล่าวให้คนอ่ ืนกระทำา ใน
ส่ิงท่ีตัวเองไม่กล้าทำาทัง้ๆ ท่ีตัวเองสามารถทำาได้ แต่กลับให้คนอ่ ืนทำา
แทน
หล็วกใส่ตัว๋เอาหัวเข้าฮ่ม
ศัพท์ ฮ่ม หมายถึง ร่ม
"เอาความฉลาดเข้าหาตัวเอง เอาหัวเข้าท่ีร่ม" เพ่ ือท่ีจะได้
พ้นจากแดดจากฝน เป็ นสุภาษิตกล่าวถึงบุคคลท่ีมีความเห็นแก่ตัว
ชอบเอาตัวรอดเพียงคนเดียว โดยไม่ได้ห่วงใยคนอ่ ืนหรือให้ความช่วย
เหลือผู้อ่ืน อยู่ท่ีไหนก็มักจะเอาเปรียบผู้อ่ืนอยู่เสมอ

คลองตน

กิน
๋ นักห้ือกิน
๋ เต้าก่ิงก้อย ใคร่กิน
๋ หน้อยห้ือกิน
๋ เต้าหัวแม่มือ
ศัพท์ ก่ิงก้อย หมายถึง นิว้ก้อย
"อยากกินมากให้กินเท่านิว้ก้อย อยากกินน้อยให้กินเท่าหัว
แม่มือ" เป็ นสุภาษิตท่ีกล่าวถึง ถ้าอยากจะสุขสบายในภายหน้าก็ให้
กินปั จจุบันให้น้อย ถ้าอยากจะลำาบากในภายหน้าให้กินปั จจุบันให้มาก
เป็ นการสอนให้รู้จักประมาณในการกินการอยู่ให้อยู่ในระดับท่ีพอดี

กิน
๋ ป๋ ูน ฮ้อนต๊อง
"กินปูนร้อยท้อง" เป็ นสุภาษิตเปรียบเทียบคนประเภท
หน่ึงท่ีทำาความผิดไว้ เม่ ือมีคนอ่ ืนพูดถึงก็ร ีบปฏิเสธว่าตนเองไม่ได้ทำา
ทัง้ๆ ท่ีไม่มีใครรู้ว่าตัวเขากระทำา แต่เม่ ือมีการพูดแก้ตัวขึน
้ มาก็ทำาให้
คนอ่ ืนๆ ทราบว่าเป็ นคนทำา ตรงกับสุภาษิตภาคกลาง "วัวสันหลัง
หวะ"

กิน๋ แล้ว ลืมอยาก


"กินแล้วลืมความอดอยากท่ีเคยได้รับ" เป็ นสุภาษิตท่ีใช้
เปรียบบุคคลประเภทหน่ ึงท่ีร่ำารวยหรือได้ดีแล้วลืมตัว ลืมพ้ืนเพ ของ
ตนเอง ไม่รู้จักกตัญญูต่อผู้มีพระคุณ

กิน
๋ ส้มบ่ดีฮาน กิน
๋ หวานบ่ดีปำ้า
ศัพท์ ฮาน หมายถึง ตัดทอน ปำ้ า หมายถึง ตัดถึงโคนต้น
กินส้มไม่ควรท่ีจะตัดทอนก่ิงของส้มลงหมด เพราะส้มจะ
ออกผลบริเวณก่ิง เม่ ือตัดออกส้มจะไม่ออกผลอีก กินหวานไม่ควรท่ี
จะตัดโคนทิง้ เพราะจะทำาให้ต้นไม้ตาย และไม่ออกผลไม้ท่ีมีรสหวาน
ให้รับประทาน เป็ นสุภาษิตสอนให้รู้จักการมองการณ์ไกล ไม่ควร
หวังประโยชน์เพียงแค่ระยะสัน้

กิน
๋ ห้ือปอต๊อง หย้องห้ือปอตัว๋
ศัพท์ หย้อง หมายถึง แต่งตัวด้วยเคร่ ืองประดับ, ประดับประดา
"รับประทานอาหารให้พอดีกับท้อง แต่งตัวให้เหมาะสมกับ
ตนเอง" เป็ นสุภาษิตท่ีสอนให้รู้จักการประมาณตนในการกินการใช้
การแต่งตัวควรให้เหมาะสมกับฐานะของตัวเองไม่กระทำาในส่ิงท่ีเกิน
ฐานะของตน

กำากึด ้ ดีขายสลีนอนสาด
ศัพท์ กำากึด ้ หมายถึง ความคิด, สลี หมายถึง ท่ีนอนทำาด้วย
นุ่น, สาด หมายถึง เส่ ือ ทำาด้วยพืชชนิดหน่ึง
"ความคิดดีขายสลีนอนเส่ ือ" เป็ นสุภาษิตท่ีพูดประชดว่า
กล่าวบุคคลท่ีสิน ้ คิด ไม่รู้จักขยันและแสวงหาทรัพย์สินเพ่ิมเติม ส่ิงใด
ท่ีมีค่ามีราคาพอขายได้ก็จะขาย แม้ยามยากจนได้นอนท่ีนอน ก็จะขาย
ท่ีนอนนัน ้ อีกแล้ว แล้วไปนอนเส่ ือแทน

กำาอู้หล็วก หาใส่ตัว๋ไว้นักๆ
"กำาอู้หล็วก หาใส่ตัว๋ไว้นักๆ" หมายถึง ส่ิงท่ีดีๆ ท่ีช่วย
เสริมสร้างสติปัญญาให้หาใส่ตัวไว้ให้มาก เป็ นสุภาษิตสอนเร่ ืองการ
ขวนขวายหาความรู้ให้ตัวเอง เพราะความรู้จะเป็ นส่ิงท่ีทำาให้เรา
สามารถดำารงชีวิตอยู่ในสังคมได้โดยไม่ถูกเอาเปรียบมากนัก

กันใคร่หัว ก็ใคร่หัวแต๊ๆ
ศัพท์ แต๊ๆ หมายถึง จริงๆ
"ถ้าหัวเราะก็ให้หัวเราะอย่างเต็มท่ี หัวเราะจริงๆ" เป็ น
สุภาษิตสอนในเร่ ืองของการกระทำาส่ิงต่างๆ ให้มีความจริงใจในการก
ระทำาและทำาอย่างจริงจัง
ของบ่กิน
๋ ฮู้เน่า ของบ่เล่าฮู้ลืม
ศัพท์ บ่เล่า หมายถึง ไม่ท่องจำา
อาหารท่ีเก็บไว้โดยท่ไี ม่ได้รับประทาน ย่อมจะบูดเน่าไปใน
ท่ีสุด ตำาราก็ต้องหมั่นตรวจท่องจำา ไม่เช่นนัน ้ ก็จะลืมเลือน เปรียบ
เหมือนส่ิงของท่ีร่ำาเรียนมาแต่ไม่ได้นำาไปใช้ ย่อมจะมีวันท่ีลืมเลือนไป
ได้โดยง่าย

คนฉลาดอย่าปะหมาดคนง่าว
ศัพท์ ปะหมาด หมายถึง ดูถูก ดูแคลน, ง่าว หมายถึง โง่
เป็ นสุภาษิตสอนคนให้มีสติมีความระมัดระวังในการกระทำา
อย่าคิดว่าตนเองฉลาดและคิดว่าคนอ่ ืนโง่ ทุกคนต้องพ่ึงพาอาศัยซ่ึง
กันและกัน งานบางอย่างคนฉลาดทำาไม่ได้ต้องจ้างหรือขอคนโง่ทำาให้

คนตำาต่ำาต้าวนอนหงาย บ่ดีก๋ายเหยียบข้าม
ศัพท์ ต้าว หมายถึง หกล้ม, บ่ดีก๋าย หมายถึง ไม่ควรผ่าน ไปใกล้
เฉียด
คนเม่ ือทำาความผิดพลาดไป หรือไม่ประสบผลสำาเร็จในส่ิงท่ี
ตัง้ใจหวัง ย่อมจะเสียใจเป็ นธรรมดา ไม่ควรท่ีจะซ้ำาเติม หรือดูถูก
เหยียดหยาม ตรงกับภาษิตภาคกลาง ไม้ล้มอย่าข้าม

คนใหญ่สุบหมวดหิน

ศัพท์ คนใหญ่ หมายถึง คนท่ีมีรูปร่างใหญ่โต, สุบ หมายถึง
สวม, หิน ้ หมายถึง เกรียน สัน้ มาก
"คนตัวโตสวมหมวกเกรียน" ซ่ึงไม่เหมาะสมกับร่างกาย
เม่ ือการกระทำาส่ิงใดก็ตามควรแยกแยะพิจารณาถึงความเหมาะสม
เป็ นสำาคัญ จึงจะสามารถได้รับผลประโยชน์จากส่ิงท่ีกระทำาลงไปอย่าง
ครบถ้วน

คนเฮาใหญ่แล้วบ่ต้องมาสอน จิง้หีด แมงจอน ไผสอนมันเต้น


ศัพท์ จิง้หีด หมายถึง จิง้หรีด, แมงจอน หมายถึง แมง
กระชอน, ไผ หมายถึง ใคร
"คนเราโตๆ กันแล้วไม่ต้องสั่งสอนกันให้มาก แมง
กระชอนไม่มีใครสอน มันก็เต้นเองได้" เป็ นสุภาษิตสอนคนให้รู้จัก
ช่วยเหลือตัวเอง ไม่หวังพ่ึงหรือขอความช่วยเหลือจากคนอ่ ืนตลอด
เวลา บางส่ิงบางอย่างสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง

ความฮู้นัน
้ ย่อมเฮียนตันกัน๋ ส่วนผหยานัน้ เฮียนกั่นบ่ได้
ศัพท์ ผหยา หมายถึง ความเฉลียวฉลาด
"ความรู้ย่อมท่ีจะเรียนทันกันได้ แต่ความฉลาดเฉลียวของ
คนเรียนกันไม่ได้" เป็ นสุภาษิตสอนให้รู้ว่าทุกๆ คนสามารถเรียนเอา
ความรู้ได้เท่าเทียมกัน แต่ในเร่ ืองของความเฉลียวฉลาด ความรอบรู้
นัน
้ ขึน
้ อยู่กับบุคคลแต่ละคน ไม่สามารถท่ีจะสอนกันได้

ใคร่เป๋ นเจ้าห้ือหมั่นเฮียนคุณ ใคร่เป๋ นขุนห้ือหมั่นเฝ้ าเจ้า


ศัพท์ คุณ หมายถึง ศาสตร์แขนงหน่ึง
"อยากเป็ นเจ้านายคนต้องขยันเรียน อยากเป็ นใหญ่ต้อง
ใกล้ชิดเจ้านาย" เป็ นสุภาษิตใช้สอนผู้ท่ีอยากประสบความสำาเร็จ ใน
ชีวิตด้านใดๆ ให้มีความขยันตัง้ใจและปฏิบัติอย่างจริงจัง

คลองความรักและการครองเรือน

กว๋างฟานมันตึงบ่ต๋ายเหล่าใหม่ มันตึงมาต๋ายเหล่าเก่า
ศัพท์ ฟาน หมายถึง อีเก้ง, เหล่า หมายถึง ป่ าละเมาะ
"กวาง หรือ อีเก้ง จะไม่ตายในป่ าละเมาะท่ีอยู่ใหม่ แต่จะ
กลับไปตายยังป่ าเดิมท่ีมันเคยอยู่" แสดงถึงความรักถ่ินเกิดของสัตว์
เป็ นสุภาษิตท่ีกระตุ้นเตือนให้คนเกิดความสำานึก และรักมาตุภูมิของ
ตน เม่ ือจากไปอยู่แห่งใดก็ไม่ควรละเลยท่ีจะกลับมาทำาประโยชน์ให้
ถ่ินฐานบ้านเกิดของตน

ของกิน
๋ ลำาอยู่ตีค
้ นมัก ของฮักอยู่ตีค
้ นเปิ งใจ๋
ศัพท์ ลำา หมายถึง อร่อย, มัก หมายถึง ชอบ พอใจ, เปิ งใจ๋
หมายถึง ถูกใจ
อาหารจะอร่อยอยู่ท่ีคนชอบ ผู้หญิง-ผู้ชายจะรักชอบใครขึน

อยู่กับความพึงพอใจของแต่ละบุคคล ไม่สามารถท่ีจะบังคับกันได้

ขาหน้าบ่เต้าขาหลัง
ศัพท์ บ่เต้า หมายถึง ไม่เท่า
"ขาหน้าไม่เท่าขาหลัง" เป็ นสุภาษิตท่ีกล่าวถึง บุคคลท่ีแม้
จะไปหลงระเริงอยู่กับส่ิงใหม่ โดยทิง้ลูกเมียหรือ ลืมบ้านเกิดอันเป็ น
ภูมิลำาเนาเดิมของตนไว้เบ้ืองหลัง อย่างไรก็ตามก็ยังห่วงหาอาวรณ์ลูก
เมีย ญาติพ่ีน้อยอยู่เสมอ

ขีเ้หมีย
้ งเกิดกับเหล็ก
ศัพท์ ขีเ้หมีย้ ง หมายถึง สนิม
"สนิมมักจะกิดขึน ้ กับเหล็ก" เป็ นสุภาษิตท่ีกล่าวถึงส่ิงท่ี
เกิดมาคู่กัน ย่อมหนีกันไม่พ้น เปรียบเช่นเดียวกับชายหนุ่มและหญิง
สาวเป็ นของคู่กัน

ครั่งใกล้ไฟ ไขใกล้แดด
หนุ่มสาวอยู่ใกล้กันมักจะ้กิดเร่ ืองในเชิงชูสาวขึ้นได้ เปรียบ
ได้กับครั่งท่ีใกล้กับไฟ และไขท่ีตากแดด ย่อมถูกความร้อนเผาจน
หลอมละลาย ตรงกับสุภาษิตภาคกลางว่า "น้ำาตาลใกล้มด"
ได้ผ้าต๊วบใกล้แจ้ง
ศัพท์ ผ้าต๊วบ หมายถึง ผ้าห่ม ใกล้แจ้ง หมายถึง เกือบสว่าง
"ได้ผ้าห่มเม่ ือเกือบสว่าง" เป็ นสุภาษิตท่ีใช้เปรียบเทียบกับ
ชายชรา แต่ยังหาคู่ครองไม่ได้ ต่อมาจึงพบหญิงท่ีถูกใจเม่ ือยามท่ีมีอายุ
มากแล้ว หรือเปรียบได้กับการทำางานท่ีจวนจะแล้วเสร็จ แต่พ่ึงจะได้
เคร่ ืองมือท่ีดีมาใช้ ตรงกับสุภาษิตภาคกลาง "พบไม้งามยามเม่ ือขวาน
บ่ิน"

บ่ดีเอาลูกเปิ้ นมาเลีย้ ง บ่ดีเอาขีเ้หมีย้ งเปิ้ นมาอม


ศัพท์ ลูกเปิ้ น หมายถึง ลูกคนอ่ ืน, ขีเ้หมีย ้ ง หมายถึง กากของ
เม่ียงท่ีอมแล้วคายออกมา
"อย่าเอาลูกคนอ่ ืนมาเลีย ้ ง อย่าเอากากเหมีย ้ งเขามาอม"
การเอาลูกคนอ่ ืนมาเลีย ้ งอาจไม่เหมือนกับเลีย ้ งดูลูกของเราเอง ซ่ึงเรา
ไม่แน่ใจว่าในสายเลือดว่าจะดีหรือไม่ เราอาจจะเดือนร้อนในภายหน้า
เช่นเดียวกับเอากากเหมีย ้ งท่ีคนอ่ ืนอมแล้วคายออกมาอมอีก รสชาติ
ย่อมจืดชืด

ฝนจะตกจะไปเจ้ือใจ๋ดาว มีลูกสาวจะไปเจ้ือใจ๋มัน
"ฝนจะตกจะไปเช่ ือใจดาว มีลูกสาวอย่าไปเช่ ือใจมัน"
ท้องฟ้ าท่ีโล่งโปร่งเห็นดาว อย่าเพ่ิงคิดว่าฝนจะไม่ตกลงมา คนมี
ลูกสาวอย่าไปคิดว่าเป็ นคนดีเพราะเราไม่ได้อยู่กับเขาตลอดเวลา ลับ
หลังอาจจะประพฤติอีกอย่างหน่ึง เป็ นสุภาษิตสอนคนให้มีสติ และใช้
ปั ญญาคิดให้รอบคอบ ไม่ควรตัดสินใจเช่ ือเร่ ืองใดเร่ ืองหน่ึงโดยยังไม่
ได้ไตร่ตรอง

ไฟในจะไปนำาออก ไฟนอกจะไปนำาเข้า
ศัพท์ ไฟใน หมายถึง เร่ ืองราวภายใจ, ไฟนอก หมายถึง เร่ ืองราว
ภายนอก
"อย่าเอาเร่ ืองภายในครอบครัวไปเล่าให้ผู้อ่ืนฟั ง อย่าเอา
เร่ ืองภายนอกครอบครัวมาเล่าให้คนในครอบครัวฟั ง" เป็ นสุภาษิต
สอนคนให้รู้จักรักษาวงศ์ตระกูล ไม่ควรนำาเร่ ืองภายในเล่าสู่คนนอก
และไม่ควรนำาเร่ ืองภายนอกมาสู่ครอบครัว

มีน่ึงแล้วจะแอมแหมสอง ข่ีเฮือน้ำานองซ้อนสองจ้างหล้ม
ศัพท์ แอม หมายถึง เคียง, หล้ม หมายถึง พัง จม
เปรียบได้กับชายท่ีมีคู่ครองของตนเองอยู่แล้วแต่อยากได้
อีกคนหน่ึง ทำาให้เกิดปั ญหาในชีวิตครอบครัวตามมา เป็ นสุภาษิตท่ี
สอนให้รู้จักพึงพอใจในส่ิงท่ีตนมีอยู่

มีลูกเหมือนเจ้ือสุบคอ มีเมียเหมือนป๋ อสุบศอก


ศัพท์ สุบ หมายถึง สวม ใส่, ป๋ อ หมายถึง เส้นใยท่ีได้จากเปลือก
ของต้นปอสามารถนำามาฟั่ นเป็ นเส้นเชือกได้
"มีลูกเหมือนเชือกสวมคอ มีภรรยาเหมือนมีเชือกปอมา
สวมข้อศอก" เป็ นสุภาษิตสอนคนให้ระลึกถึงความทุกข์ของการท่ี
ต้องเกิดมาเป็ นมนุษย์บนโลกนี ย ้ ่อมหลุดพ้นจากวัฎสงสารยาก
หากยังยึดติดอยู่กับกิเลสตัณหาอยู่อย่างไม่จบสิน

มืนต๋ากว้างผ่อตางยาง เป๋ นฮ้างเป๋ นสาวห้ือผ่อถ่ีถ่ี


ศัพท์ มืนต๋า หมายถึง ลืมตา่, ผ่อ หมายถึง ดู มอง, ตาง หมาย
ถึง ทาง, ถ่ี หมายถึง รอบคอบ ละเอียด
"ลืมตาให้กว้างเพ่ ือดูทางข้างหน้า เป็ นหญิงสาวก็ต้องเลือก
หาคู่ครองให้ดีคิดให้รอบคอบก่อนท่ีจะตัดสินใจ" สอนคนให้รู้จักคิด
ตัดสินใจกระทำาส่ิงใดลงไป ควรนึกถึงผลได้ผลเสียและไม่ควรเห็นแก่
ประโยชน์ในปั จจุบันให้มองไกลถึงอนาคตด้วย
เยียะไฮ่ไกล๋ต๋า เยียะนาไกล๋บ้าน
"การทำาไร่ไกลตา การทำานาไกลบ้าน" ย่อมยากแก่การดูแล
รักษา มักถูกรบกวนจากศัตรูพืชและมนุษย์อยู่เสมอ เป็ นสุภาษิต
สอนคนเก่ียวกับเร่ ืองของความรัก ความรักมักแพ้ความใกล้ชิด ความ
ห่างไกลมักทำาให้เกิดความห่างเหินจนทำาให้ฝ่ายใดฝ่ ายหน่ึงเปล่ียนใจ
ได้

หัวควายแห้งจนกัน ๋
ศัพท์ จนกัน ๋ หมายถึง ชนกัน
"หัวควายแห้งชนกัน" หัวควายท่ีแห้งแล้ว และนำามาชนกัน
ย่อมเกิดการสึกกร่อน เป็ นสุภาษิตสอนชายหนุ่ม หญิงสาวท่ีกำาลังหา
คู่ครองให้รู้จักเลือกเอาคนท่ีมีฐานะดี จะได้เก้ือกูลกันได้ ถ้าทัง้สอง
ฝ่ ายต่างก็มีฐานะยากจนเหมือนกัน ชีวิตการครองเรือนก็จะลำาบาก

อย่าอวดสูงกว่าป้ อแม่ อย่าอวดแก่กว่าอาจารย์


"อย่าคิดว่าตนเองสูงส่ง หรือฉลาดกว่าพ่อแม่ อย่าคิดว่า
ตนเองเก่ง ฉลาดกว่าครูอาจารย์" เป็ นสุภาษิตสอนคนให้มีความ
เคารพ นับถือบุคคลท่ีได้ช่ือว่าเป็ นบิดามารดา และครูอาจารย์ เพราะ
ท่านเหล่านัน
้ เป็ นผู้มีพระคุณและมีประสบการณ์มากกว่าเรา

คลองศีล คลองธรรม

คนแก่ดีเพราะฟั งธรรม คนใจดำาบ่หันตุ๊เจ้า


"คนแก่จะดีเพราะฟั งธรรม คนใจดำาไม่มีทางท่ีจะเห็นพระ"
เป็ นสุภาษิตกล่าวถึงคนแก่ท่ีเข้าวัดทำาบุญฟั งธรรมอยู่เสมอ ทำาให้เป็ น
บุคคลท่ีมีจิตใจเมตตาลูกหลานรักใคร่ดูแลเอาใจใส่ให้ความเคารพ
นับถือ ตรงกันข้ามกับคนแก่ท่ีไม่เคยทำาบุญ หรือเข้าวัดก็จะไม่มี
โอกาสเห็นพระ ไม่เห็นทางสว่าง คนแก่ประเภทนีจ้ะมีจิตใจคับแคบ
ลูกหลานไม่ชอบ มักถูกทอดทิง้ให้อยู่ตามลำาพัง

จะไปโลำาอำาต๋าจัง้ จะไปนั่งกาประตู๋
ศัพท์ อำา หมายถึง พราง ปกปิ ด, กา หมายถึง คา
"จะไปโลภโกงตาชั่ง จะไปนั่งคาปากประตู" มีความหมาย
เปรียบเทียบว่าจะทำาอะไรให้กระทำาด้วยความซ่ ือสัตย์ ซ่ ือตรง จะทำาให้
เป็ นท่ีเช่ ือถือของบุคคลทั่วไป
ใจ๋ใสเป๋ นบุญ ใจ๋ขุ่นเป๋ นบาป
"ใจใสเป็ นบุญ" จิตใจท่ีสะอาด บริสุทธิ ค์ิดหวังให้ผู้อ่ืนมี
แต่ความสุข ผู้คิดย่อมมีความสุขใจไปด้วย "ใจขุ่นเป็ นบาป" จิตใจท่ีคิด
มุ่งร้ายเต็มไปด้วยเร่ ืองขุ่นมัว ความอิจฉาริษยา ทำาให้ผู้คิดมีแต่ความ
ทุกข์ใจไม่สบายใจ ตรงกับภาษิตภาคกลางว่า "สวรรค์อยู่ในอก นรก
อยู่ในใจ"

เปิ้ นว่าเสือ ตัว๋ว่าพระเจ้า


การหลงใหลช่ ืนชมในส่ิงท่ีคนส่วนใหญ่เห็นว่าไม่ดี แต่
ตนเองคิดว่าดี เป็ นสุภาษิตกล่าวถึงคนท่ีหลงผิดไปช่ ืนชมส่ิงท่ีไม่ดี
เม่ ือคนเตือนสติก็คิดว่า เขาอิจฉาไม่อยากให้ตนเองได้ดี เม่ ือเกิดผิด
พลาดขึน ้ มาก็เสียใจท่ีไม่เช่ ือคำาเตือนของผู้อ่ืนเสียแต่แรกตรงกับ
สุภาษิตภาคกลางว่า "เห็นกงจักรเป็ นดอกบัว"

หนีฝนบ่ป๊นฟ้ า หนีฝ้าบ่ป๊นตะวัน
ศัพท์ ป๊ น หมายถึง พ้น, ฝ้ า หมายถึง เมฆ ก้อนเมฆ
"หนีฝนไม่พ้นฟ้ า หนีเมฆไม่พ้นตะวัน " เป็ นสุภาษิตสอน
ให้รู้สัจธรรมแห่งชีวิตว่า ในบางเร่ ืองเราไม่อาจท่ีจะหนีหลุด<ความ
ตาย ทุกคนต้องเผชิญอย่างหลีกเล่ียงไม่ได้

หันเปิ้ นมีจะไปใคร่ได้ หันเปิ้ นขีไ้ร้จะไปดูแควน


ศัพท์ ขีไ้ร้ หมายถึง ยากจน, ดูแควน หมายถึง ดูหม่ิน ดูถูก
"เห็นคนอ่ ืนมีข้าวของหรือร่ำารวย อยากได้อยากเป็ นอย่าง
คนอ่ ืน เห็นคนอ่ ืนยากจนก็ดูหม่ินดูแคลน" เป็ นสุภาษิตสอนคนให้
รู้จักประมาณตนเองจงพอใจในส่ิงท่ีตนเองนัน ้ มีอยู่ และอย่าไปดูหม่ิน
คนท่ียากจนกว่าเรา ควรช่วยเหลืออย่างเต็มความสามารถท่ีจะช่วยได้

อยากมีห้ือหมั่นก๊า อยากขึน
้ สวรรค์จัน๊ ฟ้ าห้ือฆ่าเจ้าเอาของ
ศัพท์ ก๊า หมายถึง ค้าขาย, จัน ๊ ฟ้ า หมายถึง สวรรค์
อยากร่ำาอยากรวยให้มีความขยันขันแข็งในกิจการงาน หรือ
ค้าขาย อยากขึน
้ สวรรค์ให้ฆ่ากิเลสตัณหาต่างๆ ท่ีมีอยู่ในตัว โดยการ
ประพฤติตนดีถูกต้องตามหลักศีลธรรม เม่ ือตายไปจะได้ไปในทางท่ีดี
ทัง้นีผ
้ ู้จัดทำาได้นำาเน้ือหามาจาก เอกสารวิชาการร่วมสมโภช ๗๐๐ ปี
เชียงใหม่ ชุดภูมิปัญญาล้านนา ลำาดับท่ี ๒ เร่ ือง "กำาบ่าเก่าเล่าไว้"
ของ สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จึงขอขอบพระคุณมา
ณ โอกาสอันดีนีด ้ ้วย เพ่ ือเป็ นการเผยแพร่วัฒนธรรมล้านนาอันล้ำาค่า
ของชาวเชียงใหม่ท่ีสืบทอดมาช้านานให้เป็ นท่ีประจักษ์แก่สายตาชาว
โลก

ทางผู้จัดทำา หวังเป็ นอย่างย่ิงว่า โฮมเพจเร่ ืองนี จ้ะมีประโยชน์


แก่ท่านผู้ท่ีสนใจศึกษาในแนวทางคติชนวิทยาเป็ นอย่างดี สุภาษิต
เหล่านีแ ้ ม้จะสะท้อนให้เห็นถึงความเช่ ือ ระบบความคิด และวิถีชีวิต
ของคนล้านนา ในอดีต แต่บางบทก็ยังคงทันสมัย ใช้ได้ดีในยุค
ปั จจุบัน.

You might also like