You are on page 1of 35

หลักทั่วไปเกี่ยวกับการลงทุน

1
วัตถุประสงค์ของบทนี้
เพื่อให้ทราบแนวคิดของการลงทุนและสามารถอธิบายอิทธิพลของ
รูปแบบการบริโภคของปัจเจกบุคคลที่มีต่อการตัดสินใจลงทุน
เพื่อให้สามารถระบุองค์ประกอบของอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน
และสามารถระบุผลของความเสี่ยงที่มีต่อการตัดสินใจลงทุน
เพื่อให้ทราบภาพรวมของกระบวนการบริหารการลงทุน
ทั้งด้านภาพรวมของการวิเคราะห์หลักทรัพย์และการบริการกลุ่มหลักทรั
พย์

เพื่อให้สามารถแยกแยะแนวคิดในการวิเคราะห์หลักทรัพย์แต่ละแนวคิด
ได้ 2
การเก็บเงินออมเพื่อการลงทุน
อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงและอัตราดอกเบี้ยที่เป็นตัวเงิน
การบริโภค การให้กู้ และการกู้ยืม
ความหมายของการลงทุน
จุดมุ่งหมายในการลงทุน

3
ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราผลตอบแทนและความเสีย่ ง
อัตราผลตอบแทนที่คาดไว้
สัญญาณซื้อขายล่วงหน้า/ อนาคต
สัญญาณสิทธิ (ออปชั่น)
วอร์แรนท์
หุ้นสามัญ
ตราสารหนี้

Rf

ความเสี่ยง

4
กระบวนการบริหารการลงทุน

1. กำาหนดวัตถุประสงค์ของการลงทุน

2. จัดทำานโยบายการลงทุน

3. เลือกกลยุทธ์บริหารกลุม่ หลักทรัพย์

4. วิเคราะห์และเลือกหลักทรัพย์

5. วัดและประเมินผลการดำาเนินงาน

5
แนวความคิดในการวิเคราะห์หลักทรัพย์
มีอยู่สองแนวคิด คือ
การวิเคราะห์ปัจจัยพืน้ ฐาน ( Fundamental analysis )
การวิเคราะห์ทางเทคนิค ( Techical analysis )

6
การวิเคราะห์ปัจจัยพืน้ ฐาน
การวิเคราะห์หลักทรัพย์ตามแนวคิดนี้
พยายามหามูลค่าหลักทรัพย์ที่เหมาะสมที่ผู้ลงทุนควรจ่ายเงินลงทุนหรือที่เรี
ยกว่า “มูลค่าที่แท้จริง”
( intrinsic value ) หรือ “มูลค่าตามทฤษฎี” (theoretical value )
เพือ่ นำาไปเปรียบเทียบกับราคาหลักทรัพย์ที่ซื้อขายในตลาด หรือ
“ราคาตลาด”(market price ) เพื่อหาหลักทรัพย์ที่มีราคาไม่เหมาะสม
( mispriced ) ถ้าราคาตลาดตำ่ากว่ามูลค่าที่แท้จริง ( underpriecd )
ผู้ลงทุนจะตัดสินใจซื้อ ถ้าราคาตลาดสูงกว่ามูลค่าที่แท้จริง ( overpriced)
ผู้ลงทุนจะตัดสินใจไม่ซื้อหรือตัดสินใจขาย

7
จะเห็นได้ว่ามูลค่าที่แท้จริงของหลักทรัพย์ตามแนวคิดมูลค่า
ปัจจุบนั ของกระแสเงินสด ขึน้ กับตัวแปรที่สำาคัญ ดังนี้
กระแสเงินสดที่ผู้ลงทุนจะได้รับ ตลอดช่วงระยะเวลาลงทุน
อัตราคิดลด ( capitalization rate)
ที่ใช้เพื่อคำานวณค่าของกระแสเงินสดรับให้เป็นมูลค่าปัจจุบัน
ซึ่งตามหลักการแล้วก็คือ
อัตราผลตอบแทนขึ้นตำ่าที่ผู้ลงทุนต้องการนัน่ เอง

8
การวิเคราะห์ทางเทคนิค
การวิเคราะห์หลักทรัพย์ทางเทคนิค (technical analysis)
เป็นการวิเคราะห์หลักทรัพย์โดยการศึกษารูปแบบราคาและปริม
าณการซื้อขายหุน้ ในอดีต โดยใช้แผนภูมิแบบต่างๆ
ช่วยในการวิเคราะห์ ทั้งนี้นักวิเคราะห์ทางเทคนิคเชื่อว่า
ราคาหุ้นจะเคลื่อนไหวอย่างเป็นรูปแบบ (pattern)
หากสามารถศึกษาได้ว่ารูปแบบนั้นจะมีการเปลี่ยนแปลงแนวโน้
ม (trend) ไปในทิศทางใด
ก็จะสามารถหาสัญญาณซื้อและสัญญาขายหลักทรัพย์ได้
9
ตราสารทางการเงิน

10
ทางเลือกลงทุน
สามารถจำาแนกทางเลือกลงทุนเป็น 7 ประเภทดังนี้
ตราสารระยะสั้นเปลีย่ นมือไม่ได้ (nonmarketable financial assets )
เป็นรูปแบบทางเลือกในการออมเงินระยะสัน้
มีความสะดวกและง่ายในการฝากหรือถอนเงินออม
มีความปลอดภัยสูงและให้อัตราผลตอบแทนตำ่า เช่น การ
ฝากเงินกันธนาคารพาณิชย์ ธนาคารออมสิน สหกรณ์ออมทรัพย์
หรือ ธนาคารเฉพาะกิจต่างๆ
ตราสารระยะสั้นเปลีย่ นมือได้ (money market securities)
เป็นตราสารที่มีอายุไถ่ถอนไม่เกินหนึ่งปี สามารถเปลี่ยนมือได้ เช่น
ตั๋วเงินคลัง ตั๋วสัญญาใช้เงิน ตราสารพาณิชย์ ตั๋วแลกเงิน เป็นต้น
11
3. ตราสารระยาวที่ให้รายได้ประจำา (fixed-income securities) หมายถึง
ตราสารหรือหลักทรัพย์ที่ให้ผลประโยชน์แก่ผู้ลงทุนอย่างสมำ่าเสมอเป็นง
วดๆ เป็นจำานวนที่เท่าๆ กัน
จนหลักทรัพย์นั้นครบกำาหนดไถ่ถอนได้แก่ตราสารแห่งนี้ระยะยาวที่ออ
กโดยรัฐบาล รัฐวิสาหกิจ และบริษัทต่างๆ
4. ตราสารประเภททุน ( equity securities )
ได้แก่หุ้นสามัญและหุ้นบุริมสิทธิ
หุ้นสามัญเป็นตราสารแสดงความเป็นเจ้าของกิจการ
มีสทิ ธิในรายได้ของบริษัทโดยการรับเงินปันผลตามที่ประกาศจ่าย
การลงทุนตอบแทนไม่แน่นอน
เนื่องจากเงินปันผลจ่ายไม่ใช่ภาระผูกพันของผู้ออกหุ้นสามัญ
แต่โดยปกติแล้วผู้ลงทุนที่ซื้อหุ้นสามัญย่อมคาดหวังว่าบริษัทผูอ้ อกหุ้นส
12
อื่นๆ อีก ได้แก่ กำาไรจากการขายหุ้น สิทธิในการซื้อหุ้นใหม่
และในกรณีที่ลงทุนในบริษัทนั้นเป็นสัดส่วนสูง
ผูล้ งทุนยังหวังสิทธิในการมีสว่ นในการบริหารกิจการโดยการออกเสียงเ
ลือกกรรมการบริหารบริษัท
5. หน่วยลงทุนของกองทุนรวม (unit trust )
บริษัทจัดการกองทุนระดมเงินโดยการขายหน่วยลงทุนแล้วนำาเงินที่ได้ไ
ปลงทุนในหลักทรัพย์ต่างๆ ตามที่กำาหนด
หน่วยลงทุนมีทั้งประเภทที่ขายหน่วยลงทุนคืนให้กองทุนรวม
ไม่ได้หากยังไม่สนิ้ สุดโครงการ
และประเภทที่ขายคืนให้กองทุนรวมได้ตลอดก่อนสิ้นสุดโครงการ
ผลตอบแทนจากการที่ซอื้ หน่วยลงทุนได้แก่ เงินปันผลและกำาไร
(ขาดทุน) จากการซื้อขายหน่วยลงทุนนั้น
13
รวมทั้งตราสารอนุพนั ธ์ที่เชื่อมโยงกับหลักทรัพย์ประเภททุน ( equity-
linked derivative ) ซึง่ ได้แก่
สัญญาจองซื้อหุ้นในระยะยาวหรือวอร์แรนท์ (warrant )
และหลักทรัพย์แปลงสภาพ (convertible security )

14
ตลาดหลักทรัพย์

15
ตลาดการเงิน
เราอาจจำาแนกประเภทของตลาดการเงิน
ตามอายุของตราสารหรืออายุของสัญญาที่เป็นเครื่องมือในการโยกย้ายเงิ
นทุนได้เป็น 2 ตลาดคือ ตลาดเงิน (money market ) และตลาดทุน
(capital market )
ตลาดการเงิน
ตลาดเงินเป็นแหล่งกลางในการระดมเงินและจัดสรรเงินระยะสั้น
โดยการระดมเงินออมจากผู้มีเงินเหลือใช้ชั่วคราว
และให้กู้ยืมแก่ผู้มีความจำาเป็นต้องใช้เงินระยะสั้น
ตลาดเงินบางประเภทเป็นตลาดเงินที่มีการซือ้ ขายเอกสารสิทธิทางการเงิ
น ที่มีสภาพคล้ายเงินสดและสามารถเปลี่ยนเป็นเงินสดได้ง่าย 16
ตลาดทุน
ตลาดทุนเป็นแหล่งกลางในการระดมเงินทุนและจัดสรรเงินทุนระยะย
าว ( เช่น มากกว่า 1 ปี )
เงินทุนเหล่านี้มักใช้ไปเพื่อการลงทุนในทรัพย์สนิ ถาวร

ตลาดหลักทรัพย์
ประเภทของตลาดหลักทรัพย์
 ตลาดแรกหรือตลาดหลักทรัพย์ออกใหม่
 ตลาดรองหรือตลาดค้าหลักทรัพย์
17
ตลาดการเงินจำาแนกประเภทเป็นตลาดแรกและตลาดรอง
ตลาดแรก
ตลาดเงิน
ตลาดการเงิน
คลาดรอง
ตลาดทุน

ตลาดแรก ตลาดรอง

ขายในวงแคบ เสนอขายต่อประชาชน
ตลาดรองเป็นทางการ
*< 20 ล้านบาท <35 ราย •เสนอขายต่อประชาชนครั้งแรก
•ขายให้สถาบัน •เพิม่ ทุนทั่วไป นอกตลาด (OTC)
•รัฐวิสาหกิจออก
•หลักทรัพย์รัฐบาล
•ผูถ้ อื หุน้ เดิม 18
ตลาดแรกหรือตลาดทรัพย์ออกใหม่
เสนอขายหุ้นแก่ผู้ถือหุ้นเดิม (right offering )
เสนอขายหลักทรัพย์ด้วยวิธเี ฉพาะเจาะจง (private placement )
เสนอขายหลักทรัพย์แก่ประชาชน (public offering )

การเสนอขายหลักทรัพย์แบบเฉพาะเจาะจง

19
Investment Strategy - Training 2003

วิเคราะห์ปัจจัยพ้ืนฐาน
(Fundamental Analysis)
Price level Price Movement
Overvalue : Sell Intrinsic Value

Overvalue : Sell

Undervalue : Buy

Undervalue : Buy
Time
20
การลงทุน
Investment

21
ประเภทของหลักทรัพย์

22
หุ้นสามัญ
(Common Stock)
* วัตถุประสงค์ เพ่ ือระดมเงินทุนจากประชาชน
* ผูถ
้ อ
ื ตราสารมีส่วนร่วมเป็ นเจ้าของกิจการ
* สิทธิในการลงคะแนนเสียง ออกเสียงตามสัดส่วนของหุน ้ ท่ีถอ
ื อยู่
และ ร่วมตัดสินใจในปั ญหาสำาคัญในท่ป ี ระชุม อาทิเช่น
- การเพ่ม ิ ทุน
- การจ่ายปั นผล
- ควบรวมกิจการ
* ผลตอบแทน คือ เงินปั นผล และ กำาไร/ขาดทุน จากราคาหุ้น

23
หุ้นบุริมสิทธิ ์
(Preferred Stock)
* วัตถุประสงค์ เพ่ อ
ื ระดมเงินทุนจากประชาชน
* ผูถ
้ ือตราสารมีส่วนร่วมเป็ นเจ้าของกิจการ
* ข้อแตกต่างกับหุน ้ สามัญ ก็คือ ผูถ
้ อ
ื ตราสารไม่มีสท
ิ ธิออกเสียงในท่ปี ร
* สิทธิพเิ ศษ คือ ได้รับสิทธิในการชำาระคืนเงินทุนก่อนผู้ถอื หุ้นสามัญ
ในกรณีท่ีบริษัทเลิกกิจการ
* ผลตอบแทน คือ เงินปั นผลในอัตราท่ีแน่นอน (Fixed) และ กำาไร/ขาดทุน

24
หุ้นกู้
(Debenture)
วัตถุประสงค์ เพ่ ือระดมเงินทุนจากประชาชน ด้วยการกู้เงินในระยะยาว ในระยะยา
ผูถ
้ อื ตราสารมีส่วนร่วมเป็ นเจ้าหนีข้องกิจการ
ผูถ้ อื ตราสารไม่มีสท ิ ธิออกเสียงในท่ีประชุม
สิทธิพเิ ศษ คือ ได้รับสิทธิในการชำาระคืนเงินทุนก่อนผู้ถอ ื หุ้นสามัญ
ในกรณีท่บ ี ริษทั เลิกกิจการ
ผลตอบแทน คือ ดอกเบีย ้ ให้แก่ผถ
ู้ อ
ื ตามระยะเวลา และตามอัตราท่ก ี ำา
โดยท่ีผถ ู้ ือหุน้ จะได้เงินต้นคืนครบถ้วน เม่ ือสิน
้ สุดอายุตามระบุ

25
หุ้นกู้แปลงสภาพ
(Convertible Debenture)
* เหมือนหุน ้ กู้ แต่เม่ อ ื แปลงสภาพจะเหมือนหุ้นสามัญ
* สิทธิพเิ ศษ คือ
1. กรณีท่ย ี ังเป็ นหุ้นกู้แปลงสภาพ จะได้รบ ั สิทธิในการชำาระคืน
เงินทุนก่อนผูถ ้ ือหุน
้ สามัญ ในกรณีท่บี ริษทั เลิกกิจการ
2. กรณีท่ส ี ิน
้ สุดอายุตามระบุ จะได้รบ ั สิทธิในการแปลงสภาพเป
หุ้นสามัญ
* ผลตอบแทน คือ
1. กรณีท่ย ี ังเป็ นหุ้นกู้แปลงสภาพ ผลตอบแทน ก็คอ ื ดอกเบีย ้ ให
ผู้ถอ ื ตามระยะเวลา และตามอัตราท่ีกำาหนด
2. กรณีท่แ ี ปลงเป็ นหุน ้ สามัญ ผลตอบแทน ก็คือ เงินปั นผล แล
กำาไร/ขาดทุนจากราคาหุ้น
26
ใบสำาคัญแสดงสิทธิ
(Warrant)
* เป็ นตราสารท่รี ะบุว่าผู้ถอ
ื ครองจะได้รบั สิทธิจองซ้ือหุน
้ สามัญ หุน ้ บุรมิ
หุ้นกู้ หรือตราสารอนุพน ั ธ์ ในราคาท่ก
ี ำาหนด และระยะเวลาท่ก ี ำาหน
* ผูอ
้ อกตราสาร คือ บริษท ั มหาชนจำากัด ท่ีเป็ นเจ้าของ Underlying Assets
* ผลตอบแทน คือ กำาไร/ขาดทุนจากราคาหุ้น

ประเภทของใบสำาคัญแสดงสิทธิ เช่น
* ใบสำาคัญแสดงสิทธิระยะสัน้ (Short-term Warrant) : อายุจะไม่เกิน 2 เดือน
* ใบสำาคัญแสดงสิทธิอนุพันธ์ (Derivatives Warrant) :
ผู้ออกตราสาร จะไม่ใช่บริษท
ั มหาชนจำากัด ท่ีเป็ นเจ้าของ Underlying A

27
หน่วยลงทุน
(Unit Trust)
* วัตถุประสงค์ เพ่ ือระดมเงินทุนจากประชาชนในอีกรูปแบบหน่ ึง
* ตราสารท่ีออกโดยบริษท ั หลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม (บลจ.) จะอยู่ใน
รูปของ “หน่วยลงทุน”
* ข้อดี ก็คือ จะมีผู้บริหารมืออาชีพดูแลเงินลงทุนแทนคุณ มีการกระจาย
ความเส่ย ี งในการลงทุน และมีอำานาจต่อรองสูงกว่า
* ข้อเสีย ก็คอ ื ไม่มีความคล่องตัว รวมถึงความสามารถของผู้บริหารกอง
* ผลตอบแทน คือ เงินปั นผล และ กำาไร/ขาดทุน จากราคาหน่วยลงทุน

28
ประเภทของหุ้น

29
Blue-Chip Stock
เป็ นหุ้นท่ม
ี ีปัจจัยพ้ืนฐานดี กิจการท่ีมีช่ือเสียงมานาน เป็ นท่รี ู้จักของปร
ผลการดำาเนินงานมีอต ั ราการเจริญเติบโตดี ทิศทางเดียวกับเศรษฐกิจ
จ่ายเงินปั นผลทุกปี อย่างสม่ำาเสมอ

30
Growth Stock
ส่วนใหญ่กิจการมักจะอยู่ในช่วงก่อตัง้มาไม่นาน และเป็ นท่รี ู้จักของปร
หรือถ้าเป็ นกิจการท่ีก่อตัง้มานาน ก็มักจะอยู่ในอุตสาหกรรมท่ีมีแนว
ผลการดำาเนินงานมีอต ั ราการเจริญเติบโตท่ดี ีกว่าเศรษฐกิจเป็ นอย่างม
มักจะไม่คอ่ ยจ่ายเงินปั นผล หรือถ้าจ่ายเงินปั นผลก็จะน้อยมาก เน่ อื งจ
ต้องกันเงินไปขยายกิจการ

31
Defensive Stock
ผลการดำาเนินงานมีอต ั ราการเจริญเติบโตคงท่ี และไม่เคล่ อ ื นไหวตามภ
เศรษฐกิจมากนัก เน่ อ ื งจาก เป็ นกิจการท่ีเก่ียวข้องกับสินค้าจำาเป็ นแก
ครองชีพ
จ่ายเงินปั นผลทุกปี อย่างสม่ำาเสมอ และเป็ นอัตราค่อนข้างสูง

32
Cyclical Stock
* เป็ นกิจการท่ผ
ี ลกำาไรเปล่ียนแปลงตามวงจรอุปสงค์ และ อุปทาน เช่น
ธุรกิจวัสดุก่อสร้าง เย่ ือกระดาษ และเกษตร เป็ นต้น
* การจ่ายเงินปั นผลมักจะมีความไม่แน่นอน

33
Speculative Stock
เป็ นกิจการท่ผ
ี ลการดำาเนินงานไม่ค่อยดีนัก หรือผลการดำาเนินงานอาจ
ขาดทุน แต่มักจะมีข่าวเข้ามากระทบบ่อยๆ ทำาให้นักลงทุนเข้ามาเก็ง
การจ่ายเงินปั นผลมักจะมีความไม่แน่นอน หรือไม่มีการจ่ายเงินปั นผล

34
Turnaround Stock or Recovery Stock
* เป็ นกิจการท่ผ
ี ลการดำาเนินงานขาดทุน และมีการพลิกกลับขึ้นมาเป็ นก
ประกอบกับเร่ม ิ มีอัตราการเติบโตท่ีดีขึ้นอย่างชัดเจน
* ไม่มีความแน่นอน หรือไม่มีการจ่ายเงินปั นผล แต่จะมีแนวโน้ม หรือค
เป็ นไปได้ท่ค
ี ่อนข้างแน่นอนว่าจะจ่ายเงินปั นผลในอนาคต

35

You might also like