You are on page 1of 35

พระนครศรีอยุธยา

ราชธานีเกา อูข าวอูน้ํา เลิศล้ํากานทกวี คนดีศรีอยุธยา

๔๑๗ ปแหงการเปนราชธานีเกาแกของสยามประเทศ ประกอบดวย ๕ ราชวงศคือ ราชวงศอูทอง


ราชวงศสุพรรณภูมิ ราชวงศสุโขทัย ราชวงศปราสาททองและราชวงศบานพลูหลวง มีกษัตริยปกครองทั้งสิ้น ๓๓
พระองค โดยมีปฐมกษัตริยคือ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (พระเจาอูทอง) พระนครศรีอยุธยาจึงนับเปนราชธานีที่มีอายุ
ยาวนานที่สุดในประวัติศาสตรของชาติไทย ตลอดระยะเวลา ๔๑๗ ปที่กรุงศรีอยุธยาเปนราชธานีแหงราชอาณาจักร
ไทย มิไดเปนเพียงชวงแหงความเจริญสูงสุดของชนชาติไทยเทานั้น แตยังเปนการสรางสรรคอารยธรรมของหมูมวล
มนุษยชาติซึ่งเปนที่ประจักษแกนานาอารยประเทศอีกดวย แมวากรุงศรีอยุธยาจะถูกทําลายเสียหายจากสงครามกับ
ประเทศเพื่อนบานหรือจากการบุกรุกขุดคนของพวกเรากันเอง แตสิ่งที่ปรากฏใหเห็นในปจจุบันนี้ยังมีรองรอย
หลักฐานซึ่งแสดงอัจฉริยภาพและความสามารถอันยิ่งใหญของบรรพบุรุษแหงราชอาณาจักรผูอุทิศตนสรางสรรคความ
เจริญรุงเรืองทางศิลปวัฒนธรรม และความมั่งคั่งไวใหแกผืนแผนดินไทย หรือแมแตชาวโลกทั้งมวล จึงเปนที่นายินดี
วาองคการ ยูเนสโก โดยคณะกรรมการมรดกโลกไดมีมติรับนครประวัติศาสตร พระนครศรีอยุธยา ซึ่งมีอาณาเขต
ครอบคลุมอุทยานประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยา และเปนพื้นที่ที่ไดรับการจัดตั้งเปนอุทยานประวัติศาสตรมาตั้งแต
ปพ.ศ. ๒๕๑๙ ไวในบัญชีมรดกโลก เมื่อวันที่ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๓๔ ณ กรุงคารเทจ ประเทศตูนีเซีย พรอมกับอุทยาน
ประวัติศาสตรสุโขทัย-อุทยานประวัติศาสตรศรีสัชนาลัย-อุทยานประวัติศาสตรกําแพงเพชรโดยจะมีผลใหไดรับความ
คุมครองตามอนุสัญญาที่ประเทศตางๆไดทํารวมกัน จึงสมควรที่อนุชนรุนหลังจะไดไปศึกษาเยี่ยมชมเมืองหลวงเกา
ของเราแหงนี้
สถานที่ทองเที่ยวของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาสวนใหญเปนโบราณสถาน ไดแก วัด และพระราชวัง
ตางๆ พระราชวังในจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีอยู ๓ แหง คือ พระราชวังหลวง วังจันทรเกษมหรือวังหนา และวัง
หลัง นอกจากนี้ยังมีวังและตําหนักนอกอําเภอพระนครศรีอยุธยาซึ่งเปนที่สําหรับเสด็จประพาส ไดแก พระราชวังบาง
ปะอิน ในเขตอําเภอบางปะอิน และตําหนักนครหลวง ในเขตอําเภอนครหลวง
ภูมิประเทศของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเปนที่ราบลุม มีแมน้ําสายใหญไหลผาน ๓ สาย คือ แมน้ํา
เจาพระยาไหลผานทางดานทิศตะวันตกและทิศใต แมน้ําปาสักไหลผานทางทิศตะวันออก และแมน้ําลพบุรี(ปจจุบัน
เปนคลองเมือง)ไหลผานทางดานทิศเหนือ แมน้ําสามสายนี้ไหลมาบรรจบกันโอบลอมรอบพื้นที่ของตัวเมือง
พระนครศรีอยุธยา ตัวเมืองจึงมีลักษณะเปนเกาะ เราจะเห็นบานเรือนปลูกเรียงรายหนาแนนตามสองขางฝงแมน้ํา
แสดงถึงวิถีชีวิตของผูคนที่ผูกพันอยูกับสายน้ํามายาวนาน
จังหวัดพระนครศรีอยุธยาอยูหางจากกรุงเทพฯประมาณ ๗๖ กิโลเมตร มีเนื้อที่ทั้งสิ้นประมาณ ๒,๕๕๖
ตารางกิโลเมตร แบงเขตการปกครองออกเปน ๑๖ อําเภอ ไดแก อําเภอพระนครศรีอยุธยา อําเภอนครหลวง อําเภอภาชี
อําเภอบานแพรก อําเภอบางซาย อําเภอบางไทร อําเภอลาดบัวหลวง อําเภอบางบาล อําเภอมหาราช อําเภอบางปะหัน
อําเภอเสนา อําเภออุทัย อําเภอบางปะอิน อําเภอผักไห อําเภอทาเรือ และอําเภอวังนอย

อาณาเขต
ทิศเหนือ ติดตอกับจังหวัดลพบุรี อางทอง และสระบุรี
ทิศใต ติดตอกับจังหวัดปทุมธานี และนนทบุรี
ทิศตะวันออก ติดตอกับจังหวัดสระบุรี
ทิศตะวันตก ติดตอกับจังหวัดสุพรรณบุรี
การเดินทาง
รถยนต จากกรุงเทพฯ สามารถเดินทางไปจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ไดหลายเสนทางดังนี้
๑. ใชทางหลวงหมายเลข ๑ (ถนนพหลโยธิน) ผานประตูน้ําพระอินทร แลวแยกเขาทางหลวงหมายเลข
๓๒ เลี้ยวซายไปตามทางหลวงหมายเลข ๓๐๙ เขาสูจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
๒. ใชทางหลวงหมายเลข ๓๐๔ (ถนนแจงวัฒนะ) หรือทางหลวงหมายเลข ๓๐๒ (ถนนงามวงศวาน)
เลี้ยวขวาเขาทางหลวงหมายเลข ๓๐๖ (ถนนติวานนท) แลวขามสะพานนนทบุรีหรือสะพานนวลฉวี ไปยังจังหวัด
ปทุมธานีตอดวยเสนทาง ปทุมธานี-สามโคก-เสนา (ทางหลวงหมายเลข ๓๑๑๑) เลี้ยวแยกขวาที่อําเภอเสนา เขาสูทาง
หลวงหมายเลข ๓๒๖๓ เขาสูจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
๓. ใชเสนทางกรุงเทพฯ-นนทบุรี-ปทุมธานี ทางหลวงหมายเลข ๓๐๖ ถึงทางแยกสะพานปทุมธานี เลี้ยว
เขาสูทางหลวงหมายเลข ๓๔๗ แลวไปแยกเขาทางหลวงหมายเลข ๓๓๐๙ ผานศูนยศิลปาชีพบางไทร อําเภอบางปะอิน
เขาสูจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
๔. ใชเสนทางดวนหมายเลข ๙ (ทางดวนศรีรัช) ผานนนทบุรี-ปทุมธานี ลงทางดวนเขาทางหลวง
หมายเลข ๑ ผานศูนยศิลปาชีพบางไทร เลี้ยวซายเขาทางหลวงหมายเลข ๓๔๖๙ ตามปายไปบางปะหัน ถึงสี่แยก
ไฟแดง (แยกวรเชษฐ) เลี้ยวขวาเขาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
รถโดยสารประจําทาง บริษัท ขนสง จํากัด มีบริการรถโดยสารปรับอากาศชั้น ๑ และชั้น ๒ ไปจังหวัด
พระนครศรีอยุธยาทุกวัน ตั้งแตเวลา ๐๔.๓๐ น.-๑๙.๓๐ น. รถออกทุก ๆ ๑๕ นาที วันละหลายเที่ยว ออกจากสถานี
ขนสงหมอชิต ถนนกําแพงเพชร ๒ ติดตอสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ โทร. ๐ ๒๙๓๖ ๒๘๕๒-๖๖ สถานีขนสง
อยุธยา โทร.๐ ๓๕๓๓ ๕๓๐๔ หรือ www.transport.co.th
รถไฟ การเดินทางไปจังหวัดพระนครศรีอยุธยาสามารถใชบริการรถไฟโดยสารที่มีปลายทางสูภาคเหนือ
และภาคตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งมีบริการทุกวัน ขบวนรถไฟจะผานจังหวัดพระนครศรีอยุธยาในเขตอําเภอบางปะอิน
อําเภอพระนครศรีอยุธยาและอําเภอภาชี แลวรถไฟจะแยกไปภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่สถานีชุมทาง
บานภาชี นอกจากนี้การรถไฟฯยังจัดขบวนรถจักรไอน้ําเดินทางระหวางกรุงเทพฯ-พระนครศรีอยุธยาในโอกาสพิเศษ
ปละ ๓ ขบวน คือ วันที่ ๒๖ มีนาคม (วันสถาปนาการรถไฟฯและเปนวันที่ระลึกถึงการเปดทางรถไฟสายแรกวิ่ง
ระหวางกรุงเทพฯ-นครราชสีมา ในป พ.ศ. ๒๔๓๓) วันที่ ๒๓ ตุลาคม (วันปยมหาราช เพื่อรําลึกถึงพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ผูทรงใหกําเนิดกิจการรถไฟไทย) และวันที่ ๕ ธันวาคม (วันเฉลิมพระชนมพรรษา
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช) ติดตอสอบรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่การรถไฟแหงประเทศไทยโทร. ๐
๒๒๒๓ ๗๐๑๐, ๐ ๒๒๒๓ ๗๐๒๐, ๐ ๒๒๐ ๔๓๓๔, ๐ ๒๒๒๐ ๔๔๔๔, ๑๖๙๐ สถานีรถไฟอยุธยา โทร. ๐ ๓๕๒๔
๑๕๒๐ หรือ www.railway.co.th
เรือ การเดินทางไปจังหวัดพระนครศรีอยุธยาโดยทางน้ําเปนที่นิยมของชาวตางประเทศเพราะนอกจากจะ
ไดชมทัศนียภาพและชีวิตความเปนอยูของประชาชนริมสองฝงแมน้ําเจาพระยาแลว ยังเปนการยอนใหเห็นถึง
ประวัติศาสตรสมัยที่กรุงศรีอยุธยาเปนราชธานีและมีการติดตอคาขายกับชาวตางชาติทางเรือบนสายน้ําเจาพระยาแหง
นี้

บริการเรือนําเที่ยวไปจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีดังนี้
บริษัท เรือดวนเจาพระยา จํากัด จัดรายการนําเที่ยวสูพระราชวังบางปะอิน วัดนิเวศธรรมประวัติ ผานวัด
ไผลอมและแวะเที่ยวชมศูนยศิลปาชีพบางไทร ทุกวันอาทิตย เรือออกจากทามหาราชเวลา ๐๘.๐๐ น. และกลับถึง
กรุงเทพฯเวลา ๑๘.๐๐ น. อัตราคาโดยสารคนละ ๓๙๐ บาททั้งชาวไทยและชาวตางประเทศ สอบถามรายละเอียด
เพิ่มเติมไดที่ โทร. ๐ ๒๒๒๒ ๕๓๓๐, ๐ ๒๖๒๓ ๖๐๐๑–๓

2
เรือมโนราห ๒ ออกจากทาโรงแรมแมริออท รีสอรทแอนดสปา ใชเวลา ๓ วัน ๒ คืน แวะเที่ยวชม
ตั้งแตกรุงเทพฯ วัดอรุณฯ พิพิธภัณฑเรือ ผานเกาะเกร็ด นนทบุรี วัดปทุมคงคา แวะวัดตางๆ ใน
พระนครศรีอยุธยา บางปะอิน สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมโทร. ๐ ๒๔๗๖ ๐๐๒๑-๒
เรือมิตรเจาพระยา เรือออกจากทาชางเวลา ๐๘.๐๐ น. ทุกวันอาทิตย แวะศูนยศิลปาชีพบางไทร บางปะ
อิน ขากลับแวะวัดเฉลิมพระเกียรติ และกลับถึงกรุงเทพฯเวลา ๑๘.๐๐ น. อัตราคาโดยสารผูใหญ ๓๙๐ บาท เด็ก ๓๐๐
บาท สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ โทร ๐ ๒๖๒๓ ๖๑๖๙, ๐ ๒๒๒๕ ๖๑๗๙
เรือเมฆขลา มีบริการนําเที่ยวสูพระราชวังบางปะอินและจังหวัดพระนครศรีอยุธยา แบบ ๒ วัน ๑ คืน
พรอมอาหารและเครื่องดื่ม โดยเรือจะออกจากทาโรงแรมแมน้ํา เวลา ๑๔.๓๐ น. และเดินทางกลับโดยรถยนต (หรือ
จะเลือกเดินทางไปโดยรถยนตออกเวลา ๐๗.๐๐ น.และเดินทางกลับโดยทางเรือ) อัตราคาโดยสาร ๔,๕๐๐-๗,๖๐๐
บาท สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ โทร. ๐ ๒๒๕๖ ๖๖๖๖
เรือริเวอรซันครุยส บริการเรือนําเที่ยวไปเชา-เย็นกลับ พรอมอาหาร สูพระราชวังบางปะอินและนําเที่ยว
ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเชน วัดมหาธาตุ วัดโลกยสุธาราม รถออกจากศูนยการคาริเวอรซิตี้เวลา ๐๘.๐๐ น.และ
เดินทางกลับโดยทางเรือเวลา ๑๖.๓๐ น. อัตราคาโดยสารคนละ ๑,๘๐๐ บาททั้งชาวไทยและชาวตางประเทศ สอบถาม
รายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ โทร. ๐ ๒๒๖๖ ๙๑๒๕-๖, ๐ ๒๒๖๖ ๙๓๑๖
เรือฮอไรซันครุยส มีบริการเรือนําเที่ยวทุกวัน สูพระราชวังบางปะอิน นําเที่ยวพระนครศรีอยุธยา เชน
วัดใหญชัยมงคล วัดมหาธาตุ วัดพระศรีสรรเพชญ พรอมอาหาร รถออกจากลานจอดรถใกลโรงแรมแชงกรีลาเวลา
๐๘.๐๐ น. เดินทางกลับโดยทางเรือ อัตราคาโดยสารคนละ ๑,๖๐๐ บาททั้งชาวไทยและชาวตางประเทศ สอบถาม
รายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ โทร. ๐ ๒๒๓๖ ๗๗๗๗ ตอ ๖๒๐๔-๕, ๐ ๒๒๓๖ ๙๙๕๒
เวิลดทราเวิล เซอรวิส จัดรายการนําเที่ยวสูพระราชวังบางปะอินและจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเปน
ประจําทุกวัน พรอมอาหารบุฟเฟต รถออกจากทาริเวอรซิตี้เวลาประมาณ ๐๗.๓๐ น.กลับถึงเวลา ๑๖.๓๐ น. เดินทาง
กลับทางเรือ อัตราคาบริการคนละ ๑,๖๐๐ บาท สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ โทร. ๐ ๒๒๓๔ ๔๘๗๕

ระยะทางจากอําเภอเมืองพระนครศรีอยุธยาไปยังอําเภอตางๆ
บางบาล ๑๐ กิโลเมตร บางปะหัน ๑๓ กิโลเมตร
อุทัย ๑๕ กิโลเมตร บางปะอิน ๑๗ กิโลเมตร
นครหลวง ๒๐ กิโลเมตร วังนอย ๒๐ กิโลเมตร
เสนา ๒๐ กิโลเมตร มหาราช ๒๕ กิโลเมตร
ผักไห ๒๙ กิโลเมตร บางซาย ๓๔ กิโลเมตร
ภาชี ๒๕ กิโลเมตร บางไทร ๔๕ กิโลเมตร
บานแพรก ๕๓ กิโลเมตร ทาเรือ ๖๐ กิโลเมตร
ลาดบัวหลวง ๖๕ กิโลเมตร

ระยะทางจากจังหวัดพระนครศรีอยุธยาไปยังจังหวัดใกลเคียง
อางทอง ๓๑ กิโลเมตร
สุพรรณบุรี ๕๓ กิโลเมตร
สระบุรี ๖๓ กิโลเมตร
สิงหบุรี ๗๑ กิโลเมตร

3
สถานที่นาสนใจ
อําเภอพระนครศรีอยุธยา
ศูนยทองเที่ยวอยุธยา (ATC) อยูบริเวณอาคารศาลากลางจังหวัดพระนครศรีอยุธยาหลังเกา จัดตั้งขึ้นตาม
แผนแมบทการอนุรักษพัฒนาและฟนฟูนครประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยา (กรมศิลปากร) และการทองเที่ยวแหง
ประเทศไทย ไดปรับปรุงศาลากลางเกาของจังหวัดนครศรีอยุธยา เพื่อใชเปนศูนยบริการขอมูลวิชาการดานการ
ทองเที่ยว โดยภายนอกยังคงรูปแบบเดิมไว ซึ่งหนาอาคารยังเปนรูปปนวีรกษัตริยและวีรกษัตรี สําคัญสมัยอยุธยา ๖
พระองค คือ สมเด็จพระเจาอูทอง สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ สมเด็จพระสุริโยทัย สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
สมเด็จพระนารายณมหาราช และสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช
ชั้นที่ ๑ ดานหนาปกขวา เปนศูนยบริการนักทองเที่ยวของการทองเที่ยวแหงประเทศไทย (ททท.) ใหบริการ
ขอมูลขาวสารดานการทองเที่ยว ในสวนของศูนยบริการนักทองเที่ยว เปดใหบริการทุกวันไมเวนวันหยุด ตั้งแตเวลา
๐๘.๓๐–๑๖.๓๐ น. สอบถามขอมูลเพิ่มเติมโทร ๐ ๓๕๓๒ ๒๗๓๐-๑
ชั้นที่ ๒ เปนหองนิทรรศการดานการทองเที่ยวของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยนําเสนอผานระบบ
เทคโนโลยีอันทันสมัย อาทิ เชน Computer Touch Screen / Ghost Box โดยแบงเปน ๕ สวนคือ สวนที่ ๑ เปนการ
นําเสนอเรื่องราวซึ่งแสดงถึงความเจริญรุงเรืองของอารยธรรม สวนที่ ๒ เปนการนําเสนอสถานที่ทองเที่ยวภายใน
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สวนที่๓ เปนสถาปตยกรรมที่สรางขึ้นตามความเชื่อทางศาสนาเรื่องไตรภูมิและจักรวาล
วิทยา สวนที่ ๔ เปนการแนะนําวิถีชีวิตความเปนอยูของคนอยุธยา สวนที่ ๕ สรุปการชมนิทรรศการดวยการชม
วิดีทัศน ชุดชีวิตชีวานครประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยา ฉายวิดีทัศน เปดทุกวันเวนวันพุธ เวลา ๐๘.๓๐–๑๖.๓๐ น.
ชั้นที่ ๓ สถานที่จัดแสดง “หอศิลปรวมสมัยอโยธยา” กอตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค เพื่อเปนสื่อกลางสําหรับ
การแสดงออก การแลกเปลี่ยนทางความคิด วิถีชีวิตระหวางศิลปน นักเรียน นักศึกษา นักวิชาการ นักทองเที่ยว
ประชาชนทั่วไปที่มีความสนใจตอการแสดงออกทางดานความคิดสรางสรรคทั้งในดานศิลปวัฒนธรรม ศิลปะรวม
สมัย และภูมิปญญาแหงทองถิ่น รวมถึงเพื่อเปนการสงเสริมการทองเที่ยวในเชิงศิลปะวัฒนธรรมของจังหวัด
พระนครศรีอยุธยา และทองถิ่นเพื่อใหพัฒนาสูระดับสากลพื้นที่ภายใน “หอศิลปรวมสมัยอโยธยา” แบงออกเปนหอง
นิทรรศการรวมสมัย หองนิทรรศการศิลปะหมุนเวียน นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมสงเสริมภูมิปญญาทองถิ่นกิจกรรมศิลปะ
เพื่อการพัฒนาศักยภาพดานการเรียนรูของเยาวชน การเปดอบรมศิลปะเด็กทั้งระยะสั้นและระยะยาว เปนตน “หอ
ศิลปรวมสมัยอโยธยา” เปดใหเขาชม วันพฤหัสบดี-วันอังคาร (หยุดทําการวันพุธ) ตั้งแตเวลา ๐๙.๐๐-๑๗.๐๐ น.
สามารถเขาชมไดโดยไมตองเสียคาใชจาย สอบถามรายละเอียดไดที่ ๐ ๓๕๒๑ ๐๒๒๕
ศูนยศึกษาประวัติศาสตรอยุธยา จัดตั้งขึ้นตามโครงการที่นักวิชาการไทยและนักวิชาการญี่ปุนปรับขยาย
มาจากขอเสนอเดิมของสมาคมไทย-ญี่ปุนและจังหวัดพระนครศรีอยุธยาซึ่งเคยเสนอปรับปรุงบริเวณที่เคยเปนหมูบาน
ญี่ปุนใหจัดสรางเปนพิพิธภัณฑหมูบานญี่ปุน มาเปนการเสนอใหจัดตั้งเปนศูนยศึกษาประวัติศาสตรอยุธยาซึ่งจะทํา
หนาที่เปนสถาบันวิจัยและพิพิธภัณฑสถานเกี่ยวกับราชอาณาจักรอยุธยาโดยรวม และไดรับงบประมาณชวยเหลือแบบ
ใหเปลาจากรัฐบาลญี่ปุนเปนเงิน ๙๙๙ ลานเยน (๑๗๐ ลานบาท) เพื่อเปนการเฉลิมพระเกียรติในพระบรมราชวโรกาสที่
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ ๖๐ พรรษา และเพื่อเปนที่ระลึกในโอกาสที่มิตรภาพ
ระหวางประเทศญี่ปุนกับราชอาณาจักรไทยไดสถาพรยืนนานมาครบ ๑๐๐ ป
ศูนยศึกษาประวัติศาสตรอยุธยาแหงนี้แบงออกเปน ๒ สวนคือ สวนอาคารหลัก ตั้งอยูที่ถนนโรจนะ ใกล
กับมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา เปนอาคาร ๒ ชั้น มีหองจัดแสดงพิพิธภัณฑอยูชั้นบน และ อีกสวนคือสวน
อาคารผนวก ตั้งอยูที่ตําบลเกาะเรียนในบริเวณหมูบานญี่ปุน พิพิธภัณฑของศูนยแหงนี้มีลักษณะพิเศษแตกตางจาก
พิพิธภัณฑอื่นคือ การพยายามสรางภาพชีวิต สังคม วัฒนธรรมในอดีตใหกลับมามีชีวิตขึ้นใหมดวยขอมูลการวิจัย
(Researched based Reconstruction) โดยการนําเทคโนโลยีของการจัดพิพิธภัณฑสมัยใหมมาใชจัดแสดงนิทรรศการซึ่ง
จะทําใหผูชมสามารถเขาใจชีวิตในอดีตไดงาย การจัดแสดงมีทั้งสิ้น ๕ หัวขอ คือ อยุธยาในฐานะราชธานี อยุธยาใน
4
ฐานะเมืองทา อยุธยาในฐานะของศูนยกลางอํานาจทางการเมืองและการปกครอง ความสัมพันธของอยุธยากับ
นานาชาติและชีวิตชาวบานไทยสมัยกอน ทั้งนี้นิทรรศการทุกอยางที่นํามาแสดงในศูนยไดรับการตรวจสอบขอมูลทาง
ประวัติศาสตรอยางละเอียดจากคณะอนุกรรมการดานวิชาการของคณะกรรมการอํานวยการมาแลว ศูนยแหงนี้เปดทํา
การทุกวัน วันจันทร-ศุกรและวันหยุดนักขัตฤกษ เวลา ๐๙.๐๐-๑๖.๓๐ น. วันเสาร-อาทิตย เวลา ๐๙.๐๐-๑๗.๐๐ น.
อัตราคาเขาชมสําหรับเด็ก นักเรียนและนักศึกษา ในเครื่องแบบ ๕ บาท ประชาชนทั่วไป ๒๐ บาท นักเรียนตางชาติ
๕๐ บาท ชาวตางชาติ ๑๐๐ บาท สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม โทร. ๐ ๓๕๒๔ ๕๑๒๓ นอกจากนี้ดานหลังศูนย
ประดิษฐานพระราชานุสรณพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว มีอาคารทองฟาจําลอง เปดใหเขาชมวันอังคาร-
อาทิตย เวลา ๐๘.๐๐-๑๖.๓๐ น. มีบรรยายวันละ ๒ รอบ ๑๑.๐๐ น.และ ๑๔.๐๐ น. คาเขาชม ผูใหญ ๒๐ บาท เด็ก ๑๐
บาท สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมโทร ๐ ๓๕๓๒ ๒๐๗๖-๙ ตอ ๕๐๑๑
หมูบานญี่ปุน ตั้งอยูที่ตําบลเกาะเรียน เมื่อปลายคริสตศตวรรษที่ ๑๖ ชาวตางประเทศเขามาคาขายใน
กรุงศรีอยุธยามีจํานวนมากขึ้น ทางการญี่ปุนไดอนุญาตใหชาวญี่ปุนเดินเรือออกไปคาขายกับชาวตางชาติในบรรดา
พวกที่ไปคาขายมีพวกหนึ่งเดินทางมายังกรุงศรีอยุธยา พระเจาแผนดินไทยมีพระบรมราชานุญาตใหชาวญี่ปุน มาตั้ง
หลักแหลงในกรุงศรีอยุธยารอบนอกเกาะเมืองเหมือนชาติอื่น ๆ นับตั้งแตนั้นมาก็มีชาวญี่ปุนเขามาอาศัยอยูในอยุธยา
มากขึ้น โดยมีหัวหนาปกครองในกลุมตน หัวหนาชาวญี่ปุนในขณะนั้นคือ นากามาซา ยามาดา เปนผูมีอํานาจและ
เปนที่โปรดปรานของสมเด็จพระเจาทรงธรรม จนไดรับแตงตั้งเปนออกญาเสนาภิมุขรับราชการตอมาไดรับแตงตั้งเปน
เจาเมืองนครศรีธรรมราชจนสิ้นชีวิต ปจจุบันสมาคมไทย-ญี่ปุนไดสรางหุนจําลอง นากามาซา ยามาดา และจารึก
ประวัติศาสตรความเปนมาของหมูบานญี่ปุนในสมัยกรุงศรีอยุธยามาตั้งไวภายในหมูบาน มีอาคารจัดแสดงเรื่อง
ความสัมพันธระหวางอยุธยากับตางประเทศ เปดเวลา ๐๘.๐๐-๑๘.๐๐ น. คาเขาชมคนไทย ๒๐ บาท การเดินทาง จาก
เจดียวัดสามปลื้มเลี้ยวซายทางไปอําเภอบางปะอินผานวัดใหญชัยมงคล ระยะทางประมาณ ๒.๕ ก.ม. สอบถาม
รายละเอียดเพิ่มเติมไดที่โทร. ๐ ๓๕๒๔ ๕๓๓๖
วัดบรมพุทธาราม อยูภายในบริเวณมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา สรางในสมัยสมเด็จพระเพท
ราชา ประมาณพ.ศ.๒๒๓๑-๒๒๔๖ ณ บริเวณยานปาตองอันเปนนิวาสสถานเดิมของพระองค ใกลประตูชัย ประตู
ใหญบนแนวกําแพงเมืองดานใต ที่ตั้งของวัดถูกจํากัดโดยเสนทางคมนาคมสมัยโบราณ คือดานตะวันออกเปนแนว
คลองฉะไกรนอย ดานตะวันตกเปนแนวถนนหลวงชื่อถนนมหารัฐยาหรือถนนปาตอง แนวถนนและคลองดังกลาว
บังคับแผนผังของวัดใหวางตัวตามแนวเหนือใต โดยหันหนาวัดไปทางทิศเหนือ วัดนี้แตกตางจากวัดอื่นตรงที่ทรง
โปรดฯใหทํากระเบื้องเคลือบสีเหลืองขึ้นมุงหลังคาพระอุโบสถ วิหาร ศาลาการเปรียญ และใชประดับเจดียและซุม
ประตู จึงมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งวา “วัดกระเบื้องเคลือบ” ซึ่งใชเวลากอสราง ๒ ปจึงแลวเสร็จ ในสมัยพระเจาอยูหัวบรม
โกศทรงโปรดฯใหปฏิสังขรณวัดนี้ครั้งใหญและใหทําบานประตูมุกฝมืองดงาม ๓ คู บานประตูมุกนี้ปจจุบัน คูหนึ่ง
อยูที่หอพระมณเฑียรธรรมในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม คูหนึ่งอยูที่วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม และอีกคูหนึ่งมีผู
ตัดไปทําตูหนังสือซี่งขณะนี้ตั้งแสดงอยูที่พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร จังหวัดกรุงเทพมหานคร
พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เจาสามพระยา ตั้งอยูที่ตําบลประตูชัย ถนนโรจนะ ตรงขามกับมหาวิทยาลัย
ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา พิพิธภัณฑแหงนี้สรางขึ้นดวยเงินที่ประชาชนเชาพระพิมพที่ขุดไดจากกรุวัดราชบูรณะซึ่ง
เปนวัดที่สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๒ (เจาสามพระยา) ทรงสราง จึงใหชื่อวา “พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เจาสามพระ
ยา” พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวและสมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดําเนินทรงเปดพิพิธภัณฑ
แหงนี้เมื่อปพ.ศ. ๒๕๐๔ สิ่งสําคัญที่นาชมภายในพิพิธภัณฑไดแก
บริเวณพิพิธภัณฑแบงเปนอาคารจัดแสดง ๓ อาคาร คือ
อาคาร ๑ ชั้นลาง จัดแสดงโบราณศิลปะวัตถุที่คนพบจากการขุดแตงและบูรณะโบราณสถานในจังหวัด
พระนครศรีอยุธยา ระหวางพ.ศ.๒๔๙๙–๒๕๐๐ ไดแก พระพุทธรูปศิลปะสมัยทวาราวดี ลพบุรี อยุธยา พระพุทธรูป
สําคัญที่จัดแสดงไดแก พระพุทธรูปประทับนั่งหอยพระบาท เปนพระพุทธรูปศิลาขาวสมัยทวาราวดี ในทา
5
ประทับนั่งหอยพระบาทซึ่งเคยประดิษฐานในซุมพระสถูปโบราณวัดพระเมรุ จังหวัดนครปฐม กรมศิลปากรได
พยายามติดตามชิ้นสวนตางๆ ขององคพระที่กระจัดกระจายไปอยูในที่ตางๆ มาประกอบขึ้นเปนองคพระไดอยาง
สมบูรณ นับเปนพระพุทธรูปที่มีคามากองคหนึ่งซึ่งในโลกพบเพียง ๖ องคเทานั้น คือในประเทศไทย ๕ องคและใน
ประเทศอินโดนีเซีย ๑ องค ในประเทศไทยประดิษฐานอยูที่วัดพระปฐมเจดีย จังหวัดนครปฐม ๒ องค
พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร จังหวัดกรุงเทพมหานคร ๑ องค พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เจาสามพระยา ๑ องค
และวัดหนาพระเมรุ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๑ องค เศียรพระพุทธรูปสมัยอูทอง ทําดวยสัมฤทธิ์มีขนาดใหญมาก
ไดมาจากวัดธรรมมิกราช แสดงใหเห็นถึงความเกาแกของวัดและฝมือการหลอวัตถุขนาดใหญในสมัยโบราณ
นอกจากนี้ยังมีเครื่องไมจําหลักฝมือชางสมัยอยุธยา
ชั้นบน จัดแสดงเครื่องทอง ๒ หอง หองแรก จัดแสดงเครี่องทองที่พบในกรุพระปรางควัดราชบูรณะ เมื่อ
พ.ศ ๒๕๐๐ โบราณวัตถุที่สําคัญไดแก พระแสงขรรคชัยศรีทองคํา องคพระแสงขรรคทําดวยเหล็กมีคมทั้ง ๒ ดาน
ฝกทําดวยทองคําจําหลักลายประจํายาม ลายกนกประดับอัญมณี ดามทําดวยหินเขี้ยวหนุมาน หองที่สอง จัดแสดง
เครื่องทองที่พบในกรุพระปรางควัดมหาธาตุประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ซึ่งบรรจุอยูในผอบทองคํา สวนที่รอบ
เฉลียง จัดแสดงพระพิมพที่ทําดวยชิน(โลหะเจือชนิดหนึ่งประกอบดวยตะกั่วและดีบุก; บุทองแดง)และดินเผา สมัย
สุโขทัย ลพบุรี และสมัยอยุธยาที่คนพบในกรุพระปรางควัดราชบูรณะ วัดมหาธาตุและวัดพระราม
อาคาร ๒ จัดแสดงโบราณศิลปะวัตถุที่พบในประเทศไทยตามลําดับอายุสมัยตั้งแตพุทธศตวรรษที่ ๑๑–
๒๔ คือ ตั้งแตสมัยทวาราวดี ศรีวิชัย ลพบุรี เชียงแสน สุโขทัย อูทอง อยุธยาและรัตนโกสินทร เพื่อเปนการศึกษา
เปรียบเทียบโบราณวัตถุสําคัญที่จัดแสดง เชน พระพุทธรูปปางตางๆ พระโพธิสัตวอวโลกิเตศวร พระคเณศ
อาคาร ๓ เปนเรือนไทยที่สรางเปนหมูเรือนไทยภาคกลางปลูกอยูกลางคูน้ํา ภายในเรือนไทยจัดแสดง
ศิลปะพื้นบาน เครื่องมือเครื่องใชในชีวิตประจําวันของคนไทยสมัยกอน เชน หมอดินเผา กระตายขูดมะพราวและ
เครื่องจักสานตางๆ
โบราณวัตถุเหลานี้แสดงใหเห็นความรุงเรืองของกรุงศรีอยุธยาในอดีตไวอยางนาชมนาศึกษาพิพิธภัณฑแหง
นี้เปดใหเขาชมวันพุธ-วันอาทิตย วันหยุดนักขัตฤกษ ตั้งแตเวลา ๐๘.๓๐-๑๖.๐๐ น. ปดวันจันทรและวันอังคาร อัตราคา
เขาชม ชาวไทย ๑๐ บาท ชาวตางประเทศ ๓๐ บาท หรือสามารถซื้อบัตรรวมได ชาวไทย ๖๐ บาท ชาวตางประเทศ
๑๘๐ บาท โดยบัตรนี้สามารถเขาชมวัดและพิพิธภัณฑตางๆ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาได ภายในระยะเวลา ๓๐ วัน
อันไดแก วัดพระศรีสรรเพชญและพระราชวังหลวง วัดมหาธาตุ วัดราชบูรณะ วัดพระราม วัดไชยวัฒนาราม
พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เจาสามพระยาและพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ จันทรเกษม สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่
โทร.๐ ๓๕๒๔ ๑๕๘๗ การเดินทาง จากกรุงเทพฯ เขาตัวเมืองอยุธยา จากนั้นขามสะพานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
แลวตรงไปประมาณ ๒ ไฟแดง ไปอีกไมไกลนักจะเห็นพิพิธภัณฑอยูทางขวามือ
คุมขุนแผน ตั้งอยูที่ถนนปาโทน เปนตัวอยางของหมูเรือนไทยภาคกลาง ในรูปแบบเรือนคหบดีไทยสมัย
โบราณ เดิมเปนจวนสมุหเทศาภิบาล มณฑลกรุงเกา พลตรีพระเจาบรมวงศเธอกรมขุนมรุพงศสิริพัฒนทรงสรางขึ้นป
พ.ศ.๒๔๓๗ ที่เกาะลอยบริเวณสะพานเกลือซึ่งอยูตรงขามกับที่วาการมณฑล ตอมาในราวปพ.ศ. ๒๔๘๓ ปรีดี พนมยงค
รัฐบุรุษอาวุโสไดยายจวนหลังนี้มาสรางในบริเวณคุกนครบาลเกาของพระนครศรีอยุธยา พรอมทั้งสรางเรือนไทยเพิ่มขึ้น
อีกในปพ.ศ.๒๔๙๙ และใหชื่อเรือนไทยนี้วาคุมขุนแผน ซึ่งเชื่อกันวาขุนแผนเคยตองโทษอยูในคุกแหงนี้ การเดินทาง
จากกรุงเทพฯ เขาตัวเมืองอยุธยาแลวใหขามสะพานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชตรงไปจนถึงศาลากลางจังหวัดหลังเดิม
จะเห็นสามแยกแลวเลี้ยวขวาตรงไปไมไกลนักจะเห็นคุมขุนแผนอยูทางซายมือเปดใหชมทุกวันเวลา ๐๘.๓๐-๑๖.๓๐ น.
วิหารพระมงคลบพิตร ตั้งอยูทางดานทิศใตของวัดพระศรีสรรเพชญ ใชเสนทางเดียวกับทางไปคุม
ขุนแผน วิหารพระมงคลบพิตรจะอยูถัดไปไมไกลนัก พระมงคลบพิตรเปนพระพุทธรูปบุสัมฤทธิป์ างมารวิชัย มีขนาด
หนาตักกวาง ๙.๕๕ เมตรและสูง ๑๒.๔๕ เมตร นับเปนพระพุทธรูปขนาดใหญองคหนึ่งในประเทศไทย ไมมีหลักฐาน
แนชัดวาสรางในสมัยใด สันนิษฐานวาสรางในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนตนระหวางปพ.ศ.๑๙๙๑–๒๑๔๕ สมเด็จพระเจา
6
ทรงธรรมโปรดเกลาฯใหยายจากทิศตะวันออกนอกพระราชวังมาไวทางดานทิศตะวันตกที่ประดิษฐานอยูในปจจุบัน
และโปรดเกลาฯใหกอมณฑปสวมไว
ในสมัยสมเด็จพระเจาเสือ เมื่อปพ.ศ.๒๒๔๙ อสนีบาตตกลงมาตองยอดมณฑปพระมงคลบพิตรเกิดไฟ
ไหมทําใหสวนบนขององคพระมงคลบพิตรเสียหายจึงโปรดเกลาฯใหซอมแซมใหม แปลงหลังคายอดมณฑปเปนมหา
วิหารและตอพระเศียรพระมงคลบพิตรในสมัยสมเด็จพระเจาบรมโกศ (พ.ศ.๒๒๘๕–๒๒๘๖) ในคราวเสียกรุงศรี
อยุธยาครั้งที่ ๒ พ.ศ.๒๓๑๐ วิหารพระมงคลบพิตรถูกขาศึกเผาเครื่องบนโทรมลงมาตองพระเมาฬีและพระกรขวาของ
พระมงคลบพิตรหัก รัชกาลที่ ๕ โปรดเกลาฯใหการปฏิสังขรณใหม สําหรับบริเวณขางวิหารพระมงคลบพิตรทางดาน
ทิศตะวันออกแตเดิมเปนสนามหลวง ใชเปนที่สําหรับสรางพระเมรุพระบรมศพของพระมหากษัตริยและเจานาย
เชนเดียวกับทองสนามหลวงของกรุงเทพฯ
วัดพระศรีสรรเพชญ ตั้งอยูทางทิศเหนือของวิหารพระมงคลบพิตร เปนวัดสําคัญที่สรางอยูใน
พระราชวังหลวงเทียบไดกับวัดพระศรีรัตนศาสดารามแหงกรุงเทพมหานครหรือวัดมหาธาตุแหงกรุงสุโขทัย ในสมัย
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (พระเจาอูทอง)ทรงสรางพระราชมณเฑียรเปนที่ประทับที่บริเวณนี้ ตอมาสมเด็จพระบรม
ไตรโลกนาถทรงยายพระราชวังขึ้นไปทางเหนือและอุทิศที่ดินเดิมใหสรางวัดขึ้นภายในเขตพระราชวังและโปรดเกลา
ฯใหสรางเขตพุทธาวาสขึ้น เพื่อเปนที่สําหรับประกอบพิธีสําคัญตางๆ จึงเปนวัดที่ไมมีพระสงฆจําพรรษา
ตอมาในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ โปรดเกลาฯใหสรางพระสถูปเจดียใหญสององคเมื่อพ.ศ.๒๐๓๕
องคแรกทางทิศตะวันออกเพื่อบรรจุพระบรมอัฐิของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถพระราชบิดาและองคที่สองคือองค
กลางเพื่อบรรจุพระบรมอัฐิของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๓ พระบรมเชษฐา ตอมาในปพ.ศ. ๒๐๔๒ ทรงสรางพระ
วิหารขนาดใหญและในปพ.ศ.๒๐๔๓ ทรงหลอพระพุทธรูปยืนสูง ๘ วา(๑๖ เมตร) หุมดวยทองคําหนัก ๒๘๖ ชั่ง
(ประมาณ ๑๗๑ กิโลกรัม) ประดิษฐานไวในวิหาร พระนามวา “พระศรีสรรเพชญดาญาณ” ซึ่งภายหลังเมื่อคราวเสีย
กรุงพ.ศ. ๒๓๑๐ พมาไดเผาลอกทองคําไปหมด ในสมัยรัตนโกสินทรพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก
มหาราช โปรดเกลาฯใหอัญเชิญชิ้นสวนชํารุดของพระประธานองคนี้ลงมากรุงเทพฯและบรรจุชิ้นสวนซึ่งบูรณะไมได
เหลานั้นไวในเจดียองคใหญที่สรางขึ้นแลวพระราชทานชื่อเจดียวา “เจดียสรรเพชญดาญาณ”
สําหรับเจดียองคที่สามถัดมาทางทิศตะวันตก สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๔ (พระหนอพุทธางกูร) พระราช
โอรสไดโปรดเกลาฯใหสรางขึ้นเพื่อบรรจุพระบรมอัฐิของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ เจดียสามองคนี้เปนเจดียแบบ
ลังกา ระหวางเจดียแตละองคมีมณฑปกอคั่นไวซึ่งคงจะมีการสรางในราวรัชกาลสมเด็จพระเจาปราสาททอง และมี
รองรอยการบูรณะปฏิสังขรณหนึ่งครั้งในราวรัชสมัยสมเด็จพระเจาอยูหัวบรมโกศ ในสมัยจอมพล ป.พิบูลสงครามได
มีการบูรณะเจดียแหงนี้จนมีสภาพที่เห็นอยูในปจจุบัน วัดนี้เปดใหเขาชมทุกวันตั้งแตเวลา ๐๗.๓๐–๑๘.๐๐ น. คาเขา
ชม ชาวไทย ๑๐ บาท ชาวตางประเทศ ๓๐ บาท หรือสามารถซื้อบัตรรวมได ชาวไทย ๖๐ บาท ชาวตางประเทศ ๑๘๐
บาท โดยบัตรนี้สามารถเขาชมวัดและพิพิธภัณฑตางๆ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาได ภายในระยะเวลา ๓๐ วัน อัน
ไดแก วัดพระศรีสรรเพชญและพระราชวังหลวง วัดมหาธาตุ วัดราชบูรณะ วัดพระราม วัดไชยวัฒนาราม
พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เจาสามพระยาและพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ จันทรเกษม สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่
สํานักงานศิลปากรที่ ๓ โทร ๐ ๓๕๒๔ ๒๕๐๑, ๐ ๓๕๒๔ ๒๔๔๘ หรือ อุทยานประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยา
โทร ๐ ๓๕๒๔ ๒๒๘๔, ๐ ๓๕๒๔ ๒๒๘๖ หมายเหตุ ตั้งแตเวลาประมาณ ๑๙.๓๐-๒๑.๐๐ น. จะมีการสองไฟชม
โบราณสถาน
พระราชวังหลวงหรือพระราชวังโบราณ ตั้งอยูติดกับวัดพระศรีสรรเพชญทางดานทิศเหนือ สันนิษฐาน
วา สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (พระเจาอูทอง)ทรงสรางพระราชวังตั้งแตเมื่อครั้งประทับอยูที่เวียงเล็ก เมื่อพ.ศ.๑๘๙๐
และเมื่อสรางพระราชวังเสร็จในปพ.ศ.๑๘๙๓ จึงยายมาประทับที่พระราชวังใหมริมหนองโสน ปราสาทในครั้งแรกนี้
สรางดวยไมอยูในบริเวณวัดพระศรีสรรเพชญ ตอมาเมื่อพ.ศ. ๑๙๙๑ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงถวายที่บริเวณ

7
ปราสาทใหเปนวัดพระศรีสรรเพชญวัดในเขตพระราชวัง แลวทรงสรางปราสาทใหมเลื่อนไปทางเหนือชิดกับแมน้ํา
ลพบุรี
บริเวณพระราชวังหลวงมีพระที่นั่งสําคัญดังนี้
พระที่นั่งวิหารสมเด็จ ตั้งอยูทางตอนใตสุด เปนปราสาทยอดปรางคมีมุขหนาหลังยาวแตมุขขางสั้น มี
กําแพงแกวลอม ๒ ดาน ตามพงศาวดารกลาววาสมเด็จพระเจาปราสาททอง โปรดใหสรางเมื่อ พ.ศ. ๒๑๘๖ เพื่อแทน
พระที่นั่งมังคลาภิเษกที่ถูกฟาผาไฟไหม ชาวบานเรียกวา “ปราสาททอง” เนื่องจากเปนปราสาทปดทององคแรกที่สราง
ขึ้นสําหรับประกอบพระราชพิธีตาง ๆ
พระที่นั่งสรรเพชญปราสาท เปนปราสาทยอดปรางคตั้งอยูตรงกลางสรางแบบเดียวกันกับพระที่นั่งวิหาร
สมเด็จ มีหลังคาซอนลดหลั่นกันถึงหาชั้น มีมุขเด็จยื่นออกมาเปนที่สําหรับพระมหากษัตริยเสด็จออกรับแขกเมือง มี
โรงชางเผือกขนาบอยูทั้งสองขาง
พระที่นั่งสุริยาสนอมรินทร เดิมชื่อ พระที่นั่งสุริยามรินทร ตอมาเปลี่ยนเปนชื่อนี้เพื่อใหคลองกับชื่อ พระ
ที่นั่งสรรเพชญปราสาท เปนปราสาทจตุรมุขกอดวยศิลาแลงมีพื้นสูงกวาพระที่นั่งองคอื่น ๆ ตั้งอยูติดกําแพงริมแมน้ํา
ใชเปนที่สําหรับประทับทอดพระเนตรขบวนแหทางน้ํา ตามพงศาวดารกลาววาเมื่อสมเด็จพระนารายณสวรรคต
สมเด็จพระเพทราชาไดอัญเชิญพระบรมศพจากเมืองลพบุรีมาประดิษฐานไวที่พระที่นั่งองคนี้
พระที่นั่งจักรวรรดิ์ไพชยนต สมเด็จพระเจาปราสาททองทรงสรางเมื่อพ.ศ.๒๑๗๕ พระราชทานนามวา
“พระที่นั่งสิริยโสธรมหาพิมานบรรยงก’’คลายปราสาทที่นครธม ตอมาจึงเปลี่ยนเปน “พระที่นั่งจักรวรรดิ์ไพชยนต”
ลักษณะเปนปราสาทตรีมุข ตั้งอยูบนกําแพงชั้นในดานทิศตะวันออกเฉียงเหนือของวัดพระศรีสรรเพชญ เปนที่สําหรับ
ทอดพระเนตรกระบวนแหและฝกหัดทหาร
พระที่นั่งตรีมุข เปนพระที่นั่งศาลาไม หลังคามุงกระเบื้องดินเผา ตั้งอยูทางทิศตะวันตกของพระที่นั่งสรร
เพชญปราสาท ไมปรากฏปที่สราง เขาใจวาเดิมเปนพระที่นั่งฝายใน และเปนที่ประทับในอุทยาน เปนพระที่นั่งองค
เดียวที่อยูในสภาพสมบูรณที่สุด
พระที่นั่งบรรยงกรัตนาสน หรือ พระที่นั่งทายสระ เปนปราสาทจตุรมุข ตั้งอยูบนเกาะกลางสระน้ํา
สมเด็จพระเพทราชาโปรดเกลาฯใหสรางขึ้นเปนที่ประทับอยูขางในและเปนที่สําราญพระราชอิริยาบถเมื่อพ.ศ.
๒๒๓๑ และไดเสด็จประทับตลอดรัชกาล มีพระแทนสําหรับทอดพระเนตรปลาที่ทรงเลี้ยงไวในสระนั้นดวย
พระที่นั่งทรงปน เปนพระที่นั่งรูปยาวรี อยูริมสระดานตะวันตก ใกลพระที่นั่งบรรยงคกรัตนาสน เขาใจ
วาเปนที่สําหรับฝกซอมอาวุธและในสมัยสมเด็จพระเพทราชาทรงใชเปนทองพระโรงที่เสด็จออกขุนนาง
พระที่นั่งตางๆที่ปรากฎใหเห็นซากหลงเหลือในปจจุบันเปนอาคารที่สรางในสมัยสมเด็จพระบรมไตร
โลกนาถ เปนที่ประทับของพระมหากษัตริยทุกรัชกาล เปดใหเขาชมทุกวัน ตั้งแตเวลา ๐๖.๐๐-๑๘.๐๐ น. อัตราคาเขา
ชม ชาวไทยคนละ ๑๐ บาท ชาวตางประเทศคนละ ๓๐ บาท หรือสามารถซื้อบัตรรวมได ชาวไทย ๖๐ บาท ชาว
ตางประเทศ ๑๘๐ บาท โดยบัตรนี้สามารถเขาชมวัดและพิพิธภัณฑตางๆ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาได ภายใน
ระยะเวลา ๓๐ วัน อันไดแก วัดพระศรีสรรเพชญและพระราชวังหลวง วัดมหาธาตุ วัดราชบูรณะ วัดพระราม วัดไชย
วัฒนาราม พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เจาสามพระยาและพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ จันทรเกษม รายละเอียดเพิ่มเติม
ติดตอ โทร. ๐ ๓๕๒๔ ๒๕๐๑, ๐ ๓๕๒๔ ๔๕๗๐
วัดพระราม อยูนอกเขตพระราชวังไปทางดานทิศตะวันออก ตรงขามกับวิหารพระมงคลบพิตร สมเด็จพระ
ราเมศวรทรงสรางขึ้นตรงบริเวณที่ถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระรามาธิบดีที่๑(พระเจาอูทอง)พระราชบิดา วัด
นี้มีบึงขนาดใหญอยูหนาวัด เมื่อมีการสรางกรุงศรีอยุธยา คงจะมีการขุดเอาดินในหนองมาถมพื้นที่วังและวัด พื้นที่ที่
ขุดเอาดินมาไดกลายเปนบึงใหญ บึงมีชื่อปรากฎในกฎมณเฑียรบาลวา “บึงชีขัน” ตอมาเปลี่ยนชื่อเปน “บึงพระราม”
ปจจุบันคือ “สวนสาธารณะบึงพระราม” ซึ่งใชเปนที่สําหรับพักผอนหยอนใจของชาวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และ
สําหรับนักทองเที่ยวที่มาเยือน เปดใหเขาชมทุกวันตั้งแตเวลา ๐๗.๓๐–๑๘.๓๐ น. คาเขาชม ชาวไทย ๑๐ บาท ชาว
8
ตางประเทศ ๓๐ บาท หรือสามารถซื้อบัตรรวมได ชาวไทย ๖๐ บาท ชาวตางประเทศ ๑๘๐ บาท โดยบัตรนี้สามารถ
เขาชมวัดและพิพิธภัณฑตางๆ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาได ภายในระยะเวลา ๓๐ วัน อันไดแก วัดพระศรีสรร
เพชญและพระราชวังหลวง วัดมหาธาตุ วัดราชบูรณะ วัดพระราม วัดไชยวัฒนาราม พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เจาสาม
พระยาและพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ จันทรเกษม หมายเหตุ ตั้งแตเวลาประมาณ ๑๙.๓๐ - ๒๑.๐๐ น. จะมีการสองไฟ
ชมโบราณสถาน
พระบรมราชานุสาวรียพระเจาอูทอง ประดิษฐานอยูระหวางบึงพระรามกับวัดพระศรีสรรเพชญ พระ
บรมรูปของพระเจาอูทองมีขนาดเทาครึ่งของคนธรรมดา หลอดวยทองสัมฤทธิ์และรมดวยน้ํายาสีเขียว ในพระอิริยาบถ
ประทับยืน พระหัตถขวาทรงพระขรรค พระเกลาเกศา ฉลองพระองคแบบพระมหากษัตริยสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนตน
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯเสด็จพระราชดําเนินทรงเปดพระบรมราชานุสาวรียเมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๑๓
วัดมหาธาตุ ตั้งอยูเชิงสะพานปาถาน ทางทิศตะวันออกของวัดพระศรีสรรเพชญ พงศาวดารบางฉบับ
กลาววาวัดนี้สรางในสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๑ ตอมาสมเด็จพระราเมศวรโปรดเกลาฯใหอัญเชิญพระบรม
สารีริกธาตุมาบรรจุไวใตฐานพระปรางคประธานของวัดเมื่อพ.ศ.๑๙๒๗ พระปรางควัดมหาธาตุถือเปนปรางคที่สราง
ในระยะแรกของสมัยอยุธยาซึ่งไดรับอิทธิพลของปรางคขอมปนอยู ชั้นลางกอสรางดวยศิลาแลงแตที่เสริมใหม
ตอนบนเปนอิฐถือปูน สมเด็จพระเจาปราสาททองไดทรงปฏิสังขรณพระปรางคใหมโดยเสริมใหสูงกวาเดิม แตขณะนี้
ยอดพังลงมาเหลือเพียงชั้นมุขเทานั้น จึงเปนที่นาเสียดายเพราะมีหลักฐานวาเปนปรางคที่มีขนาดใหญมากและกอสราง
อยางวิจิตรสวยงามมาก เมื่อพ.ศ. ๒๔๙๙ กรมศิลปากรไดขุดแตงพระปรางคแหงนี้ พบของโบราณหลายชิ้น ที่สําคัญคือ
ผอบศิลา ภายในมีสถูปซอนกัน ๗ ชั้น แบงออกเปน ชิน เงิน นาก ไมดํา ไมจันทรแดง แกวโกเมน และทองคํา ชั้นใน
บรรจุพระบรมสารีริกธาตุและเครื่องประดับอันมีคา ปจจุบันพระบรมสารีริกธาตุนําไปประดิษฐานไวที่
พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เจาสามพระยา สิ่งที่นาสนใจในวัดอีกอยางคือ เศียรพระพุทธรูปหินทราย ซึ่งมีรากไมปก
คลุมเขาใจวาเศียรพระพุทธรูปนี้จะหลนลงมาอยูที่โคนตนไมในสมัยเสียกรุงจนรากไมขึ้นปกคลุมมีความงดงามแปลก
ตาไปอีกแบบ
การเดินทาง จากกรุงเทพฯ เขาตัวเมืองอยุธยาแลวขามสะพานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชตรงไปจนถึงสี่แยกไฟแดงที่
๒ เลี้ยวขวาตรงไปไมไกลนัก ผานบึงพระราม จะเห็นวัดมหาธาตุอยูทางซายมือ เปดใหเขาชมทุกวันตั้งแตเวลา
๐๘.๓๐–๑๖.๓๐ น. คาเขาชม ชาวไทย ๑๐ บาท ชาวตางประเทศ ๓๐ บาท หรือสามารถซื้อบัตรรวมได ชาวไทย ๖๐
บาท ชาวตางประเทศ ๑๘๐ บาท โดยบัตรนี้สามารถเขาชมวัดและพิพิธภัณฑตางๆ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาได
ภายในระยะเวลา ๓๐ วัน อันไดแก วัดพระศรีสรรเพชญและพระราชวังหลวง วัดมหาธาตุ วัดราชบูรณะ วัดพระราม
วัดไชยวัฒนาราม พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เจาสามพระยาและพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ จันทรเกษม หมายเหตุ
ตั้งแตเวลาประมาณ ๑๙.๓๐-๒๑.๐๐น. จะมีการสองไฟชมโบราณสถาน
วัดราชบูรณะ อยูเชิงสะพานปาถาน ตรงขามวัดมหาธาตุ สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๒ (เจาสามพระยา)
โปรดเกลาฯใหสรางขึ้นเมื่อพ.ศ. ๑๙๖๗ ณ บริเวณที่ถวายพระเพลิงเจาอายพระยากับเจายี่พระยาซึ่งชนชางกันจนถึงแก
พิราลัยและโปรดเกลาฯใหกอเจดีย ๒ องคบริเวณนั้น เมื่อคราวเสียกรุงวัดนี้และวัดมหาธาตุถูกไฟไหมเสียหายมาก
ซากที่เหลืออยูแสดงวาวิหารและสวนตางๆ ของวัดนี้ใหญโตมาก วิหารหลวงมีขนาดยาว ๖๓ เมตร กวาง ๒๐ เมตร
ดานหนามีบันไดขึ้น ๓ ทาง ที่ผนังวิหารเจาะเปนบานหนาตาง ปจจุบันยังปรากฏซากของเสาพระวิหารและฐานชุกชี
พระประธานเหลืออยู พระปรางคประธาน เปนศิลปะอยุธยาสมัยแรกซึ่งนิยมสรางตามแบบสถาปตยกรรมขอมที่ให
พระปรางคเปนประธานของวัด ชองคูหาของพระปรางคมีพระพุทธรูปยืนปูนปนประดิษฐานชองละ ๑ องค องค
ปรางคประดับดวยปูนปนรูปครุฑ ยักษ เทวดา นาค พระปรางคองคนี้มีลวดลายสวยงามมาก ภายในกรุปรางคมีหอง
กรุ ๒ ชั้น สามารถลงไปชมได ชั้นบนมีภาพจิตรกรรมฝาผนังเลือนลาง ชั้นลางซึ่งเคยเปนที่เก็บเครื่องทอง มีภาพ
จิตรกรรมเขียนดวยสีแดงชาดปดทองเปนรูปพระพุทธรูปปางลีลาและปางสมาธิ รวมทั้งรูปเทวดาและรูปดอกไม เมื่อ
พ.ศ.๒๕๐๐ คนรายไดลักลอบขุดโบราณวัตถุที่ฝงไวในกรุปรางคประธานวัดราชบูรณะ โดยขุดเจาะจากพื้นคูหาเรือน
9
ธาตุลงไปพบหองที่ฝงโบราณวัตถุไว ๒ หอง ตอมาทางราชการติดตามจับคนรายและยึดโบราณวัตถุไดเพียงบางสวน
โบราณวัตถุในกรุพระปรางควัดราชบูรณะทําดวยทองคํา สําริด หิน ดินเผาและอัญมณี เมื่อกรมศิลปากรขุดแตงพระ
ปรางควัดราชบูรณะตอ ไดนําโบราณวัตถุที่มีคาไปเก็บรักษาไวในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เจาสามพระยา ซึ่งสราง
โดยเงินบริจาคจากการนําพระพิมพขนาดเล็กที่ไดจากกรุนี้มาจําหนายเปนของชํารวย วัดนี้เปดใหเขาชมทุกวันตั้งแต
เวลา ๐๘.๓๐–๑๖.๓๐ น. คาเขาชม ชาวไทย ๑๐ บาท ชาวตางประเทศ ๓๐ บาท หรือสามารถซื้อบัตรรวมได ชาวไทย
๖๐ บาท ชาวตางประเทศ ๑๘๐ บาท โดยบัตรนี้สามารถเขาชมวัดและพิพิธภัณฑตางๆ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาได
ภายในระยะเวลา ๓๐ วัน อันไดแก วัดพระศรีสรรเพชญและพระราชวังหลวง วัดมหาธาตุ วัดราชบูรณะ วัดพระราม
วัดไชยวัฒนาราม พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เจาสามพระยาและพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ จันทรเกษม หมายเหตุ
ตั้งแตเวลาประมาณ ๑๙.๓๐- ๒๑.๐๐น. จะมีการสองไฟชมโบราณสถาน
พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ จันทรเกษม เรียกอีกชื่อหนึ่งวา วังจันทรเกษมหรือวังหนา ตั้งอยูถนนอูทอง
ริมแมน้ําปาสักมุมทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะเมืองใกลตลาดหัวรอ วังจันทรเกษมปรากฎหลักฐานพงศาวดารวา
สรางในสมัยสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชประมาณพ.ศ. ๒๑๒๐ โดยมีพระราชประสงคเพื่อใหเปนที่ประทับของ
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช และเคยใชเปนที่ประทับของสมเด็จพระยุพราชและพระมหากษัตริยหลายพระองคเชน
สมเด็จพระเอกาทศรถ เจาฟาสุทัศน สมเด็จพระนารายณมหาราช สมเด็จพระเจาบรมโกศ ฯลฯ เมื่อคราวเสียกรุงใน
ปพ.ศ.๒๓๑๐ วังนี้ไดถูกขาศึกเผาทําลายเสียหายมากและถูกทิ้งราง จนถึงสมัยรัชกาลที่ ๔ แหงกรุงรัตนโกสินทรโปรด
เกลาฯใหซอมพระที่นั่งพิมานรัตยาและพลับพลาจตุรมุขไวเปนที่ประทับเมื่อเสด็จประพาสพระนครศรีอยุธยาและ
โปรดพระราชทานนามวา พระราชวังจันทรเกษม เมื่อวันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๔๓๖ ตอมาในสมัยรัชกาลที่ ๕ ได
พระราชทานพระที่นั่งพิมานรัตยาเปนที่ทําการของมณฑลกรุงเกาเมื่อพ.ศ. ๒๔๔๒ และจนกระทั่งเมื่อพระยาโบราณ
ราชธานินทรไดเขามาดํารงตําแหนงสมุหเทศาภิบาลมณฑลกรุงเกาจึงไดจัดสรางอาคารที่ทําการภาคบริเวณกําแพง
ทางดานทิศตะวันตกตอกับทิศใต แลวยายที่วาการมณฑลจากพระที่นั่งพิมานรัตยามาตั้งที่อาคารที่ทําการภาคใน
ขณะนั้น กรมศิลปากรจึงไดเขามาดูแลและจัดทําเปนพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ จันทรเกษมจนกระทั่งปจจุบัน
โบราณสถานโบราณวัตถุที่นาสนใจในพระราชวังจันทรเกษม มีดังนี้
กําแพงและประตูวัง ปจจุบันกอเปนกําแพงอิฐมีใบเสมา มีประตูดานละ ๑ ประตู รวม ๔ ดานเปนสิ่งที่
สรางใหมในรัชกาลที่ ๔ กําแพงของเดิมมีอาณาเขตกวางขวางกวาที่เห็นในปจจุบัน เพราะขุดพบรากฐานของพระที่นั่ง
นอกกําแพงวัดดานใน และพบซากอิฐในบริเวณเรือนจําหลายแหง แตเดิมนั้นคําใหการชาวกรุงเกากลาววา วังจันทร
เกษมมีกําแพง ๒ ชั้น เชนเดียวกับวังหลวง
พลับพลาจตุรมุข ตั้งอยูใกลประตูวังดานทิศตะวันออก เปนพลับพลาเครื่องไม มีมุขดานหนา ๓ มุข
ดานหลัง ๓ มุข เดิมใชเปนทองพระโรงสําหรับออกงานวาราชการและเปนที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา
เจาอยูหัวรัชกาลที่ ๔ เวลาเสด็จประพาส ตอมาในปพ.ศ. ๒๔๔๗ พระองคทรงโปรดใหใชพลับพลาจตุรมุข เปนที่จัด
แสดงโบราณวัตถุ เรียกวาอยุธยาพิพิธภัณฑสถาน ในสมัยรัชกาลที่ ๗ พระยาโบราณราชธานินทรไดทําการซอมแซม
ครั้งใหญและเปลี่ยนหนาบันจากรูปปูนปนมาเปนไมแกะสลัก ปจจุบันจัดแสดงเครื่องใชสวนพระองคที่มีอยูเดิมภายใน
พระราชวังนี้เชน พระแทนบรรทม พระราชอาสน พรอมเศวตฉัตร พระบรมฉายาลักษณและเครื่องราชูปโภคของ
พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว
พระที่นั่งพิมานรัตยา เปนตึกหมูอยูกลางพระราชวังประกอบดวยอาคาร ๔ หลังคือ อาคารปรัศวซาย
อาคารปรัศวขวา พระที่นั่งพิมานรัตยาและศาลาเชิญเครื่อง เคยเปนที่ตั้งศาลากลางมณฑลและจังหวัดมาหลายป
ปจจุบันจัดแสดง ประติมากรรมที่สลักจากศิลา เปนเทวรูปและพระพุทธรูปนาคปรก ศิลปสมัยลพบุรี พระพุทธรูป
สําริดสมัยอยุธยา พระพิมพสมัยตางๆ และเครื่องไมแกะสลักฝมือชางสมัยอยุธยาตอนปลายและรัตนโกสินทร

10
พระที่นั่งพิสัยศัลลักษณ หรือ หอสองกลอง เปนหอสูงสี่ชั้น สรางครั้งแรกในรัชสมัยสมเด็จพระ
นารายณมหาราช แตหักพังลงมาเมื่อคราวเสียกรุงครั้งที่ ๒ หอที่เห็นอยูในปจจุบันสรางในสมัยรัชกาลที่ ๔ ตาม
รากฐานอาคารเดิมและทรงใชเปนที่ประทับทอดพระเนตรดวงดาว
อาคารสโมสรเสือปา สรางขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ตั้งอยูริมกําแพงหลังพระ
ที่นั่งพิมานรัตยา
ตึกโรงมาพระที่นั่ง เปนอาคารกออิฐถือปูน ๒ ชั้น ตั้งอยูริมกําแพงดานทิศตะวันตกเฉียงเหนือ
ตึกที่ทําการภาค สรางขึ้นในสมัยพระยาโบราณราชธานินทร เมื่อครั้งดํารงตําแหนงสมุหเทศาภิบาล
มณฑลกรุงเกา มีลักษณะเปนอาคารชั้นเดียวสรางขนานไปกับแนวกําแพงดานทิศตะวันตกตอกับทิศใต จัดนิทรรศการ
ถาวร ๕ เรื่อง คือ เรื่องศิลปะสถาปตยกรรมอยุธยา เครื่องปนดินเผาสินคานําเขาและสงออกที่สําคัญของอยุธยา อาวุธ
ยุทธภัณฑ ศิลปะวัตถุพุทธบูชาและวิถีชีวิตริมน้ําชาวกรุงเกา
ระเบียงจัดตั้งศิลาจารึก แตเดิมสรางเปนระเบียงหลังคามุงสังกะสียาวไปตามแนวกําแพงดานทิศเหนือ
และทิศตะวันออกใชสําหรับเปนที่เก็บรักษาบรรดาโบราณวัตถุและศิลปะวัตถุซึ่งพระยาโบราณราชธานินทรได
รวบรวมไว
การเดินทาง จากกรุงเทพฯ เขาตัวเมืองอยุธยา เมื่อขามสะพานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชแลวใหเลี้ยวซาย
ตรงไปจนถึงสามแยกเลี้ยวซายอีกครั้งและตรงไปอีกประมาณ ๒ กิโลเมตร จะผานตลาดเจาพรหม จากนั้นจะเห็น
พิพิธภัณฑอยูทางซายมือ เปดใหเขาชมทุกวัน เวนวันจันทร วันอังคารและวันหยุดนักขัตฤกษ ตั้งแตเวลา ๐๙.๐๐-
๑๖.๐๐ น. คาเขาชม ชาวไทยคนละ ๑๐ บาท ชาวตางประเทศคนละ ๓๐ บาท หรือสามารถซื้อบัตรรวมได ชาวไทย ๖๐
บาท ชาวตางประเทศ ๑๘๐ บาท โดยบัตรนี้สามารถเขาชมวัดและพิพิธภัณฑตางๆ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาได
ภายในระยะเวลา ๓๐ วัน อันไดแก วัดพระศรีสรรเพชญและพระราชวังหลวง วัดมหาธาตุ วัดราชบูรณะ วัดพระราม
วัดไชยวัฒนาราม พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เจาสามพระยาและพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ จันทรเกษม สอบถาม
รายละเอียดเพิ่มเติมที่ โทร. ๐ ๓๕๒๕ ๑๕๘๖, ๐ ๓๕๒๕ ๒๗๙๕ โทรสาร ๐ ๓๕๒๕ ๑๕๘๖
วัดเสนาสนาราม อยูทางดานหลังพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ จันทรเกษม เปนวัดโบราณเดิมชื่อ "วัดเสื่อ"
พระอุโบสถเปนสถาปตยกรรมสมัยกรุงศรีอยุธยา ลักษณะพระอุโบสถมีมุขทั้งดานหนาและดานหลัง ดานหนาพระ
อุโบสถหันหนาสูทิศตะวันออก มีพระยืนประดิษฐานอยูบนหนาบันทั้งดานหนาและดานหลังเปนภาพปนลงรักปดทอง
เปนรูปชางเอราวัณขนาบดวยแตร เหนือเศียรชางเอราวัณเปนพระอลัญจกรของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่
๔ เปนที่ประดิษฐานพระพุทธรูปสําคัญ ๒ องคคือ "พระสัมพุทธมุนี" เปนพระพุทธรูปหลอปางมารวิชัย สมัยอยุธยาลง
รักปดทอง ขนาดหนาตักกวาง ๒ ศอก ๒ นิ้ว สูง ๓ ศอก ๑ นิ้วประดิษฐานเหนือบุษบกปูนปนลงรักปดทอง ฝาผนัง
พระอุโบสถเปนภาพจิตรกรรม ดานบนเปนภาพของเทพและอัปสรที่มาบูชาพระประธาน ระหวางชองหนาตางเปน
ภาพพระราชพิธีสิบสองเดือนซึ่งหาชมไดยาก ผนังดานหนาภายในพระอุโบสถมีพระบรมฉายาลักษณทรงเครื่องตน
เฉลิมพระมหาพิชัยมงกุฎประทับเหนือพระราชบัลลังกในกรอบไมสัก
วิหารพระพุทธไสยาสน อยูติดกับพระเจดียองคใหญ ซึ่งพระวิหารนี้สรางขวางกับแนวพระอุโบสถ พระ
พุทธไสยาสนเปนศิลปะแบบอยุธยา ประกอบดวยศิลาเปนทอนๆ นํามาเรียงตอกันแลวสลักเปนองคพระมีขนาดยาว
๑๔.๑๒ เมตร แตเดิมประดิษฐานอยูที่วัดพระมหาธาตุ รัชกาลที่ ๕ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯใหสรางวิหารพระนอน
ขึ้นในวัด แลวอัญเชิญพระพุทธไสยาสนจากวัดมหาธาตุมาประดิษฐานไวที่วัดนี้
พระอินทรแปลงเปนพระพุทธรูปหลอปางมารวิชัยที่อัญเชิญมาจากนครเวียงจันทนเมื่อปพ.ศ.๒๔๐๑
หนาตักกวาง ๒ ศอกเศษ สูง ๓ ศอกเศษ ประดิษฐานอยูในวิหารซึ่งติดกับวิหารพระพุทธไสยาสน มีตํานานเลากันวา
พระอินทรแปลงทรงแปลงรางมาสรางพระพุทธรูปองคนี้ ดานหลังพระอินทรแปลงเปนซุมศรีมหาโพธิ์ ภายในพระ
วิหารปูดวยกระเบื้องหินออน ทั้งสองขางองคพระอินทรแปลงยกพื้นเปนอัฒสงฆ พรอมทั้งมีธรรมาสนหินปดทอง ๒
แทน ฝาผนังภายในพระวิหารดานบน เปนภาพวาดรูปทวยเทพบูชาองคพระอินทรแปลงและระหวางชองหนาตางเปน
11
ภาพวาดเกี่ยวกับการดําเนินชีวิตของประชาชนอันเกี่ยวเนื่องดวยวัดและพระศาสนา บานหนาตางเปนภาพลายรดน้ํา
เปนรูปสัตว ๑๐ อยางที่ภิกษุไมควรบริโภค
พระเจดีย ตั้งอยูดานหลังพระอุโบสถ เปนพระเจดียทรงระฆังคว่ํากออิฐฉาบปูนศิลปะสมัยอยุธยา สูง
ประมาณ ๑๓ วาเศษ มีฐานทักษิณสี่เหลี่ยม
วัดสุวรรณดารารามราชวรวิหาร อยูในเขตพระนครดานทิศตะวันออกเฉียงใตของเกาะเมือง เหนือบริเวณ
ปอมเพชร สามารถใชเสนทางเดียวกับพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ จันทรเกษม แตพอถึงสามแยกใหเลี้ยวขวาแลวตรงไป
ประมาณ ๑ กิโลเมตร จะเห็นปายทางเขาวัดอยูทางดานขวามือ วัดนี้เดิมชื่อวา“วัดทอง”เปนวัดที่พระบรมมหาชนกของ
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราชทรงสรางไวตั้งแตครั้งกรุงศรีอยุธยา ตอมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระ
พุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราชเสด็จขึ้นครองราชย จึงโปรดเกลาฯใหสถาปนาวัดทองขึ้นใหมและพระราชนามวา“วัด
สุวรรณดาราราม” เพื่อเปนอนุสรณแดพระบรมชนกนาถและพระบรมราชชนนี ตามพระนามเดิมของทั้งสองพระองค
คือ“ทองดี”และ“ดาวเรือง”
วัดแหงนี้มีสิ่งตางๆที่นาชมไมวาจะเปนพระอุโบสถซึ่งยังคงรูปแบบสถาปตยกรรมสมัยอยุธยาตอนปลาย
คือทําสวนฐานโคงออนลงตรงกลางคลายปากเรือสําเภา หนาบันอุโบสถสลักลายเปนรูปนารายณทรงครุฑ มีภาพ
จิตรกรรมฝาผนังเทพชุมนุมที่ผนังอุโบสถตอนบน ตอนลางเขียนเรื่องเวสสันดรชาดก เตมียชาดกและสุวรรณสาม
ชาดก ผนังดานหนาพระประธานเขียนภาพมารวิชัย มีแมพระธรณีบีบมวยผมอยูตรงกลาง สวนพระประธานในพระ
อุโบสถรัชกาลที่ ๑ โปรดเกลาฯใหจําลองขยายสวนจากพระแกวมรกต นอกจากนั้นภายในพระวิหารมีลักษณะรูปแบบ
ฐานเปนเสนตรง ไมใชฐานออนโคงตามรูปแบบสถาปตยกรรมสมัยอยุธยา บัวหัวเสามีลักษณะเปนบัวกลีบยาวหรือบัว
แวง พระวิหารสรางขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๒ ภายในพระวิหารมีภาพเขียนสีในสมัยรัชกาลที่ ๗ แสดงพระราชประวัติ
ของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงกระทํายุทธหัตถี นับเปนจิตรกรรมฝาผนังที่มีฝมือยอดเยี่ยมงดงามมาก กรม
ศิลปากรไดถายแบบภาพเขียนนี้ไปไวที่อนุสรณดอนเจดีย จังหวัดสุพรรณบุรี
บริเวณหนาพระอุโบสถจะเห็น แทนพระศรีมหาโพธิ์ ลักษณะเปนแทนฐานบัวคว่ําและบัวหงาย
ประดิษฐานตนพระศรีมหาโพธิ์ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวไดนําหนอโพธิ์มาจากประเทศอินเดีย ไมไกล
กันนั้นมี หอระฆัง ลักษณะแบบสถาปตยกรรมตะวันตก กออิฐถือปูน มีผังเปนรูปสี่เหลี่ยมสองชั้น ชั้นลางเจาะประตู
เปนรูปโคงแหลม ชั้นบนเปนสวนของหอระฆัง สันนิษฐานวาสรางขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๔ พรอมกับการปฏิสังขรณวัด
ครั้งใหญ
ปอมปราการรอบกรุง กําแพงเมืองที่พระเจาอูทองทรงสรางครั้งแรกนั้นเปนเพียงเชิงเทินดิน และมีเสาไม
ระเนียดปกขางบน ตอมาในรัชสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิจึงไดกออิฐถือปูนขึ้น ตามพระราชพงศาวดารมีการสราง
ปอมตางๆอาทิ ปอมมหาไชย ปอมซัดกบ ปอมเพชร ปอมหอราชคฤหและปอมจําปาพลเปนตน ปอมขนาดใหญๆมัก
ตั้งอยูบริเวณทางแยกระหวางแมน้ําเชน ปอมเพชรตั้งอยูตรงที่บรรจบของแมน้ําเจาพระยากับแมน้ําปาสัก จัดเปน
สวนสาธารณะริมน้ําสําหรับนั่งเลน ปอมมหาไชยตั้งอยูมุมวังจันทรเกษมบริเวณซึ่งเปนตลาดหัวรอในปจจุบัน ตัวปอม
ไดถูกรื้อเพื่อนําอิฐไปสรางพระนครใหมที่กรุงเทพมหานครตั้งแตสมัยรัชกาลที่ ๑
สวนสมเด็จพระศรีนครินทร ตั้งอยูถนนอูทอง ในเขตอุทยานประวัติศาสตร ทางดานทิศตะวันตกเฉียงใต
ของเกาะเมือง เปนสวนสาธารณะขนาดใหญกวางขวาง ในพื้นที่ปลูกตนไมตางๆในวรรณคดี ศาลาไทยและมีซาก
โบราณสถาน นอกจากนี้ยังมีโครงการพัฒนาพื้นที่เปนสวนปาสมุนไพรอีกดวย สมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟาจุฬาภรณ
วลัยลักษณ อัครราชกุมารีเสด็จแทนพระองคมาเปดพระราชานุสาวรียสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีเมื่อพ.ศ.
๒๕๔๓ การเดินทาง หากมาจากกรุงเทพฯ เขาตัวเมืองอยุธยาแลวใหขามสะพานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชตรงไป
จนสุดถนน พอถึงมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยาแลว จะเห็นสามแยกขางหนาใหเลี้ยวซายตรงไปจนถึงสาม
แยกไฟแดงแลวเลี้ยวขวาตรงไป ผานโรงพยาบาลจังหวัดไปไมไกลนักจะเห็นสวนสมเด็จพระศรีนครินทรอยูทาง
ขวามือ
12
วังหลัง ตั้งอยูริมกําแพงพระนครศรีอยุธยาดานทิศตะวันตก ตรงขามกับวัดกษัตราธิราช เดิมเปน
อุทยานสําหรับเสด็จประพาสเปนครั้งคราวเรียกวา สวนหลวง และมีเพียงตําหนักที่พัก ตอมาในสมัยสมเด็จพระมหา
ธรรมราชาไดโปรดเกลาฯใหสรางเพิ่มเติมเปนพระราชวังเพื่อใหเปนที่ประทับของสมเด็จพระเอกาทศรถ หลังจากนั้น
ไดกลายเปนที่ประทับของเจานายในพระราชวงศ ปจจุบันเปนที่ตั้งของเจดียพระศรีสุริโยทัย
เจดียพระศรีสุริโยทัย อยูในเกาะเมืองดานทิศตะวันตก ติดกับสํานักงานโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถาน
แหงชาติที่ ๓ ถนนอูทอง พระเจดียแหงนี้เปนโบราณสถานที่สําคัญยิ่งแหงหนึ่งในเขตอุทยานประวัติศาสตร
พระนครศรีอยุธยา เปนอนุสรณสถานของวีรสตรีไทยพระองคแรก สมเด็จพระสุริโยทัยซึ่งสิน้ พระชนมในการทํา
สงครามยุทธหัตถีระหวางสมเด็จพระมหาจักรพรรดิกับพระเจาแปรและเปนการยืนยันเกียรติแหงสตรีไทยที่ไดรับการ
ยกยองจากสังคมไทยมาแตครั้งบรรพกาล
ปพ.ศ.๒๐๙๑ สมเด็จพระมหาจักรพรรดิขึ้นครองราชสมบัติมีสมเด็จพระสุริโยทัยเปนพระมเหสี หลังจาก
ครองราชยได ๗ เดือน พระเจาตะเบ็งชะเวตี้และบุเรงนองยกทัพเขามาลอมกรุงศรีอยุธยาโดยผานมาทางดานดานพระ
เจดียสามองคจังหวัดกาญจนบุรีและตั้งคายลอมพระนคร สมเด็จพระมหาจักรพรรดิทรงชางออกไปพรอมกับพระราช
โอรส สมเด็จพระสุริโยทัยทรงเปนหวงพระราชสวามีจึงไดทรงเครื่องแบบอยางนักรบชายประทับชางตามเสด็จออกไป
กองทัพกรุงศรีอยุธยาปะทะกับทัพหนาของกรุงหงสาวดีซึ่งมีพระเจาแปรเปนแมทัพ สมเด็จพระมหาจักรพรรดิทรงไส
ชางเขาชนกับชางของพระเจาแปรและบังเอิญชางทรงเกิดเพลี่ยงพล้ํา สมเด็จพระสุริโยทัยจึงไสชางพระที่นั่งเขาขวาง
พระเจาแปรดวยเกรงวาสมเด็จพระมหาจักรพรรดิพระราชสวามีจะเปนอันตราย จนถูกพระแสงของาวฟนพระอังสา
ขาดสะพายแลงสิ้นพระชนมอยูบนคอชาง เมื่อสงครามยุติลงสมเด็จพระมหาจักรพรรดิทรงปลงพระศพของพระนาง
และสถาปนาวัดที่ปลงพระศพขึ้นเปนวัดสวนหลวงสบสวรรค (เดิมชื่อ วัดสบสวรรค) ตอมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ไดมีการสอบสวนหาตําแหนงสถานที่ตางๆ ที่กลาวถึงในพระราชพงศาวดารเพื่อเรียบเรียง
เปนหนังสือประชุมพงศาวดารขึ้นทูลเกลาฯถวาย จึงเปนเหตุใหทราบตําแหนงของวัดสบสวรรค ซึ่งยังคงพบเจดียแบบ
ยอไมสิบสองสูงใหญปรากฏตามที่ตั้งในปจจุบันนี้ ตอมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกลาเจาอยูหัวไดทรงขนานนาม
เรียกชื่อเจดียวา "เจดียพระศรีสุริโยทัย"
ในป พ.ศ. ๒๕๓๓ รัฐบาลไดมอบใหกรมศิลปากรและกรป.กลาง ดําเนินการบูรณะซอมแซมเสริม
รูปทรงพระเจดียที่ชํารุดใหอยูในสภาพเดิมและจากการบูรณะ ศิลปากรไดพบวัตถุโบราณ เชน พระพุทธรูปผลึกแกวสี
ขาวปางมารวิชัย พระเจดียจําลอง ผอบทองคําบรรจุพระธาตุ เปนตน ปจจุบันเก็บรักษาไวในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ
เจาสามพระยา
สวนศรีสุริโยทัย สามารถใชเสนทางเดียวกับทางไปเจดียพระศรีสุริโยทัย ตั้งอยูในเขตทหาร กอง
สรรพาวุธซอมยาง สวนศรีสุริโยทัยจะอยูดานหลัง องคการสุราเปนผูสรางสวนนี้เพื่ออุทิศสวนกุศลถวายอดีต
พระมหากษัตริยทุกพระองคในที่ดินซึ่งเคยเปนเขตพระราชฐานชั้นใน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯไดพระราชทาน
ชื่อ “สวนศรีสุริโยทัย” เมื่อวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๓๒ และองคการสุราไดทูลเกลาฯ ถวายสวนนี้แดสมเด็จพระนาง
เจาพระบรมราชินีนาถเนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษาครบ ๕ รอบ เมื่อวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๓๔ สวนนี้มี
พื้นที่ประมาณ ๕ ไร ประกอบดวยศาลาอเนกประสงค พลับพลาสมเด็จพระสุริโยทัย อนุสาวรียสมเด็จพระสุริโยทัย
แสดงเหตุการณตอนสูรบบนหลังชาง ในสวนดานหลังมีเนินเสมาหินออนโบราณอายุกวา ๔๐๐ ปบรรจุชิ้นสวน
พระพุทธรูปที่ชํารุดอัญเชิญมาจากวัดพุทไธศวรรย (พระตําหนักเวียงเหล็กของพระเจาอูทอง) ฯลฯ สวนนี้เปดใหเขาชม
ทุกวัน ตั้งแตเวลา ๐๙.๐๐ - ๑๗.๐๐ น.
วัดโลกยสุธา อยูใกลกับเจดียพระศรีสุริโยทัย ใชเสนทางถนนหลังพลับพลาตรีมุขในบริเวณพระราชวัง
โบราณผานวัดวรโพธิ์และวัดวรเชษฐารามเขาไปจนถึงพระพุทธไสยาสนองคใหญซึ่งตั้งอยูกลางแจง พระพุทธ
ไสยาสนองคนี้กอดวยอิฐถือปูน ยาวประมาณ ๒๙ เมตร มีซากเสา ๖ เหลี่ยมตั้งอยูชิดกับองคพระ หลงเหลือใหเห็นอยู
หลายตน เขาใจวาอาจเคยเปนซากพระอุโบสถ
13
วัดกษัตราธิราชวรวิหาร อยูนอกเกาะเมืองตรงขามกับเจดียพระศรีสุริโยทัย ริมแมน้ําเจาพระยา สามารถ
ใชเสนทางเดียวกับสวนสมเด็จพระศรีนครินทรไปจนถึงสี่แยกแลวเลี้ยวซายขามสะพานวัดกษัตราธิราชฯ จากนั้นเลี้ยว
ขวาตรงไปไมไกลนักก็จะถึงวัดนี้ วัดนี้เดิมชื่อ “วัดกษัตรา” หรือ “วัดกษัตราราม” เปนวัดโบราณในสมัยกรุงศรีอยุธยา
มีพระปรางคใหญเปนประธานหลักของวัด และยังมีพระอุโบสถสมัยอยุธยาซึ่งมีลายดาวเพดานจําหลักไมงดงามมาก
ภายในวัดมีภาพจิตรกรรมฝาผนังสมัยรัตนโกสินทร เปนวัดที่มีความสวยงามมากวัดหนึ่ง
วัดไชยวัฒนาราม ตั้งอยูริมแมน้ําเจาพระยาฝงตะวันตกนอกเกาะเมือง เปนวัดที่พระเจาปราสาททอง
กษัตริยกรุงศรีอยุธยาองคที่ ๒๔ (พ.ศ. ๒๑๗๓-๒๑๙๘) โปรดใหสรางขึ้นเมื่อพ.ศ.๒๑๗๓ ไดชื่อวาเปนวัดที่มีความ
งดงามมากแหงหนึ่งในกรุงศรีอยุธยา ความสําคัญอีกประการหนึ่งคือ วัดนี้เปนที่ฝงพระศพของเจาฟาธรรมธิเบศร(เจา
ฟากุง) กวีเอกสมัยอยุธยาตอนปลายกับเจาฟาสังวาลยซึ่งตองพระราชอาญาโบยจนสิ้นพระชนมในรัชสมัยของพระ
เจาอยูหัวบรมโกศ
สิ่งที่นาชมภายในวัดไดแก พระปรางคศรีรัตนมหาธาตุ เปนปรางคประธานของวัดตั้งอยูบนฐานสี่เหลี่ยม
จัตุรัสและที่มุมฐานมีปรางคทิศประจําอยูทั้งสี่มุม การที่สมเด็จพระเจาปราสาททองซึ่งเปนกษัตริยสมัยอยุธยาตอน
ปลายทรงสรางปรางคขนาดใหญเปนประธานของวัดเทากับเปนการรื้อฟนศิลปะสมัยอยุธยาตอนตนที่นิยมสรางปรางค
เปนประธานของวัดเชนการสรางปรางคที่วัดมหาธาตุและวัดราชบูรณะ เนื่องมาจากพระองคทรงไดเขมรมาอยูใต
อํานาจจึงมีการนํารูปแบบสถาปตยกรรมเขมรเขามาใชในการกอสรางปรางคอีกครั้งหนึ่ง นอกจากนี้ยังมีพระระเบียง
รอบปรางคประธาน ภายในพระระเบียงมีพระพุทธรูปปูนปนปางมารวิชัย ผนังระเบียงกอดวยอิฐถือปูน มีลูกกรงหลอก
เปนรูปลายกุดั่น พระอุโบสถ อยูดานหนาของวัดภายในมีซากพระประธานเปนพระพุทธรูปปางมารวิชัยสรางดวยหิน
ทราย ใบเสมาของพระอุโบสถทําดวยหินสีคอนขางเขียว จําหลักเปนลายประจํายามและลายกานขด และเจดียยอมุมไม
สิบสอง ทางดานหนาพระอุโบสถมีเจดีย ๒ องค ฐานกวาง ๑๒ เมตร สูง ๑๒ เมตร ซึ่งถือเปนศิลปะที่เริ่มมีแพรหลาย
ตั้งแตสมัยสมเด็จพระเจาปราสาททอง วัดไชยวัฒนารามไดรับการประกาศขึ้นทะเบียนเปนโบราณสถานของชาติ เมื่อ
วันที่ ๘ มีนาคม ๒๔๗๘ และกรมศิลปากรไดดําเนินการบูรณะตลอดมาจนปจจุบันไมมีสภาพรกรางอยูในปาอีกแลว
และยังคงมองเห็นเคาแหงความสวยงามยิ่งใหญตระการตา ซึ่งผูไปเยือนไมควรพลาดชมอยางยิ่ง เปดใหเขาชมทุกวัน
ตั้งแตเวลา ๐๘.๓๐–๑๖.๓๐ น. คาเขาชม ชาวไทย ๑๐ บาท ชาวตางประเทศ ๓๐ บาท หรือสามารถซื้อบัตรรวมได ชาว
ไทย ๖๐ บาท ชาวตางประเทศ ๑๘๐ บาท โดยบัตรนี้สามารถเขาชมวัดและพิพิธภัณฑตางๆ ในจังหวัด
พระนครศรีอยุธยาได ภายในระยะเวลา ๓๐ วัน อันไดแก วัดพระศรีสรรเพชญและพระราชวังหลวง วัดมหาธาตุ วัด
ราชบูรณะ วัดพระราม วัดไชยวัฒนาราม พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เจาสามพระยาและพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ จันทร
เกษม หมายเหตุ ตั้งแตเวลาประมาณ ๑๙.๓๐- ๒๑.๐๐ น. จะมีการสองไฟชมโบราณสถาน
การเดินทาง สามารถใชเสนทางไดหลายเสนทาง ไดแก
เรือ ทานอาจเชาเหมาเรือหางยาวจากบริเวณหลังลานจอดรถฝงตรงขามพระราชวังจันทรเกษมดาน
ตะวันออกของเกาะเมือง ลองไปตามลําน้ําปาสักลงไปทางใตผานวิทยาลัยการตอเรือพระนครศรีอยุธยา วัดพนัญเชิง
วรวิหาร วัดพุทไธศวรรย โบสถโปรตุเกส วัดไชยวัฒนาราม วัดกษัตราธิราชวรวิหาร และเจดียพระศรีสุริโยทัยอันสงา
งามอีกดวย ซึ่งจะทําใหการเดินทางมีรสชาติไปอีกแบบหนึ่งโดยเฉพาะเวลาพลบค่ําจะเห็นภาพบริเวณวัดไชยวัฒนา
รามงดงามมาก
รถยนต สามารถใชเสนทางเดียวกับวัดกษัตราธิราช แตพอขามสะพานวัดกษัตราธิราชไปแลวใหเลี้ยว
ขวาแลวตรงไปเรื่อยๆ ก็จะเห็นวัดไชยวัฒนารามตั้งเดนเปนสงาอยูทางดานหนา
วัดพุทไธศวรรย ตั้งอยูริมแมน้ําทางดานใตฝงตรงขามของเกาะเมือง หากเดินทางโดยรถยนต และใช
เสนทางสายอยุธยา-เสนา ขามสะพานวัดกษัตราธิราชวรวิหาร แลวเลี้ยวซาย จะผานวัดไชยวัฒนาราม มีปายบอกทาง
เปนระยะไปจนถึงทางแยกซายเขาวัดพุทไธศวรรย วัดนี้สรางขึ้นบริเวณตําหนักที่ประทับเดิมของสมเด็จพระเจาอูทอง
ซึ่งเรียกวา “ตําหนักเวียงเหล็กหรือเวียงเล็ก” หลังจากนั้นพระองคไปสรางพระราชวังใหมที่ตําบลหนองโสน(บึง
14
พระราม)จึงสถาปนาสถานที่นี้เปนวัดพุทไธศวรรย ภายในวัดมีสิ่งที่นาสนใจ คือ ปรางคประธาน องคใหญศิลปะ
แบบขอม ตั้งอยูกึ่งกลางอาณาเขตพุทธาวาสบนฐานไพที ซึ่งมีลักษณะยอเหลี่ยมมีบันไดขึ้น ๒ ทางคือทางทิศ
ตะวันออกและทางทิศตะวันตก สวนทิศเหนือทิศใตมีมณฑปสองหลังภายในพระมณฑปมีพระประธาน พระตําหนัก
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารยเปนพระเถระชั้นผูใหญประจําอยูในสมัยกรุงศรีอยุธยา ตําหนัก
นี้อยูในสภาพคอนขางทรุดโทรมแตภายในผนังของตําหนัก มีภาพสีเกี่ยวกับเรื่องหมูเทวดา นักพรต นมัสการพระพุทธ
บาท และเรือสําเภาตอนพระพุทธโฆษาจารยไปลังกา ภาพเหลานี้อยูในสภาพไมชัดเจนนัก นอกจากนี้ยังมีพระอุโบสถ
อยูทางดานทิศตะวันตกของปรางค หมูพระเจดียสิบสององค และวิหารพระนอน
วัดภูเขาทอง ตั้งอยูทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ หางจากพระราชวังหลวงไปประมาณ ๒ กิโลเมตร
สามารถใชเสนทางเดียวกับทางไปจังหวัดอางทอง ทางหลวงหมายเลข ๓๐๙ กิโลเมตรที่ ๒๖ จะมีปายบอกทางแยกซาย
ไปวัดนี้ วัดภูเขาทองนี้หนังสือคําใหการชาวกรุงเกากลาววา พระเจาหงสาวดีบุเรงนองเปนผูสรางเมื่อพ.ศ. ๒๑๑๒
คราวยกทัพมาตีกรุงศรีอยุธยา ในเวลาที่ประทับอยูพระนครศรีอยุธยาไดสรางพระเจดียภูเขาทองใหญแบบมอญขึ้นไว
เปนที่ระลึกเมื่อคราวรบชนะไทย โดยรูปแบบของฐานเจดียมีลักษณะคลายกับแบบมอญพมา สันนิษฐานวาสรางเจดีย
องคนี้ขึ้นเพื่อชัยชนะแตทําไดเพียงรากฐาน แลวยกทัพกลับ ครั้งสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงกอบกูเอกราชกลับคืน
มาเมื่อพ.ศ. ๒๑๒๗ จึงโปรดเกลาใหสรางเจดียแบบไทยไวเหนือฐานแบบมอญและพมาที่สรางเพียงรากฐานไว ณ
สมรภูมิทุงมะขามหยอง ฝมือชางมอญเดิมจึงปรากฏเหลือเพียงฐานทักษิณสวนลางเทานั้น เจดียภูเขาทองจึงมีลักษณะ
สถาปตยกรรมสองแบบผสมกัน ปจจุบันกรมศิลปากรไดสรางพระบรมราชานุสาวรียสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรง
มาบริเวณดานหนาวัดภูเขาทอง
พระราชานุสาวรียสมเด็จพระสุริโยทัย (ทุงมะขามหยอง) ตั้งอยูที่ตําบลบานใหม ทุงมะขามหยอง
ตั้งอยูทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ หางจากเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยาออกไปประมาณ ๓-๔ กิโลเมตร มีสภาพเปนที่
ราบลุมริมฝงแมน้ําเจาพระยาทิศตะวันออก ภายในมีพระรูปสมเด็จพระสุริโยทัยหลอดวยสําริด มีขนาดหนึ่งเทาครึ่ง
ขององคจริงประทับบนหลังพระคชาธารพรอมดวยกลุมอนุสาวรียประติมากรรมประกอบกันทั้งสิ้น ๔๙ ชิ้น มี
ประติมากรรมจําลองประวัติศาสตร อางเก็บน้ําขนาดใหญและสวนสาธารณะพักผอนหยอนใจสําหรับประชาชน ทุง
มะขามหยองแหงนี้เคยเปนสมรภูมิการสูรบระหวางไทย-พมาหลายครั้ง จนเกิดเปนมหาวีรกรรมคือ เมื่อครั้งที่สมเด็จ
พระสุริโยทัยพระอัครมเหสีของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิทรงทํายุทธหัตถีกับพระเจาแปรจนตองพระแสงของาว
สิ้นพระชนมบนคอชาง และในรัชกาลสมเด็จพระมหาธรรมราชาเปนกษัตริยของกรุงศรีอยุธยาซึ่งหลังจากที่สมเด็จ
พระนเรศวรมหาราชทรงประกาศอิสรภาพได ๒ ป พระเจาหงสาวดีนันทบุเรงไดใหมังมอดราชบุตรยกทัพมาตั้งที่ทุง
มะขามหยอง และทัพพระเจาหงสาวดีตั้งคายหลวงบริเวณขนอนปากคูซึ่งอยูถัดจากทุงมะขามหยองลงมาทางใต
สมเด็จพระนเรศวรมหาราชนําพลออกมาปลนคายพมาหลายครั้งโดยจะใชปากคาบพระแสงดาบ ปนเสาระเนียดเขาไป
ในคายพระเจาหงสาวดีและไดชัยชนะทุกครั้ง พระแสงดาบนั้นจึงปรากฏนามวา “พระแสงดาบคาบคาย”
ดวยเหตุที่ทุงมะขามหยองเคยเปนสมรภูมิที่มีความสําคัญทางประวัติศาสตร ทางรัฐบาลจึงไดจัดทํา
โครงการสรางพระราชานุสาวรียสมเด็จพระสุริโยทัย เปนโครงการจัดสรางขึ้นตามพระราชดําริ รัฐบาลและพสกนิกร
ชาวไทยไดรวมกันสรางนอมเกลาฯถวายเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจาฯพระบรมราชินีนาถ ในวาระมหา
มงคลเฉลิมพระชนมพรรษาครบ ๕ รอบ เมื่อปพ.ศ. ๒๕๓๕
พระที่นั่งเพนียด ตั้งอยูในตําบลสวนพริก หางจากตัวเมืองประมาณ ๔ กิโลเมตร ไปตามเสนทาง
หมายเลข ๓๔๗ กิโลเมตรที่ ๔๒–๔๓ (เสนทางเดียวกับทางไปวัดภูเขาทอง) แตใหเลี้ยวขวาแลวตรงไปตามถนนจะมี
ปายบอกเสนทางไปพระที่นั่งเพนียด เพนียดแหงนี้มีขนาดใหญมากสรางขึ้นเปนที่สําหรับพระมหากษัตริยประทับ
ทอดพระเนตรการคลองชางหรือจับชางเถื่อนในเพนียดซึ่งเปนประเพณีที่ทํากันมาแตโบราณเพื่อนําชางมาใช
ประโยชนในราชการทั้งในยามปกติและยามสงคราม หรือในเวลาที่มีแขกบานแขกเมืองมาพระมหากษัตริยก็จะโปรด
ใหทําพิธีคลองชางใหชมทุกครั้งไป การคลองชางนี้ทํากันเรื่อยมาตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยาจนถึงสมัยรัชกาลที่ ๕ จึงได
15
เลิกไป พระที่นั่งเพนียดและตัวเพนียดที่เห็นในปจจุบันนั้นลักษณะเปนคอกลอมดวยซุงทั้งตน มีปกกาแยกเปนรั้วไป
สองขาง รอบเพนียดเปนกําแพงดินประกอบอิฐเสมอยอดเสา ดานหลังคอกตรงขามแนวปกกาเปนพลับพลาที่ประทับ
ซึ่งไดรับการบูรณะเมื่อพ.ศ.๒๕๐๐ และการทองเที่ยวแหงประเทศไทยยังไดสนับสนุนงบประมาณแกกรมศิลปากรใน
ปพ.ศ. ๒๕๓๑ เพื่อบูรณะเพนียดใหอยูในสภาพเดิมอีกดวย
วัดหนาพระเมรุ ตั้งอยูริมคลองสระบัวดานทิศเหนือของคูเมือง (เดิมเปนแมน้ําลพบุรี) ตรงขามกับ
พระราชวังหลวง สรางในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนตน พุทธศักราช ๒๐๔๖ มีชื่อเดิมวา “วัดพระเมรุราชิการาม” ที่ตั้ง
ของวัดนี้เดิมคงเปนสถานที่สําหรับสรางพระเมรุถวายพระเพลิงพระบรมศพของพระมหากษัตริยพระองคใดพระองค
หนึ่งสมัยอยุธยาตอนตนตอมาจึงไดสรางวัดขึ้น มีตํานานเลาวาพระองคอินทรในรัชกาลสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ ทรง
สรางวัดนี้เมื่อพ.ศ.๒๐๔๖ วัดนี้มีความสําคัญทางประวัติศาสตร สมเด็จพระมหาจักรพรรดิเมื่อครั้งทําศึกกับพระเจา
บุเรงนองไดมีการทําสัญญาสงบศึกเมื่อพ.ศ.๒๑๐๖ไดสรางพลับพลาที่ประทับขึ้นระหวางวัดหนาพระเมรุกับวัดหัสดา
วาส
วัดนี้เปนวัดเดียวในกรุงศรีอยุธยาที่ไมไดถูกพมาทําลายและยังคงปรากฏสถาปตยกรรมแบบอยุธยาอยูใน
สภาพสมบูรณมากที่สุดในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา พระอุโบสถมีขนาดยาว ๕๐ เมตร กวาง ๑๖ เมตรเปนแบบอยุธยา
ตอนตนซึ่งมีเสาอยูภายใน ตอมาสรางขยายออกโดยเพิ่มเสารับชายคาภายนอกในรัชสมัยสมเด็จพระเจาอยูหัวบรมโกศ
หนาบันเปนไมสักแกะสลักเปนรูปพระนารายณทรงครุฑเหยียบเศียรนาคและมีรูปราหูสองขางติดกับเศียรนาค
หนาตางเจาะเปนชองยาวตามแนวตั้ง เสาเหลี่ยมสองแถวๆละแปดตน มีบัวหัวเสาเปนบัวโถแบบอยุธยา ดานบน
ประดับดวยดาวเพดานเปนงานจําหลักไมลงรักปดทอง สวนลายแกะสลักบานประตูพระวิหารนอย เปนลายแกะสลัก
ดวยไมสักหนา แกะสลักจากพื้นไมไมมีการนําชิ้นสวนที่อื่นมาติดตอเปนลายซอนกันหลายชั้น พระประธานในอุโบสถ
สรางปลายสมัยอยุธยาเปนพระพุทธรูปปางมารวิชัยหลอดวยทองสัมฤทธิ์ทรงเครื่องแบบกษัตราธิราช มีนามวา“พระ
พุทธนิมิตวิชิตมารโมลีศรีสรรเพชญบรมไตรโลกนาถ” จัดเปนพระพุทธรูปทรงเครื่องสมัยอยุธยาที่มีขนาดใหญที่สุด
เทาที่มีปรากฏอยูในปจจุบันและมีความสมบูรณงดงามมากสูงประมาณ ๖ เมตรหนาตักกวางประมาณ ๔.๔๐ เมตร ใน
สมัยรัชกาลที่ ๓ แหงกรุงรัตนโกสินทรไดมีการปฏิสังขรณวัดนี้โดยรักษาแบบอยางเดิมไวและไดเชิญพระพุทธรูปศิลา
สีเขียวหรือพระคันธารราฐประทับนั่งหอยพระบาทสมัยทวาราวดีจากวัดมหาธาตุมาไวในวิหารสรรเพชญ(หรือเรียกวา
วิหารนอยเพราะขนาดวิหารเล็ก มีความยาว ๑๖ เมตร กวางประมาณ ๖ เมตร) ซึ่งอยูขางพระอุโบสถ พระพุทธรูปศิลา
แบบนั่งหอยพระบาทสมัยทวาราวดีนี้ นับเปน ๑ ใน ๕ องคที่มีอยูในประเทศไทย จึงนับเปนสิ่งที่มีคาควรแกการเก็บ
รักษาไว พระอุโบสถเปดเวลา ๐๘.๐๐-๑๘.๐๐ น.
วัดกุฎีดาว อยูหนาสถานีรถไฟ ฝงตะวันออก เปนวัดเกาแก ฝมือการสรางงดงามยิ่ง เห็นไดจากซาก
อาคาร เสาบัวและยอดพระเจดียที่หักโคนลงมา แมจะปรักหักพังไปหมดแลว แตยังคงสะทอนใหเห็นถึงความงดงามใน
อดีต ปจจุบันเปนวัดรางไมปรากฏแนชัดวาใครเปนผูสราง
วัดสมณโกฏฐาราม สันนิษฐานวาสรางในสมัยอยุธยาตอนตน และปฏิสังขรณขึ้นใหมในสมัยอยุธยา
ตอนปลายโดยเจาพระยาโกษา(เหล็ก) และเจาพระยาโกษา(ปาน) อาจเปนในชวงสมัยของสมเด็จพระนารายณมหาราช
“ในจดหมายเหตุของแกมเฟอร แพทยชาวเยอรมันที่ทํางานในบริษทั อีสตอินเดียของฮอลันดาเดินทางเขามากรุงศรี
อยุธยาเมื่อ พ.ศ. ๒๒๓๓ ในรัชกาลสมเด็จพระเพทราชา ไดบันทึกไววา หางจากตัวเมืองไปทางตะวันออกมีวัดที่มี
ชื่อเสียงแหงหนึ่งเรียกวา วัดพระยาคลัง แผนผังที่นายแกมเฟอรเขียนประกอบไวปรากฏวาเปนวัดสมณโกฏฐารามและ
วัดกุฎีดาว และยังระบุวาสมเด็จพระเพทราชาไดเสด็จไปที่วัดนี้เพื่อราชทานเพลิงศพเจาแมดุสิตซึ่งเปนมารดาของ
เจาพระยาโกษา(เหล็ก) และเจาพระยาโกษา(ปาน) และยังเปนพระแมนมของสมเด็จพระนารายณมหาราชเมื่อ พ.ศ.
๒๒๓๓ ” สิ่งที่นาสนใจภายในวัดไดแก พระอุโบสถ เปนพระอุโบสถสมัยอยุธยากออิฐถือปูน มีประตูเขาออก
ทางดานขาง ๔ ดาน ภายในพระอุโบสถมีหลังคาตอเปนโครงไมแบบหนาจั่ว ประดิษฐานพระประธาน กวางประมาณ
๓.๕ เมตร ทางดานทิศตะวันออกมีวิหารขนาดใหญ วัดนี้มี พระปรางค องคใหญรูปทรงสัณฐานแปลกตากวาแหงอื่น
16
เขาใจวาเลียนแบบเจดียเจ็ดยอดของเชียงใหม เปนพระปรางคที่สรางบนเจดียองคเดิม มีมุขยื่นออกไปทางทิศ
ตะวันออก มีบันไดทางขึ้นสูลานประทักษิณ ๒ ทาง สันนิษฐานวา พระปรางคองคนี้สรางขึ้นในราวสมัยอยุธยา
ตอนกลาง นอกจากนี้ยังมี เจดียระฆัง ขนาดใหญตั้งอยูระหวางพระปรางคและพระอุโบสถ สันนิษฐานวานาจะมีมาแต
แรกเริ่มการสรางวัดตามลักษณะของเจดียและลวดลายที่ประดับอยูบนบัลลังก ซึ่งโบราณสถานเหลานี้ไดสรางทับ
รากฐานอาคารเดิมอันเปนงานที่สรางขึ้นในสมัยอยุธยาตอนตน
วัดใหญชัยมงคล เดิมชื่อวัดปาแกวหรือวัดเจาพระยาไท ตั้งอยูทางฝงตะวันออกของแมน้ําปาสัก จาก
กรุงเทพฯเขาตัวเมืองอยุธยาแลวจะเห็นเจดียวัดสามปลื้ม(เจดียกลางถนน) ใหเลี้ยวซายตรงไปประมาณ ๑ กิโลเมตร จะ
เห็นวัดใหญชัยมงคลอยูทางซายมือ วัดนี้ตามขอมูลประวัติศาสตรสันนิษฐานวาพระเจาอูทองทรงสรางขึ้นเมื่อพ.ศ.
๑๙๐๐ สําหรับเปนสํานักของพระสงฆซึ่งไปบวชเรียนมาแตสํานักพระวันรัตนมหาเถรในประเทศลังกา คณะสงฆที่ไป
ศึกษาพระธรรมวินัยเรียกนามนิกายในภาษาไทยวา “คณะปาแกว” วัดนี้จึงไดชื่อวา วัดคณะปาแกว ตอมาเรียกใหสั้นลง
วา “วัดปาแกว” ตอมาคนเลื่อมใสบวชเรียนพระสงฆนิกายนี้ พระราชาธิบดีจึงตั้งอธิบดีสงฆนิกายนี้เปนสมเด็จพระ
วันรัตนมีตําแหนงเปนสังฆราชฝายขวาคูกับพระพุทธโฆษาจารยเปนอธิบดีสงฆฝายคันถธุระมีตําแหนงเปนสังฆราช
ฝายซาย หลังจากนั้นไดเปลี่ยนชื่อเปน“วัดเจาพระยาไท”สันนิษฐานวามาจากที่สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ ทรงสราง
วัดปาแกวขึ้น ณ บริเวณที่ซึ่งไดถวายพระเพลิงพระศพของเจาแกวเจาไทหรืออาจมาจากการที่วัดนี้เปนที่ประทับของ
พระสังฆราชฝายขวา ซึ่งในสมัยโบราณเรียกพระสงฆวา “เจาไท” ฉะนั้นเจาพระยาไทยจึงหมายถึงตําแหนง
พระสังฆราช
ในปพ.ศ. ๒๑๓๕ เมื่อสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงทําศึกยุทธหัตถีชนะพระมหาอุปราชแหงพมาที่
ตําบลหนองสาหราย เมืองสุพรรณบุรี ทรงสรางพระเจดียใหญขึ้นที่วัดนี้เปนอนุสรณแหงชัยชนะ การสรางพระเจดีย
อาจสรางเสริมพระเจดียเดิมที่มีอยูหรืออาจสรางใหมทั้งองคก็ได ไมมีหลักฐานแนนอน ขนานนามวา “พระเจดียชัย
มงคล”แตราษฎรเรียกวา “พระเจดียใหญ” ฉะนั้นนานวันเขาวัดนี้จึงเรียกชื่อเปน“วัดใหญชัยมงคล” วัดนี้รางไปเมื่อ
คราวเสียกรุงครั้งสุดทาย และเพิ่งจะตั้งขึ้นเปนวัดที่มีพระสงฆอยูจําพรรษาเมื่อไมนานมานี้ นอกจากนี้ยังมี วิหารพระ
พุทธไสยาสน สรางในสมัยสมเด็จพระนเรศวร เพื่อเปนที่ถวายสักการะบูชาและปฏิบัติพระกรรมฐาน ปจจุบันมีการ
สรางพระตําหนักสมเด็จพระนเรศวรมหาราช มีผูนิยมไปนมัสการอยางสม่ําเสมอเปนจํานวนมาก
วัดพนัญเชิงวรวิหาร ตั้งอยูในทองที่ตําบลคลองสวนพลู ริมแมน้ําปาสักทางทิศใตฝงตรงขามของเกาะ
เมือง หางจากตัวเมืองราว ๕ กิโลเมตร หรือเมื่อออกจากวัดใหญชัยมงคล ใหเลี้ยวซายตรงไปตามถนนประมาณ ๑
กิโลเมตร ก็จะเห็นวัดพนัญเชิงอยูทางขวามือ วัดพนัญเชิงเปนพระอารามหลวงชั้นโทชนิดวรวิหาร แบบมหานิกาย เปน
วัดที่มีมากอนการสรางกรุงศรีอยุธยา ไมปรากฏหลักฐานวาใครเปนผูสราง ตามพงศาวดารเหนือกลาววา พระเจาสาย
น้ําผึ้งซึ่งครองเมืองอโยธยาเปนผูสรางขึ้นตรงที่พระราชทานเพลิงศพพระนางสรอยดอกหมาก และพระราชทานนาม
วัดวา “วัดพระเจาพระนางเชิง”(หรือวัดพระนางเชิง)
พระวิหารเปนที่ประดิษฐานพระพุทธรูปขนาดใหญ ตามพงศาวดารกลาววาสรางเมื่อพ.ศ.๑๘๖๗ กอน
การสถาปนากรุงศรีอยุธยา ๒๖ ปเดิมชื่อ “พระพุทธเจาพนัญเชิง”(พระเจาพะแนงเชิง) แตในรัชกาลที่ ๔ เมื่อมีการ
บูรณะปฏิสังขรณพระพุทธรูปองคนี้ไดพระราชทานนามใหมวา “พระพุทธไตรรัตนนายก” (ชาวบานนิยมเรียกหลวง
พอโต ชาวจีนนิยมเรียกวาซําปอกง ผูคุมครองการเดินทางทางทะเล)เปนพระพุทธรูปปูนปนศิลปะแบบอูทองปางมาร
วิชัยลงรักปดทอง มีขนาดหนาตักกวาง ๑๔ เมตรและสูง ๑๙.๑๓ เมตร ฝมือปนงดงามมาก เบื้องหนามีตาลปตรหรือพัด
ยศและพระอัครสาวกที่ทําดวยปูนปนลงรักปดทองประดิษฐานอยูเบื้องซายและขวา อาจนับไดวาเปนพระพุทธรูปนั่ง
สมัยอยุธยาตอนตนที่มีขนาดใหญมากที่สุดที่เหลืออยูในปจจุบัน เปนที่เคารพสักการะของชาวจังหวัดอยุธยาและ
จังหวัดใกลเคียง เขาใจวาเมื่อสรางพระองคใหมเสร็จแลวจึงสรางพระวิหารหลวงขึ้นคลุมอีกทีหนึ่ง ตามตํานานกลาววา
เมื่อคราวพระนครศรีอยุธยาจะเสียกรุงแกขาศึกนั้น พระพุทธรูปองคนี้มีน้ําพระเนตรไหลออกมาทั้งสองขาง สวนใน
พระวิหาร เสาพระวิหารเขียนสีเปนลายพุมขาวบิณฑกานแยงสีแดงที่หัวเสามีปูนปนเปนบัวกลุมที่มีกลีบซอนกันหลาย
17
ชั้น ผนังทั้งสี่ดานเจาะเปนซุมเล็กประดิษฐานพระพุทธรูปขนาดเล็กโดยรอบจํานวน ๘๔,๐๐๐ องคเทากับจํานวนพระ
ธรรมขันธตามความเชื่อทางพุทธศาสนา สวนประตูทางเขาดานหนาซึ่งอยูทางทิศตะวันออก เปนบานประตูไม
แกะสลักลอยตัวเปนลายกานขดยกดอกนูนออกมา เปนลักษณะของศิลปะอยุธยาที่งดงามมากแหงหนึ่ง
พระอุโบสถ ประดิษฐานพระพุทธรูป ๕ องค ศิลปะสุโขทัย วิหารเซียน อยูดานหนาของพระวิหารหลวง
เปนอาคารรูปสี่เหลี่ยมผืนผาซึ่งแตเดิมมีภาพจิตรกรรมเขียนไวบนผนังทั้งสี่ดาน แตถูกโบกปูนทับไปแลวเมื่อคราว
บูรณะปฏิสังขรณ ขางในพระวิหารหลังนี้ประดิษฐานพระพุทธรูปปูนปนศิลปะแบบอยุธยา ศาลาการเปรียญ หลังเกา
ยายจากริมแมน้ํามาอยูดานหลังของวัด เปนศาลาทรงไทยสรางดวยไม หนาบันประดับชอฟาใบระกา หางหงส บริเวณ
คอสอง(ขื่อ) ดานในศาลามีภาพเขียนสีบนผาเปนภาพพุทธประวัติอยูโดยรอบ มีตัวอักษรเขียนไววาภาพเขียนสีนี้เขียน
ขึ้นเมื่อปพ.ศ. ๒๔๗๒ ภายในศาลามีธรรมาสนอยู ๑ หลังสลักลวดลายสวยงามเปนศิลปะแบบรัตนโกสินทร
ภายในวัดพนัญเชิงยังจะพบ ตึกเจาแมสรอยดอกหมาก ตั้งอยูริมแมน้ําปาสัก กอสรางเปนตึกแบบจีนเปน
ที่ประดิษฐานรูปปนเจาแมสรอยดอกหมากในเครื่องแตงกายแบบจีน ชาวจีนเรียกวา “จูแซเนี๊ย” เปนที่เคารพนับถือของ
ชาวจีนทั่วไป สําหรับชาวตางประเทศเสียคาเขาชมคนละ ๒๐ บาท
หมูบานโปรตุเกส ตั้งอยูที่ตําบลสําเภาลม บริเวณริมฝงแมน้ําเจาพระยาทางทิศตะวันตก อยูทางใตของตัว
เมือง ชาวโปรตุเกสเปนชาวยุโรปชาติแรกที่เขามาติดตอคาขายกับกรุงศรีอยุธยาเมื่อปพ.ศ. ๒๐๕๔ โดยอัลฟองโซ เดอ
อัลบูเคอรก ผูสําเร็จราชการของโปรตุเกส ประจําเอเซีย ไดสงนายดูอารเต เฟอรนันเดส เปนทูตเขามาเจริญ
สัมพันธไมตรีกับสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ แหงกรุงศรีอยุธยา ชาวโปรตุเกสเขามาตั้งหลักแหลงคาขายและเปนทหาร
อาสาในกองทัพกรุงศรีอยุธยา สรางโบสถขึ้นเพื่อเผยแพรศาสนาและเปนศูนยกลางของชุมชน ปจจุบันบริเวณนี้ยังมี
รองรอยซากสิ่งกอสรางปรากฏใหเห็นคือ โบราณสถานซานเปโตรหรือเรียกในสมัยอยุธยาวาโบสถเซนตโดมินิค เปน
โบสถในคณะโดมินิกัน นับเปนโบสถแหงแรกที่สรางขึ้นในแผนดินไทยเมื่อปพ.ศ. ๒๐๘๓ ตั้งอยูในบริเวณเกือบ
กึ่งกลางหมูบานโปรตุเกส มีเนื้อที่ประมาณ ๒,๔๐๐ ตารางเมตร ยาวตามแนวทิศตะวันออกไปตะวันตกหันหนาสูแมน้ํา
เจาพระยา ตัวอาคารแบงออกเปนสามสวน คือ สวนหนาเปนสุสาน ของชาวคาทอลิคคณะโดมินิกัน สวนกลางใช
ประกอบพิธีทางศาสนาและฝงศพบาทหลวง สวนในดานหลังเและดานขางเปนที่พักอาศัยและมีการขุดคนพบ
โบราณวัตถุที่สําคัญไดแก โครงกระดูกมนุษย กลองยาสูบ เหรียญกษาปณ เครื่องปนดินเผา เครื่องประดับกําไลแกว
และเครื่องประกอบพิธีทางศาสนาเชน ไมกางเขน เหรียญรูปเคารพในศาสนา ลูกประคํา
ในสวนของสุสาน พบโครงกระดูกจํานวนมากมายถึง ๒๕๔ โครง ฝงเรียงรายอยางเปนระเบียบและทับ
ซอนกันหนาแนนทั้งภายในและภายนอกอาคาร จากแนวโครงกระดูกที่พบแบงขอบเขตสุสานออกเปน ๓ สวน สวน
ในสุดกลางตัวอาคารที่เปนฐานโบสถ อาจเปนโครงกระดูกของบาทหลวงหรือนักบวช ถัดมาสวนที่สองสวนนี้อาจ
เปนผูมีฐานะทางสังคมในคายโปรตุเกสสูงกวาคนธรรมดาทั่วไป สวนที่สามนอกแนวฐานโบสถมีการฝงซอนกันมาก
ถึง ๓-๔ โครง โครงกระดูกเหลานี้มีทั้งที่อยูในสภาพสมบูรณและบางสวนชํารุด จากหลักฐานเอกสารประวัติศาสตร
กลาวถึงการเกิดโรคระบาดรายแรงในปลายแผนดินพระเพทราชาเมื่อปพ.ศ. ๒๒๓๙ มีผคู นลมตายมาก และในปพ.ศ.
๒๒๕๕ ในสมัยพระเจาอยูหัวทายสระก็เกิดโรคระบาดอีกครั้งมีผูคนลมตายมาก อาจเปนเหตุใหมีการขยายสุสาน
ออกมาจากเดิม
วัดตูม ตั้งอยูบริเวณริมคลองวัดตูม ถนนอยุธยา-อางทอง หางจากตัวเมืองอยุธยา ประมาณ ๖-๗ กิโลเมตร
ในทองที่ตําบลวัดตูม มีเนื้อที่ประมาณ ๑๕ ไรเศษ วัดนี้ไมปรากฏหลักฐานวาสรางตั้งแตเมื่อไร ใครเปนผูสราง ทราบ
กันแตเพียงวาเปนวัดโบราณตั้งแตสมัยเมืองอโยธยา กอนที่จะตั้งกรุงศรีอยุธยาเปนราชธานี วัดนี้คงเปนวัดรางมาครั้ง
หนึ่งเมื่อคราวเสียกรุงในป พ.ศ. ๒๓๑๐ ครั้นถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทรในรัชกาลที่ ๑ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา
จุฬาโลก ไดมีผูปฏิสังขรณขึ้นอีกและเปนวัดที่พระสงฆอยูจําพรรษามาจนทุกวันนี้ วัดตูมนี้เปนที่สําหรับลงเครื่องพิชัย
สงครามแตดั้งเดิมมาคงเปนแตแรกตั้งกรุงอโยธยาตลอดจนถึงทุกวันนี้ไมต่ํากวา ๑,๐๐๐ ป สิ่งที่นาสนใจภายในวัด
ไดแก พระพุทธรูปซึ่งมีลักษณะพิเศษคือ พระเศียรตอนเหนือพระนลาฎ (หนาผาก) เปดออกไดและพระเกศมาลาถอด
18
ได ภายในพระเศียรเปนบอกวางลึกลงไปเกือบถึงพระศอ มีน้ําไหลซึมออกมาตลอดเวลาเหมือนหยาดเหงื่อ เปนน้ําใส
เย็นบริสุทธิ์ปราศจากมลทิน สามารถรับประทานไดโดยปราศจากอันตรายใดๆ และไมแหงขาดหาย พระพุทธรูปองค
นี้เปนพระพุทธรูปสัมฤทธิ์ทรงเครื่อง ปางมารวิชัย นามเดิมของทานคือ “หลวงพอทองสุขสัมฤทธิ์” เรียกกันเปนสามัญ
วา “หลวงพอสุข” หนาตักกวาง ๘๗ เซนติเมตร สูง ๑.๕๐ เมตร สรางสมัยใดไมปรากฎตํานาน เปนพระทรงเครื่องแบบ
มหาจักรพรรดิ์ราชาอธิวาสสวมมงกุฎ มีกุณฑลทับทรวง สังวาลพาหุรัดประดับดวยเนาวรัตน ประทับนั่งขัดสมาธิ
พระพุทธรูปองคนี้จะเปดเศียรพระทุกวันที่ ๑ ของเดือน
วัดธรรมิกราช เปนวัดสงฆมหานิกาย เดิมชื่อวัดมุขราช เมื่อพระเจาสายน้ําผึ้งสรางวัดพนัญเชิงนั้น พระ
ราชโอรส คือ พระเจาธรรมิกราชโปรดใหสรางวัดนี้ขึ้นที่บริเวณเมืองเกาชื่อเมืองสังขบุรี กอนสรางกรุงศรีอยุธยา
พระมหากษัตริยองคตอมาไดทรงบูรณะมาโดยตลอด ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงธรรม (พ.ศ.๒๑๕๓)
ทรงบูรณะวัดและสรางวิหารหลวงเพื่อฟงธรรมในวันธรรมสวนะและที่วิหารหลวงแหงนี้เคยเปนที่ประดิษฐานของ
เศียรพระพุทธรูปหลอสัมฤทธิ์ศิลปะสมัยอูทองปจจุบันกรมศิลปากรนําไปไวที่พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เจาสามพระ
ยา สําหรับวิหารพระพุทธไสยาสนนั้น พระราชมเหสีของพระองคทรงสรางพระวิหารถวายตามคําอธิษฐานที่ขอให
พระราชธิดาทรงหายประชวร ไวทางหนาประตูดานทิศเหนือของพระเจดียสิงหลอม ๕๒ ตัวที่แตกตางไปจากเจดีย
ชางลอม พระพุทธไสยาสนมีความยาว ๑๒ เมตร หันพระพักตรไปทางทิศเหนือ ที่ฝาพระบาทปดทองประดับกระจก
พิพิธภัณฑเรือไทย เปนพิพิธภัณฑเรือของเอกชนตั้งอยูบริเวณฝงตรงขามกับวัดมหาธาตุ ถนนบางเอียน
ภายในบริเวณบานพักของอาจารยไพฑูรย ขาวมาลาผูมีความรักและผูกพันกับเรือและน้ํามาตั้งแตเด็ก ทานมีความคิดที่
จะอนุรักษเพื่อใหเยาวชนไดเห็นถึงภูมิปญญาชาวบาน พิพิธภัณฑแหงนี้เปนบานทรงไทยขนาดใหญไมสักฝาเฝยม ชั้น
ลาง จัดแสดงเรือจําลองตางๆ เรือพระราชพิธี โดยตอขึ้นตามแบบเรือจริงทุกประการ ปจจุบันมีผลงานนับรอยลําตั้งแต
เรือเดินสมุทรไปจนถึงเรือแจวลําเล็กๆและมีสวนที่จัดแสดงเรือไทยพื้นบานนานาชนิดหลายรูปแบบที่ปจจุบันหาดูได
ยากตามแมน้ําลําคลอง เปดใหผูสนใจเขาชมทุกวันในบรรยากาศที่อบอุนเปนกันเอง ตั้งแตเวลา ๐๘.๐๐–๑๗.๐๐ น.
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมโทร. ๐ ๓๕๒๔ ๑๑๙๕

อําเภอบางไทร
ศูนยศิลปาชีพบางไทร
ประวัติความเปนมา พระราชกรณียกิจที่สําคัญอยางหนึ่งของสมเด็จพระนางเจาสิริกติ ิ์ พระบรมราชินีนาถ
คือการเสด็จพระราชดําเนินตามพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไปทรงเยี่ยมราษฎรในทุกแหงหน ทั่วทุกภาคของประเทศ
ไทยพระราชกรณียกิจนี้ ไดทรงปฏิบัติติดตอกันมานานนับเปนระยะเวลาหลายสิบปแลว จึงทําใหทรงเห็นสภาพความ
เปนอยูที่แทจริงของราษฎรวามีความทุกขสุขอยางไร ที่ทรงเปนหวงมากก็คือ ความยากจนของราษฎรจึงทรงมีพระราช
ประสงคจะจัดหาอาชีพใหราษฎรทํา เพื่อเพิ่มพูนรายไดใหเพียงพอแกการยังชีพ ในภาวะปจจุบัน สมเด็จพระนางเจาฯ
พระบรมราชินีนาถทรงสนพระทัยในงานฝมือพื้นบานหรือศิลปกรรมพื้นบานที่จัดทําขึ้นโดยใชวัสดุในทองถิ่นมาก
พระองคจึงสงเสริมในเรื่องนี้โดยการจัดใหมีครูออกไปฝกสอนราษฎรเปนการชวยปรับปรุงคุณภาพ ของงานใหดี
ยิ่งขึ้น เมื่อราษฎรมีความชํานาญแลวผลงานที่ผลิตออกมา ก็จะทรงรับซื้อไวดวยพระราชทรัพยสวนพระองค ซึ่งงานนี้
ตอมาไดขยายออกเปน มูลนิธิสงเสริมศิลปาชีพ ในสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เมื่อวันที่ ๒๑
กรกฏาคม ๒๕๑๙ และไดทรงจัดตั้งโรงฝกอบรมศิลปาชีพขึ้นแหงแรกที่พระตําหนักสวนจิตรลดา
ในวันฉัตรมงคลป ๒๕๒๓ สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯใหนายธานินทร กรัย
วิเชียร รองประธานกรรมการมูลนิธิสงเสริมศิลปาชีพฯ สรรหาที่ดินที่ใกลเคียงกับพระราชวังบางปะอินเพื่อจัดตั้งศูนย
ศิลปาชีพอีกแหงหนึ่ง นายธานินทร กรัยวิเชียร จัดหาที่ดินได ๒ แปลง เปนที่ดินของสํานักงานทรัพยสินสวน
พระมหากษัตริย ที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดทรงกรุณา โปรดเกลาฯ พระราชทานใหรัฐบาลจัดการปฏิรูปที่ดิน
เพื่อใหราษฎรผูยากไรไดมีที่อยูและทํามาหากินตามอัตภาพ แปลงหนึ่งอยูที่อําเภอบานนา จังหวัดนครนายก อีกแปลง
19
หนึ่งอยูที่ อําเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ลนเกลาฯ ทั้งสองพระองคไดเสด็จพระราชดําเนินไป
ทอดพระเนตรที่ดินแปลงที่อยูที่อําเภอบางไทรดวยพระองคเอง ซึ่งที่ดินแปลงนี้มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ ๗๕๐ไรเศษ
และทรงมีพระบรมราชวินิจฉัยวาสมควรจะสรางศูนยศิลปาชีพ ณ ที่นี้ วันที่ ๓ มิถุนายน ๒๕๒๓ รัฐบาลไดนอมเกลาฯ
ถวายที่ดินแปลงนี้แดสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ ในวโรกาสที่ทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ ๔ รอบ และ
รัฐบาลยังไดมีมติใหหนวยราชการตาง ๆ สนับสนุนโครงการของศูนยศิลปาชีพบางไทรฯ ซึ่งสมเด็จพระนางเจาฯ
พระบรมราชินีนาถ ทรงจัดตั้งขึ้นโดยมอบหมายใหกระทรวงเกษตรและสหกรณ โดยสํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ
เกษตรกรรมเปนผูรับผิดชอบในดานการดูแลสถานที่และการฝกอบรม และมีหนวยทหารราบที่ ๒๑ รักษาพระองค มา
ชวยดูแลในดานการรักษาความสงบเรียบรอย และประสานงานกับหนวยงานตาง ๆ ในการจัดฝกอบรมศิลปาชีพ
เรื่อยมา และมีการซื้อที่ดินเพิ่มเติมอีก ๒๐๐ ไรเศษ รวมเปนเนื้อที่ของศูนยฯ ทั้งหมดเกือบ ๑,๐๐๐ ไรในปจจุบัน สมเด็จ
พระนางเจาสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ ทรงเสด็จพระราชดําเนินเปดศูนยศิลปาชีพบางไทรฯ อยางเปนทางการ เมื่อวันที่
๗ ธันวาคม ๒๕๒๗
สิ่งที่นาสนใจ
ศูนยศิลปาชีพบางไทรฯ ตั้งอยูริมแมน้ําเจาพระยาในเขตอําเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
มีเนื้อที่ประมาณ ๑,๐๐๐ ไร ภายในศูนยศิลปาชีพบางไทรฯ ประกอบดวยสถานที่และสิ่งที่นาสนใจหลายแหงอาทิ
ศาลาพระมิ่งขวัญ เปนอาคารทรงไทยประยุกต จตุรมุขสูง ๔ ชั้น ตั้งตระหงานอยูกลางศูนยศิลปาชีพบางไทร ชั้นลาง เปน
ศูนยสาธิตและจําหนายผลิตภัณฑศิลปาชีพ ของศูนยศิลปาชีพบางไทรฯ และศูนยศิลปาชีพอื่น ๆ
ทั่วประเทศ ชั้นที่ ๒ และ ชั้นที่ ๓ เปนนิทรรศการผลิตภัณฑศิลปาชีพชิ้นยอดเยี่ยมของศูนยศิลปาชีพบางไทรฯ ชั้นที่ ๔ เปนหอง
ประชุมสัมนา เปดใหชมทุกวัน วันธรรมดา ๐๙.๐๐ - ๑๗.๐๐ น. วันหยุดราชการ ๐๙.๐๐ - ๑๘.๐๐ น. ไมเสียคาเขาชม
หมูบานศิลปาชีพ การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ไดใหการสนับสนุนหมูบานแหงนี้ใหแกศูนยศิลปาชีพบางไทรฯ เพื่อเปน
สถานที่แสดงถึงสถาปตยกรรม ในการสรางบานเรือนของคนไทยภาคตาง ๆ การจําลองชีวิตความเปนอยู
ตลอดจนศิลปวัฒนธรรมไทยจากทั่วประเทศ ภายในหมูบานมีการสาธิตวิถีชีวิตความเปนอยูอยางไทย ๆ ในแตละภาค และการสาธิต
งานศิลปาชีพ เปดใหชมทุกวัน ตั้งแตเวลา ๐๘.๓๐ - ๑๗.๐๐ น. ในวันเสาร-อาทิตย เวลา ๐๙.๐๐ -๑๙.๐๐ น. นอกจากนี้ยังมีการแสดง
นาฏศิลป และการละเลนพื้นบานทั้ง ๔ ภาคใหชมดวยในวันเสาร-อาทิตย และวันหยุดนักขัตฤกษวันละ ๑ รอบ ระหวางเวลา ๑๖.๓๐ -
๑๗.๓๐ น.

นอกจากนี้หมูบานศิลปาชีพบางไทรยังมีความยินดีที่จะนําเสนอพิธีมงคลสมรสแบบประเพณีไทยโบราณภาคกลางโดยกัด
กิจกรรมตามประเพณีไทยสมบูรณแบบ เชน พิธสี งฆ ขบวนแหขันหมาก พิธีหลั่งน้ําสังข ตกแตงสถานที่ เสียงดนตรี - เพลงบรรเลง
ตลอดงาน อาหารและน้ําดื่มแขกญาติ ติดตอสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่หมูบานศิลปาชีพ ๐ ๓๕๓๖ ๖๖๖๖-๗, ๐ ๙๑๓๒
๐๓๐๓ (คุณอัจฉรา)

อาคารฝกอบรมศิลปาชีพ ตั้งอยูบริเวณใจกลางของศูนยฯประกอบดวยอาคารฝกอบรมศิลปาชีพของแผนกตาง ๆ ปจจุบัน


ทางศูนยไดเปดอบรมศิลปาชีพดานหัตถกรรมพื้นบานและอาชีพเสริมใหกับเกษตรกรจากทุกภูมิภาคของประเทศรวมทั้งสิ้น ๒๙
แผนกซึ่งนักทองเที่ยวสามารถเขาไปชมวิธีการฝกอบรมศิลปาชีพของศูนยฯไดทุกขั้นตอนและการผลิตงาน
ศิลปาชีพ ที่มีความประณีตวิจิตรซึ่งตองใชเวลาอันยาวนานเพื่อใหไดมาซึ่งผลิตภัณฑที่มีคุณภาพ เปดใหชมทุกวัน เวลา ๐๙.๐๐ -
๑๖.๐๐ น. ยกเวนชวงที่ปดรุนการฝกอบรม

พระโพธิสัตวกวนอิมพันพระหัตถ นายถู เจี๋ย ในนามของประชาชนชาวจีน ไดนอมเกลาฯ ถวายพระรูปพระโพธิสัตว


กวนอิม พันพระหัตถซึ่งแกะสลักจากไม จันทนเหลือง สูง ๖ เมตร จํานวน ๑ องค แดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในวโรกาส
พระราชพิธีมหามงคลเฉลิม พระชนมพรรษาครบ ๖ รอบ และทรงพระกรุณา โปรดเกลาฯ ใหนํามาประดิษฐานไว

20
ณ พระตําหนักชั่วคราว ศาลาโรงชาง ศูนยศิลปาชีพบางไทรฯ เพื่อใหประชาชนที่มีจิตเลื่อมใสศรัทธาในพระ
โพธิสัตวกวนอิม ไดมานมัสการ และสักการะบูชา ไดทุกวัน ตั้งแตเวลา ๐๙.๐๐ - ๑๗.๐๐ น.

พระตําหนัก เปนเรือนไทยภาคกลางใตถุนสูงสรางโดยวัสดุที่หาไดงายในทองถิ่นมีความสวยงามตามแบบฉบับเรือนไทย
ดั้งเดิม พระตําหนักนี้สรางขึ้นเพื่อเปนที่ประทับพักผอนของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจาฯ พระ
บรมราชินีนาถ และสมเด็จพระเจาลูกเธอทุกพระองค พระตําหนักนี้แวดลอม
ไปดวยไมดอกไมประดับและน้ําตกจําลองที่สวยงาม

วังปลา จัดสรางและดําเนินงานโดยกรมประมง เปนสถานแสดงพันธุสัตวน้ําจืด ตัวอาคารหลักมีตูกระจกขนาดใหญ จํานวน


๒ ตู ตูใหญรูปเมล็ดถั่วมีขนาดความจุ ๑,๔๐๐ ตัน อีกตูหนึ่งทรงกลมขนาดความจุ ๖๐๐ ตัน ภายในตูจะแสดงใหเห็นถึงการอยูอาศัย
รวมกันของปลาน้ําจืดชนิดตาง ๆ ที่เปนปลาพื้นเมืองของไทย เปดใหชม เวลา ๑๐.๐๐ - ๑๖.๐๐ น. ปดทุกวันจันทรและวันอังคาร

สวนนก ดําเนินงานโดยมูลนิธิคุมครองสัตวปา และพรรณพืชแหงประเทศไทย ในพระราชินูปถัมภ สวนนกเปนกรงนก


ขนาดใหญ ๒ กรง ภายในมีนกพันธุที่หาชมไดยากมากกวา ๓๐ ชนิด มีการจัดสภาพแวดลอมภายในใหเหมือนธรรมชาติ อาทิ น้ําตก
และธารน้ําจําลอง มีปาจําลองที่รมรื่นใกลเคียงกับธรรมชาติ นอกจากนี้ยังมีสะพานแขวนใหนักทองเที่ยวเดินขึ้น
ไปชม และถายภาพนกจากดานบนของกรงไดอยางชัดเจน และบริเวณรอบ ๆกรงนกยังมีสัตวปาอื่น ๆ ใหชมอีกดวย เปดใหชมทุกวัน
ตั้งแตเวลา ๐๙.๐๐ -๑๙.๐๐ น. คาเขาชม ผูใหญ ๒๐ บาท เด็ก ๑๐ บาท

ศูนยศิลปาชีพบางไทร เปดใหเขาชมวันจันทร-ศุกร เวลา ๐๘.๓๐–๑๗.๐๐ น. วันเสาร อาทิตย วันหยุดนักขัตฤกษ เวลา


๐๘.๓๐–๑๘.๐๐ น. อัตราคาเขาชม ชาวไทย ผูใหญ ๕๐ บาท เด็ก ๒๐ บาท ชาวตางประเทศ ผูใหญ ๑๐๐ บาท เด็ก ๕๐ บาท
เที่ยวชมภายในหมูบานศิลปาชีพฯ "วังปลา" พิพิธภัณฑปลาน้ําจืดที่ใหญที่สุดในประเทศไทย อาคารฝก อบรมงานศิลปาชีพ "ศาลา
พระมิ่งขวัญ" ซึ่งเปนอาคารจําหนายผลิตภัณฑศิลปาชีพของนักเรียนศิลปาชีพ สักการะบูชาพระโพธิสัตวกวนอิมฯ ณ ศาลาโรงชาง
และนั่งรถไฟเล็ก ไดโดยไมเสียคาบริการสอบถามรายละเอียดที่ประชาสัมพันธศูนยศิลปาชีพบางไทร โทร. ๐ ๓๕๓๖ ๖๒๕๒-๔,
๐ ๓๕๒๘ ๓๒๔๖-๙ หรือ www.bangsaiarts.com
การเดินทาง
๑. เสนทางที่ ๑ ทางหลวงหมายเลข ๙ (ถ.วงแหวนตะวันตก) จากแยกทางหลวง ๓๔๕ (อ.บางบัวทอง) ซึ่งมาไดจาก จ.สุพรรณบุรี
-ตลิ่งชัน หรือปทุมธานี ผานแยกตางระดับสามโคก-ขามสะพานขามแมน้ําเจาพระยา-เลี้ยวซายทางแยกบอสา-เดินรถ
ตรงจนถึงศูนยฯ

๒. เสนทางที่ ๒ ทางหลวงหมายเลข ๓๐๖ (ถ.ติวานนท) จากหาแยกปากเกร็ด-ผานแยกสวนสมเด็จ-ผานแยกปากคลองรังสิต-ผาน


แยกบางพูน-เลี้ยวขวาที่แยกเทคโนฯปทุมธานีเขาทางหลวงหมายเลข ๓๔๗ (ปทุมธานี-บางปะหัน) ผานแยก
เชียงรากนอย-เลี้ยวซายทางตางระดับเชียงรากนอยเดินรถทางตรงผานแยกบอสา-กลับรถใตสะพานแมน้ํา
เจาพระยา-เลี้ยวซายทางแยกบอสา-เดินรถตรงมาจนถึงศูนย

๓. เสนทางที่ ๓ ทางดวนสายปากเกร็ดบางปะอิน-ลงทางดวนบางปะอินตรงผานแยกบอสา-กลับรถใตสะพานแมน้ําเจาพระยา-
เลี้ยวซายทางแยกบอสา-เดินรถตรงมาจนถึงศูนยฯ

๔. เสนทางที่ ๔ ทางหลวงหมายเลข ๑ (ถ.พหลโยธิน) จากรังสิตหรือภาคเหนือหรือภาคอีสาน-ผานแยกตางระดับบางปะอิน


เขาทางหลวงหมายเลข ๙ (ถ.วงแหวนตะวันตก) -ตรงผานแยกตางระดับเชียงรากนอย- เดินรถทางตรงผานแยกบอสา-
กลับรถใตสะพานแมน้ําเจาพระยา-เลี้ยวซายทางแยกบอสา-เดินรถตรงมาจนถึงศูนย

21
๕. เสนทางที่ ๕ ทางหลวงเอเชีย จาก อ.บางปะหัน-อยุธยา มาตามทางหลวงหมายเลข ๓๔๗ (ปทุมธานี-บางปะหัน)
-ขามสะพานขามแมน้ําเจาพระยา-แยกตางระดับเชียงรากนอยเลี้ยวขวา-เดินรถทางตรงผานแยกบอสากลับรถใตสะพานแมน้ํา
เจาพระยา-เลี้ยวซายทางแยกบอสา-เดินรถตรงมาจนถึงศูนยฯ

๖. เสนทางที่ ๖ ทางหลวงหมายเลข ๓๓๐๙ (บางปะอินเชียงรากนอย) จากทางหลวงสายเอเชีย หรืออยุธยา ผานหนาโรงงานกระดาษ


บางปะอิน-ลอดใตสะพานขามแมน้ําเจาพระยา-เลี้ยวซายทางแยกทาน้ําบางไทร- เดินรถตรงมาจนถึงศูนยฯ

อําเภอบางปะอิน
พระราชวังบางปะอิน อยูหางจากเกาะเมืองมาทางทิศใตประมาณ ๑๘ กิโลเมตร ประวัติความเปนมาตาม
พระราชพงศาวดารกลาววา พระเจาปราสาททองเปนผูสรางพระราชวังแหงนี้ เนื่องจากบริเวณเกาะบางปะอินเปนที่
ประสูติของพระองคและเปนเคหสถานเดิมของพระมารดาซึ่งเปนหญิงชาวบานที่สมเด็จพระเอกาทศรถทรงพบเมื่อครั้ง
เสด็จพระราชดําเนินโดยเรือพระที่นั่งแลวเรือเกิดลมตรงเกาะบางปะอิน พระเจาปราสาททองทรงพระกรุณาโปรดเกลา
ฯใหสรางวัดขึ้นบนเกาะบางปะอินตรงบริเวณเคหสถานเดิมของพระมารดาในปพ.ศ.๒๑๗๕ พระราชทานชื่อวา “วัด
ชุมพลนิกายาราม” และใหขุดสระน้ําสรางพระราชนิเวศนขึ้นกลางเกาะเปนที่สําหรับเสด็จประพาส แลวสรางพระที่นั่ง
องคหนึ่งที่ริมสระน้ํานั้นพระราชทานนามวา พระที่นั่งไอศวรรยทิพยอาสน
พระราชวังบางปะอินไดรับการบูรณะฟนฟูอีกครั้งในสมัยรัชกาลที่ ๔ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯให
สรางพระที่นั่งองคหนึ่งสําหรับเปนที่ประทับ มีเรือนแถวสําหรับฝายในและมีพลับพลาริมน้ํา ตอมาในสมัยรัชกาลที่ ๕
พระองคทรงโปรดเกลาฯใหสรางพระที่นั่งและสิ่งกอสรางตางๆขึ้น ดังที่ปรากฏใหเห็นในปจจุบันนี้ ซึ่งยังคงใชเปนที่
ประทับและตอนรับพระราชอาคันตุกะและพระราชทานเลี้ยงรับรองในโอกาสตางๆเปนครั้งคราว พระราชวังบางปะ
อินแบงออกเปน ๒ สวนคือ เขตพระราชฐานชั้นนอกและเขตพระราชฐานชั้นใน เขตพระราชฐานชั้นนอกใชเปนที่
สําหรับการออกมหาสมาคมและพระราชพิธีตางๆ สวนเขตพระราชฐานชั้นในใชเปนที่ประทับสวนพระองค
สิ่งที่นาสนใจในเขตพระราชวังชั้นนอกของพระราชวังบางปะอินมีดังนี้
หอเหมมณเฑียรเทวราช เปนปรางคศิลาจําลองแบบจากปรางคขอม พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา
เจาอยูหัวทรงโปรดใหสรางเมื่อ พ.ศ.๒๔๒๓ เพื่อทรงอุทิศถวายแดพระเจาปราสาททองกษัตริยกรุงศรีอยุธยา ภายใน
เปนที่ประดิษฐานพระรูปฉลองพระองคสมเด็จพระเจาปราสาททอง
พระที่นั่งไอศวรรยทิพยอาสน เปนพระที่นั่งปราสาทโถงทรงจตุรมุขอยูกลางสระน้ํา รูปแบบ
สถาปตยกรรมแบบไทย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงโปรดใหสรางเมื่อพ.ศ.๒๔๑๙ โดยจําลองแบบ
มาจากพระที่นั่งอาภรณพิโมกขปราสาทในพระบรมมหาราชวังที่กรุงเทพฯและพระราชทานนาม “ไอศวรรยทิพย
อาสน” ตามพระที่นั่งองคแรกซึ่งพระเจาปราสาททองโปรดเกลาฯ ใหสรางขึ้น เดิมพระที่นั่งสรางดวยไมทั้งองค ตอมา
รัชกาลที่ ๖ ทรงโปรดเกลาฯใหเปลี่ยนเสาและพื้นเปนคอนกรีตเสริมเหล็กทั้งหมด ปจจุบันเปนที่ประดิษฐานพระบรม
รูปหลอสัมฤทธิข์ องพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวในฉลองพระองคเต็มยศจอมพลทหารบก ซึ่ง
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯใหสรางขึ้น
พระที่นั่งวโรภาษพิมาน อยูทางตอนเหนือของ “สะพานเสด็จ” รัชกาลที่ ๕ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯให
สรางขึ้นเมื่อปพ.ศ.๒๔๑๙ เดิมเปนเรือนไมสองชั้นใชเปนที่ตั้งประทับและทองพระโรงรวมกันตอมาโปรดเกลาฯใหรื้อ
สรางใหมตามแบบสถาปตยกรรมตะวันตก กอดวยอิฐ ทรงวิหารกรีกแบบคอรินเธียรออรเดอร มีมุขตอนหนา ใชเปน
ทองพระโรงสําหรับเสด็จออกขุนนางในงานพระราชพิธี และเคยเปนที่รับรองแขกเมืองหลายครั้ง สิ่งที่นาชมภายใน
พระที่นั่งวโรภาษพิมานไดแก อาวุธโบราณ ตุกตาหินสลักดวยฝมือประณีตและภาพเขียนสีน้ํามันเปนเรื่องราวภาพชุด
พระราชพงศาวดาร อีกทั้งภาพวรรณคดีไทยเรื่องอิเหนา พระอภัยมณี สังขทอง และจันทรโครพ ตลอดจนเปนที่เก็บ
เครื่องราชบรรณาการตางๆ
22
สภาคารราชประยูร เปนตึกสองชั้นริมน้ํา ตรงขามพระที่นั่งวโรภาษพิมาน สรางเมื่อพ.ศ.๒๔๒๒ ใน
รัชกาลที่ ๕ สําหรับใชเปนที่ประทับของเจานายฝายหนา และขาราชบริพาร
สวนเขตพระราชฐานชั้นในเชื่อมตอกับเขตพระราชฐานชั้นนอกดวยสะพานที่เชื่อมจากพระที่นั่งวโรภาษ
พิมานกับประตูเทวราชครรไลซึ่งเปนประตูทางเขาพระราชฐาน สะพานนี้มีลักษณะพิเศษคือ มีแนวฉากคลายบานเกล็ด
กั้นกลางตลอดแนวสะพานเพื่อแบงเปนทางเดินของฝายหนาดานหนึ่งและฝายในอีกดานหนึ่งซึ่งฝายในสามารถมอง
ลอดออกมาโดยตัวเองไมถูกแลเห็น บริเวณพระราชฐานชั้นในประกอบดวยที่ประทับ พลับพลาและศาลาตางๆสิ่งที่
นาสนใจไดแก
พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร อยูทางทิศตะวันออกตรงขามกับสระน้ํา เปนพระที่นั่งเรือนไม สองชั้นตาม
แบบชาเลตของสวิส คือมีเฉลียงชั้นบนและชั้นลาง ทาสีเขียวออนและสีเขียวแกสลับกัน ภายในประดับตกแตงดวย
เครื่องเรือนไมมะฮอกกานีจัดสลับลายทองทับที่สั่งจากยุโรปทั้งสิ้น นอกนั้นเปนสิ่งของหายากในประเทศอันเปนเครื่อง
ราชบรรณาการจากหัวเมืองตางๆ ทั่วราชอาณาเขตรอบๆ มีสวนดอกไมสวยงาม เปนที่นาเสียดายอยางยิ่งที่พระที่นั่ง
อุทยานภูมิเสถียรไดเกิดเพลิงไหมขณะที่มีการซอมแซมเมื่อวันที่ ๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ ทําใหพระที่นั่งเสียหายไป
กับกองเพลิงหมดสิ้นทั้งองคคงเหลือแตหอน้ําลักษณะคลายหอรบของยุโรปเทานั้น ตอมาในปพ.ศ.๒๕๓๑ สํานัก
พระราชวังไดกราบบังคมทูลพระกรุณาขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตสรางขึ้นใหมตามแบบเดิมทุกประการแต
เปลี่ยนวัสดุจากไมเปนอาคารคอนกรีตแทน
พระที่นั่งเวหาศนจํารูญ พระที่นั่งองคนี้มีนามเปนภาษาจีนวา “เทียน เมง เตย” (เทียน=เวหา, เมง=จํารูญ
,เตย=พระที่นั่ง) พระยาโชดึกราชเศรษฐี(ฟก)เปนนายงานสรางถวายพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวในปพ.ศ.
๒๔๓๒ เพื่อเปนพระที่นั่งสําหรับประทับในฤดูหนาว พระที่นั่งนี้เคยใชเปนที่รับรองเจานายตางประเทศในสมัยรัชกาล
ที่ ๕ มีลักษณะเปนสถาปตยกรรมแบบจีนมีลวดลายแกะสลักงดงามวิจิตรยิ่ง โถงดานหนาปูดวยกระเบื้องแบบกังไส
เขียนดวยมือทุกชิ้น
เกงบุปผาประพาส เปนตําหนักเกงเล็กอยูกลางสวนริมสระน้ําในเขตพระราชวังชั้นใน สรางในสมัย
รัชกาลที่ ๕ เมื่อป พ.ศ. ๒๔๒๔
หอวิฑูรทัศนา เปนพระที่นั่งหอสูงยอดมน ตั้งอยูกลางเกาะนอยในสวนเขตพระราชวังชั้นใน ระหวาง
พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียรกับพระที่นั่งเวหาศนจํารูญ เปนพระที่นั่ง ๓ ชั้น มีบันไดเวียน เปนหอสองกลองชมภูมิ
ประเทศบานเมืองโดยรอบ สรางในสมัยรัชกาลที่ ๕ เมื่อป พ.ศ. ๒๔๒๔
อนุสาวรียสมเด็จพระนางเจาสุนันทากุมารีรัตน หรือเรียกเปนสามัญวา อนุสาวรียพระนางเรือลม ตั้งอยู
ทางดานทิศตะวันออกของพระราชวัง กอสรางดวยหินออนกอเปนแทง ๖ เหลี่ยม สูง ๓ เมตร บรรจุพระสริรังคารของ
สมเด็จพระนางเจาสุนันทากุมารีรัตน พระมเหสีในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว พรอมทั้งจารึกคําไวอาลัย
ที่ทรงพระราชนิพนธดวยพระองคเองไวทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
อนุสาวรียพระอัครชายาเธอพระองคเจาเสาวภาคยนารีรัตนและเจาฟาสามพระองคหรืออนุสาวรียราชา
นุสรณ ในปพ.ศ. ๒๔๓๐ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงเศราโศกเสียพระทัยเปนอยางยิ่งอีกครั้งหนึ่ง
ดวยทรงสูญเสียพระอัครชายาเธอฯ พระราชโอรส และพระราชธิดาถึง ๓ พระองค ในปเดียวกัน คือ สมเด็จพระเจา
บรมวงศเธอเจาฟาสิริราชกกุธภัณฑ เมื่อวันที่ ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๓๐ พระอรรคชายาเธอพระองคเจาเสาวภาคย
นารีรัตน เมื่อวันที่ ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๓๐ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอเจาฟาพาหุรัดมณีมัย เมื่อวันที่ ๒๗ สิงหาคม
พ.ศ. ๒๔๓๐ และสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอเจาฟาตรีเพ็ชรุตมธํารง เมื่อวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๓๐ ดังนั้นใน
ป พ.ศ. ๒๔๓๑ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสรางอนุสาวรียท่รี ะลึกทําดวยหินออนแกะสลักพระรูปเหมือนไวใกล
กับอนุสาวรียสมเด็จพระนางเจาสุนันทากุมารีรัตน พระบรมราชเทวี
การเดินทาง

23
รถยนต จากกรุงเทพฯ ใชเสนถนนพหลโยธิน เมื่อถึงประตูน้ําพระอินทรแลวใหขามสะพานวงแหวน
รอบนอกจะมีทางแยกโดยใหเลี้ยวซายประมาณบริเวณกิโลเมตรที่ ๓๕ ไปพระราชวังบางปะอินเปนระยะทางประมาณ
๗ กิโลเมตร หรือจะผานเขามายังตัวเมืองอยุธยาพอมาถึงเจดียวัดสามปลื้ม (เจดียกลางถนน) ใหเลี้ยวซายโดยผานวัด
ใหญชัยมงคล วัดพนัญเชิง ตัวอําเภอบางปะอินพอมาถึงสถานีรถไฟบางปะอินแลวใหเลี้ยวขวาไปตามเสนทางจนถึง
พระราชวังบางปะอิน
รถโดยสารประจําทาง มีรถโดยสารปรับอากาศกรุงเทพฯ-บางปะอิน ออกจากสถานีขนสงหมอชิต ถนน
กําแพงเพชร ๒ ทุกวัน สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมโทร. โทร. ๐ ๒๙๓๖ ๒๘๕๒-๖๖ สถานีขนสงอยุธยา โทร.๐
๓๕๓๓ ๕๓๐๔ หรือ www.transport.co.th
รถไฟ สามารถขึ้นรถไฟจากสถานีรถไฟหัวลําโพงมาสถานีรถไฟอําเภอบางปะอิน จากนั้นตอรถสองแถว
รถสามลอเครื่อง หรือรถจักรยานยนตไปยังพระราชวังบางปะอิน สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมโทร. ๐ ๒๒๒๓
๗๐๑๐,๐ ๒๒๒๓ ๗๐๒๐, ๐ ๒๒๐ ๔๓๓๔, ๐ ๒๒๒๐ ๔๔๔๔, ๑๖๙๐ สถานีรถไฟอยุธยา โทร. ๐ ๓๕๒๔ ๑๕๒๐
หรือ www.railway.co.th
พระราชวังบางปะอินเปดใหเขาชมทุกวัน เวลา ๐๘.๐๐–๑๗.๐๐ น. (เปดจําหนายบัตร ๐๘.๐๐–๑๖.๐๐ น.)
อัตราคาเขาชม ผูใหญ ๓๐ บาท เด็ก นักเรียน นิสิตนักศึกษา (ในเครื่องแบบ ตองมีบัตรประจําตัวนักศึกษา) ๒๐ บาท
พระภิกษุ สามเณร ไมเสียคาเขาชม ชาวตางประเทศ ๑๐๐ บาท นอกจากนี้ยังมีบริการเรือ River Jet ออกจากทาเรือ
พระราชวังบางปะอิน ลองรอบเกาะวัดนิเวศธรรมประวัติ ใชเวลาประมาณ ๒๕ นาที ระหวางเวลา ๐๙.๐๐-๑๕.๐๐ น.
(วันเสาร-อาทิตย ถึง ๑๖.๐๐น. เรือออกทุกชั่วโมง หยุดวันพุธ-วันพฤหัสบดี) สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมติดตอไดที่
สํานักพระราชวังบางปะอิน โทร. ๐ ๓๕๒๖ ๑๐๔๔, ๐ ๓๕๒๖ ๑๕๔๙, ๐ ๓๕๒๖ ๑๖๗๓
วัดนิเวศธรรมประวัติ ตั้งอยูบนเกาะกลางแมน้ําเจาพระยาฝงตรงขามกับพระราชวังบางปะอิน หลังจาก
เที่ยวชมพระราชวังบางปะอิน นักทองเที่ยวสามารถนั่งกระเชาขามแมน้ําไปเยี่ยมชมวัดนี้ได พระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกลาเจาอยูหัวโปรดใหสรางวัดนี้เมื่อพ.ศ.๒๔๑๙ เพื่อใชเปนที่ทรงบําเพ็ญพระราชกุศลตางๆ ขณะเสด็จประทับ
ที่พระราชวังบางปะอิน วัดนี้มีลักษณะพิเศษคือ มีการตกแตงเปนแบบตะวันตกพระอุโบสถคลายกับโบสถฝรั่งใน
ศาสนาคริสต มีหลังคายอดแหลมและชองหนาตางเจาะโคงแบบโกธิค ผนังอุโบสถเหนือหนาตางดานหนาพระ
ประธานประดับกระจกสีเปนพระบรมฉายาลักษณของรัชกาลที่ ๕ ฐานชุกชีที่ประดิษฐานพระประธาน “พระ
พุทธนฤมลธรรโมภาส”ทําเหมือนที่ตั้งไมกางเขนในโบสถคริสตศาสนา ดานขวามือของพระอุโบสถนั้นมีหอ
ประดิษฐานพระคันธารราฐซึ่งเปนพระพุทธรูปยืนปางขอฝน ตรงขามกับหอพระคันธารราฐเปนหอประดิษฐาน
พระพุทธรูปศิลาเกาแกปางนาคปรกอันเปนพระพุทธรูปสมัยลพบุรีฝมือชางขอมอายุเกานับพันป พระนาคปรกนี้อยูติด
กับตนพระศรีมหาโพธิ์ใหญที่แผกิ่งไปทั่วบริเวณหนาพระอุโบสถ ถัดไปไมไกลนักมีสวนหิน“ดิศกุลอนุสรณ”ซึ่ง
รวบรวมหินชนิดตางๆ เชน หินปูน หินทราย หินกรวด หินชนวน และยังเปนสถานที่บรรจุอัฐิของสมเด็จฯ กรมพระยา
ดํารงราชานุภาพ และอัฐิของเจาจอมมารดาชุม พระสนมเอกในรัชกาลที่ ๔ ซึ่งเปนพระมารดาของสมเด็จฯ กรมพระยา
ดํารงราชานุภาพ และมีอัฐิของเจานายราชสกุลดิศกุลอีกหลายองค
วัดชุมพลนิกายารามราชวรวิหาร อยูบริเวณหัวเกาะตรงสะพานขามไปยังสถานีรถไฟบางปะอิน ตําบล
บางเลน ดานเหนือติดกับพระราชวังบางปะอิน ดานตะวันตกติดกับแมน้ําเจาพระยา สมเด็จพระเจาปราสาททองโปรด
เกลาฯใหสรางวัดนี้ขึ้นเมื่อพ.ศ. ๒๑๗๕ บริเวณเคหสถานเดิมของพระราชชนนีของพระองค ตอมาขุนหลวงทายสระ
ซึ่งผนวชอยูที่วัดโคกแสงไดเสด็จมาปฏิสังขรณในครั้งกระนั้น และตอมาในสมัยรัตนโกสินทรไดรับการปฏิสังขรณ
อีกครั้งในสมัยรัชกาลที่ ๔ เมื่อพ.ศ.๒๔๐๖ ดังมีพระกระแสพระราชปรารภอยูในศิลาจารึกซึ่งติดอยูที่พระเจดียทั้งสอง
องคหลังพระอุโบสถ (แตปจจุบันอานไมออกเพราะลบเลือน) ในสมัยรัชกาลที่ ๕ พ.ศ.๒๔๕๑ ไดทรงปฏิสังขรณ ทรง
ซอมพระอุโบสถและพระวิหาร พระประธานปูนปนหินทรายในพระอุโบสถทั้ง ๗ พระองคและมีพระประวัติจารึก

24
แผนศิลาติดอยูตามผนังพระอุโบสถดวยทุกพระองค ในพระอุโบสถมีภาพเขียนพระพุทธประวัติ หอระฆังดานใต
พระอุโบสถมีระฆังขนาดใหญและเสียงดังมาก

อําเภอบางปะหัน
วัดไก ตั้งอยูที่ตําบลหันสัง จากตัวเมืองพระนครศรีอยุธยาไปประมาณ ๒๕ กิโลเมตร ไปตามทางหลวง
แผนดินหมายเลข ๓๒ จะเห็นทางเขาวัดอยูทางขวามือ เขาไป ๖๐๐ เมตร (ปากทางเขาจะมีปายสัญลักษณเปนรูปลิง) วัด
นี้เปนวัดเกาแกตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยา ตอมากลายเปนวัดรางภายหลังจากการเสียกรุงแกพมา ประมาณปพ.ศ.
๒๕๓๕ มีพระสงฆมาบูรณะและตั้งเปนสํานักสงฆขึ้น และในปพ.ศ. ๒๕๔๐ ไดรับพระราชทานวิสุงคามสีมาเปนวัด
และใหชื่อวา “วัดไก” เนื่องจากมีไกโดนโรคระบาดตายไปจํานวนมาก สวนฝูงลิงปาที่อาศัยอยูที่วัดนี้ไมมีใครบอกวา
อยูมาตั้งแตเมื่อใดเปน ลิงแสม หรือลิงกัง มีอยูเปนจํานวนมากแตเปนลิงที่มีนิสัยนารัก เชื่องไมดุราย
วัดตาลเอน เปนวัดที่มีฝูงคางคาวแมไกและนกน้ํานานาชนิดอาศัยอยูเปนจํานวนมากเชน นกกาน้ํา
นกเปดน้ํา นกกระยาง เปนตน แวดลอมดวยบรรยากาศรมรื่นและธรรมชาติอันเงียบสงบ ดานหลังของวัดติดกับคลอง
ชลประทานมีฝูงปลาน้ําจืดอาศัยอยูนานาชนิด การเดินทาง สามารถใชเสนทางหลวงหมายเลข ๓๒ ถนนสายเอเชีย ไป
จนถึงแยกอําเภอบางปะหันแลวเลี้ยวขวา จากนั้นใชทางหลวงหมายเลข ๓๔๗ ปากทางเขาวัดจะอยูทางขวามือและเขา
ไปอีก ๒ กิโลเมตร รวมระยะทางประมาณ ๒๐ กิโลเมตร

อําเภอนครหลวง
ปราสาทนครหลวง ตั้งอยูริมแมน้ําปาสักฝงทิศตะวันออก ในเขตตําบลนครหลวง เดิมเปนตําหนักที่
ประทับของกษัตริยในระหวางเสด็จไปนมัสการพระพุทธบาทสระบุรีและเปนที่ประทับแรมในระหวางเสด็จไปลพบุรี
สันนิษฐานวาสรางในสมัยสมเด็จพระเจาทรงธรรม แตมาสรางเปนที่ประทับกออิฐถือปูนในรัชสมัยสมเด็จพระเจา
ปราสาททองเมื่อพ.ศ.๒๑๗๔ พระองคโปรดใหชางถายแบบมาจากปราสาทศิลาที่เรียกวา“พระนครหลวง”ในประเทศ
กัมพูชา นํามาสรางใกลกับวัดเทพจันทรเพื่อเปนการเฉลิมพระเกียรติที่ไดกรุงกัมพูชากลับมาเปนประเทศราชอีก แต
สรางไมเสร็จสมบูรณดวยประการใดไมปรากฏ องคปราสาทสีเหลืองงดงาม ตอมาจึงมีผูสรางมณฑปและพระพุทธ
บาทสี่รอยขึ้นบนปราสาทนี้ สวนตําหนักที่สรางอยูขางปราสาทนี้ไดปรักหักพังไปหมดแลว สมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี ไดทรงพระกรุณาเสด็จพระราชดําเนินมาทรงประกอบพิธีฯเปดเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๘
หมูบานหัตถกรรมมีดอรัญญิก
ประวัติความเปนมา บานตนโพธิ์ บานไผหนอง เปนหมูบานที่มีประชาชนอาศัยอยูอยางหนาเเนน ตั้งอยู
หมูที่ ๖ และ ๗ ตําบลทาชาง อําเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทั้งสองหมูบานมีชื่อเสียงโดงดังเปนที่รูจักกัน
ไปทั่ว เพราะเปนเเหลงผลิตมีดที่ใหญแหงหนึ่งของประเทศที่ทํากันเปนล่ําเปนสันมาเกือบสองรอยป
กลุมชาติพันธุ ชาวบานตนโพธิ์และชาวบานไผหนอง รกรากถิ่นฐานเปนชาวเวียงจันทน ประเทศลาว
ไดเขามาอยูในประเทศไทยประมาณชวงตนกรุงรัตนโกสินทร ซึ่งชาวเวียงจันทนกลุมนี้สวนใหญมีอาชีพทางชาง มีชาง
ทําทองกับชางตีเหล็ก คือคนไหนเเข็งเเรงก็ไดตีเหล็ก คนไหนออนแอมีความละเอียดใหตีทองคํา เครื่องอาภรณประดับ
กาย การทํามาหากิน ในสมัยนั้นอาชีพทั้งสองทํากันเปนล่ําเปนสันตลอดมา ครั้นตอมาในราวพ.ศ. ๒๓๖๕ อาชีพ
ชางทองก็ไดเลิกลาสลายตัวไป คงเหลือเเตอาชีพตีมีดประเภทเดียว ชาวบานจึงยึดอาชีพตีมีดเปนอาชีพหลัก ไมได
ประกอบอาชีพอื่นปะปนเลย ขอสังเกตุที่เปนหลักฐานวาชาวเวียงจันทนกลุมนี้มีอาชีพชางทองคือ ถาเรานําดินที่ชุมชน
เเหงนี้ลงรอนในน้ําก็จะพบเศษทองและขี้ตะไบทองอยูทั่วไป
ความเปนมาการตั้งถิ่นฐาน เหตุที่ชาวเวียงจันทนกลุมนี้เขามาอยูในประเทศไทยจะโดยถูกกวาดตอนมา
ในสมัยเจาพระยามหากษัตริยศึกคราวยกทัพไปตีเมืองเวียงจันทนหรือจะเปนการอพยพมาเองนั้น ไมมีหลักฐานปรากฏ

25
ชัดเจนเเตมีหลักฐานบันทึกไววาเขามาโดยมีนายเทาเปนผูนํา ( ตอมาในสมัยรัชกาลที่ ๕ ไดพระราชทานบรรดาศักดิ์
เปน “ขุนนราบริรักษ” ) ไดเดินทางมาพบภูมิประเทศเเหงนี้ เปนที่เหมาะสมเเกการประกอบอาชีพคือ เดิมเปนดงไมไผ
ที่ขึ้นอยูหนาเเนน มีหนองน้ําและแมน้ําปาสักไหลผานสมัยนั้นไมมีถนนหนทางเหมือนปจจุบันนี้ ตองอาศัยทางน้ําเปน
ปจจัยสําคัญในการคมนาคมโดยเฉพาะ ไมไผเปนวัสดุที่สําคัญมากสําหรับชางตีมีด เพราะไมไผมีประโยชนอยูในตัว
ของมันนานับประการ เชน นํามาเผาถานใชเผาเหล็ก เพราะถานไมไผใหความรอนสูงกวาไมชนิดอื่น ตน ลํา ใชทํา
บานเรือน ที่อยูอาศัย ทําดามพะเนิน ดามคอนเเละดามมีด ซึ่งชางตีเหล็กตองใชอยูเปนประจํา จึงเห็นวาภูมิประเทศเเหง
นี้เปนอูขาวอูน้ําเเหลงทรัพยากรที่อุดมสมบูรณจึงพรอมใจกันลงหลักปกฐานเเละไดประชุมหารือกันตั้งชื่อบานของตน
วา “ บานไผหนอง” ใหเปนการเหมาะสมกับภูมิประเทศเเตกอนนั้น สําหรับบานตนโพธิ์ คนเกาคนเเกเลาวา เมื่อมาถึง
ทําเลนี้มีตนโพธิ์ใหญอยูกลางหมูบานจึงตั้งชื่อวา “บานตนโพธิ์” ครั้นกาลเวลาลวงมาบานเมืองเจริญขึ้นสภาพของ
หมูบานก็ไดเปลี่ยนเเปลงไป ดงไมไผที่ขึ้นอยูอยางหนาแนนก็โลงเตียนกลายเปนทองไรทองนา หนองน้ําก็ตื้นเขินไป
หมดเเลว

เกียรติประวัติของชุมชน
สมัยรัชกาลที่ ๓ เเผนดินสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว เมื่อราวพ.ศ.๒๓๖๙ เจาอนุวงศเวียงจันทนเสด็จมาถวาย
พระเพลิง พระบรมศพพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย ไดมาขอใหชาวเวียงจันทนกลับประเทศ เเตชาว
เวียงจันทนกลุมนี้ไมยอมกลับขออยูใตรมโพธิสมภาร เพราะพระองคใหความผาสุขรมเย็น พสกนิกรของพระองค
ตลอดมาก็มีความเจริญรุงเรืองมาเปนลําดับ ชื่อเสียงการตีมีดก็เลื่องลือไปทั่วสารทิศ ชาวบานจึงมีฐานะที่มั่นคง มีการ
อยูดีกินดี ดวยพระมหากรุณาธิคุณของลนเกลาลนกระหมอม
สมัยรัชกาลที่ ๕ แผนดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว พระองคทรงทราบวาบานตนโพธิ์ บานไผ
หนองเปนหมูบานตีมีด พระองคพรอมดวยพระบรมวงศศานุวงศไดเสด็จทอดพระเนตรการตีมีดของชาวเวียงจันทน
กลุมนี้ จึงไดปลูกพลับพลาที่ประทับอยางสมพระเกียรติ เเละไดเกณฑชาวบานมาทําการตีมีดใหพระองคทรง
ทอดพระเนตร พระองคทานสนพระทัยเเละทรงพอพระราชหฤทัยเปนอันมาก
ในสมัยรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ฯ ทรงเสด็จพระราชดําเนินเปนการสวนพระองค ทรง
ทอดพระเนตรการทํามีดอรัญญิก เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ .๒๕๑๙ เเละปพ.ศ.๒๕๓๑ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ
สยามบรมราชกุมารีเสด็จนํานักเรียนโรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลาฯ มาทอดพระเนตรการตีมีดเเละเมื่อป พ.ศ
๒๕๓๗ ทูลกระหมอมหญิงอุบลรัตนราชกัญญาฯ ทรงนําครอบครัวมาทัศนศึกษาการตีมีดที่ชุมชนเเหงนี้เชนกัน
ที่มาของคําวามีดอรัญญิก ในสมัยกอนมีตลาดรานคา มีโรงบอน อยูที่บานอรัญญิก ตําบลปากทา อําเภอ
ทาเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งอยูไมไกลจากหมูบานตนโพธิ์เเละหมูบานไผหนองมากนัก ระยะทางประมาณ ๓
กิโลเมตร มีผูคนนําสินคามาซื้อขายเเลกเปลี่ยนกันมากในยุคนั้นชาวบานก็นําเอามีดไปขาย เมื่อคนที่ซื้อไปใชเห็นวา
คุณภาพดีจึงบอกตอๆกันไปวามีดคุณภาพตองมีดอรัญญิก เลยเรียกติดปากไปหาซื้อมีดตองไปที่อรัญญิก ที่จริงเเลวทําที่
หมูบานตนโพธิ์ หมูบานไผหนองเเละหมูบานอื่นๆ ซึ่งเปนที่มาของคําวา “มีดอรัญญิก”
ลักษณะทั่วไปของผลิตภัณฑอรัญญิก ผลิตภัณฑมีดอรัญญิกในปจจุบัน มีอยูดวยกัน ๔ ตระกูล ไดแกมีด
ตระกูลเกษตรกรรม มีดตระกูลคหกรรม มีดตระกูลอาวุธ และมีดตระกูลอื่นๆแตละตระกูลสามารถจําแนกตามการใช
งานไดอีก ๑๒ ประเภท ซึ่งในแตละประเภทประกอบไปดวยชนิดของมีดตางๆอีกมากมายซึ่งหลากหลายไปตามขนาด
และความแตกตางของวัสดุที่ใชในการผลิต ของชิ้นสวนองคประกอบตางๆซึ่งจากการศึกษาปรากฏมีถึง ๒๗๔ ชนิด
ประเพณีเเละวัฒนธรรม มีประเพณีเเละวัฒนธรรมที่ไดถือปฏิบัติสืบทอดตอๆกันมาตั้งเเตสมัย
บรรพบุรุษ คือ งานมาฆบูชา บุญวิสาขบูชา บุญเขาพรรษา บุญกฐิน บุญตักบาตรดอกไม บุญสง
กรานต บุญเขาสลาก บุญออกพรรษา บุญมหาชาติ เปนตน ซึ่งถือไดวาเปนประเพณีเเละวัฒนธรรมของชนชาติไทย
ทั่วไปที่ปฏิบัติกันมาเปนประจํา เเตยังมีประเพณีหนึ่งที่ขาดไมไดเปนประเพณีที่นาประทับใจของชุมชนฯ เเละถือวา
26
เปนประเพณีที่สําคัญมากคือ การไหวครู หรือไหวครูบูชาเตา ซึ่งปกติเเลวจะทํากันทุกหมูบาน ไมมีใครเวนเลย เมื่อ
ทําบุญ บําเพ็ญกุศล ตรุษเเละสงกรานตเเละผูใหญจะประชุมหารือกําหนดวันไหวครูกัน สวนมากกําหนดวันขางขึ้น
เดือนหกตรงกับวันพฤหัสบดีเมื่อหารือกันดีเเลวทุกบานจะลงมือซอมเเซมเครื่องมือเครื่องใชตางๆใหเรียบรอยกอน
กําหนดหนึ่งหรือสองวันเเละทําความสะอาดเครื่องมือเเลวนํามาวางไวในที่อันสมควร เเละเตาเผาเหล็กจะตองปนกัน
ใหม เเละจัดเตรียมเครื่องสังเวยไหวครูอยางครบครัน มีเครื่องบูชาพระพุทธเเตงเปนขันหา พอรุงอรุณของวันพฤหัสบดี
เขาจะนําเครื่องบูชาเเละอาหารคาวหวานเปนเครื่องบูชา บูชาพระภูมิ เเมธรณี สวนเครื่องสังเวยตางๆที่ไดตระเตรียมไว
จะตองนํามาวางไวที่เครื่องมือ เเลวจัดทําพิธีสวดโองการเชิญเทพเจามาเปนศิริมงคล เเลวผูใหญในเรือนนั้นจะเรียก
ลูกหลานมาบูชากราบไหว ขอพรอันศักดิ์สิทธิ์อันเปนศิริมงคลเเกทุกคน สําหรับในวันนั้นทุกบานจะตอนรับทุกคน
ที่มาเยือน ชุมชนเเหงนี้ยังรักษาประเพณีนี้ไวเสมอ นับเปนประเพณีอันดีงามโดยเฉพาะในวันนั้นของเดือนเขาถือวา
เปนมงคล เรื่องอัปมงคลจะไมเกิดขึ้นเลย
การเดินทาง ปจจุบันการเดินทางสะดวกมาก มีรถยนตวิ่งถึงหมูบานเลยโดยจะตองเดินทางเขาสูจังหวัด
พระนครศรีอยุธยา จะมีรถประจําทางจอดอยูที่ตลาดเจาพรหม จะเห็นปายติดหนารถวา “ อยุธยาถึงทาเรือ” รถจะออก
จากตัวเมืองไปทางถนนสายเอเชีย (ทางหลวงเเผนดินหมายเลข ๓๒) เลี้ยวซายเขาถนนสายเอเชียไปทางจังหวัด
นครสวรรค เลยโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชฯไปประมาณ๑๐๐เมตร เลี้ยวซายลอดใตสะพานที่จะขามเเมน้ําปาสัก
เขาถนนสายอําเภอนครหลวงตลอดทางมีปายบอกที่ตั้งชุมชนฯ ทั้งสองเปนระยะ หรือถาอยากจะเดินทางไปโดยทางน้ํา
ก็ได โดยจะตองลงเรือในตัวจังหวัดที่หนาวังจันทรเกษม ยอนขึ้นไปตามเเมน้ําปาสัก ผานโรงงานวัตถุระเบิดชางเเสง
(ของกรมสรรพวุธทหารบก) เเละอําเภอนครหลวงตามลําดับ การเดินทางใชเวลาประมาณ ๒ ชั่วโมง ก็จะถึงชุมชนฯ
เมื่อไดเเวะไปชมก็จะไดรับการตอนรับดวยอัธยาศัยไมตรีจากชาวบานทั้งสองหมูบานเปนอยางดี

กิจกรรมที่นาสนใจ
โฮมสเตย กินอยูอยางไทยสัมผัสวิถีชีวิตไทย พักแรมที่บานชาวบานไดที่
คลองรางจระเข อยูริมคลองรางจระเข ในพื้นที่อําเภอเสนา นมัสการหลวงพอโตวัดรางจระเขอายุ ๔๐๐ ป
สรางในสมัยอยุธยา ชมอุทยานปลาหนาวัดรางจระเข แมวตาเพชรที่สํานักปฏิบัติธรรมปญญาโสภิต ลองเรือชม
ธรรมชาติและบานทรงไทยริมฝงคลอง บรรยากาศเงียบสงบ คาบริการชาวไทย ๕๐๐ บาท ชาวตางชาติ ๗๐๐ บาท รวม
อาหาร ๒ มื้อ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ จ.ส.ต.เริงไชย ฤกษบุปผา โทร.๐ ๙๘๘๑ ๑๐๔๒ และ ๐ ๑๒๕๑
๘๐๕๘
บางไทร อยูริมแมน้ํานอยในพื้นที่อําเภอบางไทร มีบานพัก ๕ หลัง รับนักทองเที่ยวพักคางคืนได ๒๕ คน
มีกิจกรรมลองเรือชมวิถีชีวิตชาวบานริมแมน้ํานอย ชมการตกกุง ตกปลา ลอยขาย และการผลิตสินคาหัตถกรรมการ
เปาแกวและถักแกว รวมกิจกรรมการทํานาขาวตามฤดูกาล สอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ คุณอุไร ศรีแกวอินทร
๐ ๑๖๘๔ ๓๑๘๖, E-mail: WATCHIRAPHAN_๓๒๘@hotmail.com

กิจกรรมขี่จักรยาน
ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีเสนทางที่สามารถขี่จักรยานไปตามสถานที่ทองเที่ยวตางๆไดหลาย
เสนทาง ไดแก
เสนทางชวงที่ ๑ เริ่มตนที่ สํานักงาน ททท. พระนครศรีอยุธยา-ศูนยศึกษาประวัติศาสตรฯ ระยะทาง
ประมาณ ๑ กิโลเมตร เดินทางจากฝงตรงขาม ททท. ออกรถตรงไปแลวเลี้ยวซายเขาถนนโรจนะ ผานพิพิธภัณฑสถาน
แหงชาติเจาสามพระยาและศูนยศึกษาประวัตศิ าสตรพระนครศรีอยุธยาซึ่งอยูฝงตรงขามพิพิธภัณฑ ควรใชเวลาอยูที่นี่
ประมาณชั่วโมงครึ่ง

27
เสนทางชวงที่ ๒ ศูนยศึกษาประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยา-วัดพระศรีสรรเพชญ ระยะทาง
ประมาณ ๒ กิโลเมตร จากศูนยศึกษาประวัติศาสตรฯ ใหเลี้ยวซายออกสูถนนโรจนะ ผานศาลากลางจังหวัดหลังเกา
แลวเลี้ยวขวาเขาสูถนนศรีสรรเพชญ ผาน ททท. และวัดเกษ ตรงไปเรื่อย ๆ จะเห็นวิหารพระมงคลบพิตรและวัดพระ
ศรีสรรเพชญอยูดานซายมือ ควรมีเวลาอยูที่นี่ประมาณ ๑ ชั่วโมง
เสนทางชวงที่ ๓ วัดพระศรีสรรเพชญ-วัดมหาธาตุ-วัดราชบูรณะ ระยะทางประมาณ ๑ กิโลเมตร จากวัด
พระศรีสรรเพชญใหตรงไปตามถนนนเรศวร ผานกลางระหวางวัดมหาธาตุและวัดราชบูรณะ และสามารถแวะชม
พิพิธภัณฑเรือไทยใกลๆนั้นได ควรใชเวลาที่วัดมหาธาตุและวัดราชบูรณะประมาณ ๑ ชั่วโมง
เสนทางชวงที่ ๔ พิพิธภัณฑเรือไทย-วัดหนาพระเมรุ ระยะทางประมาณ ๑ กิโลเมตร จากพิพิธภัณฑเรือ
ไทยใชเสนทางถนนชีกุนสายเดิมเลยไปจนถึงถนนนเรศวรใหเลี้ยวซายตรงไปถึงเจอทางแยกใหเลี้ยวขวาแลวตรงไป
และเลี้ยวซายอีกครั้งเขาสูถนนสายรอบเกาะเมือง ขับเลียบผานแมน้ําลพบุรีไปจนถึงวัดหนาพระเมรุ ควรมีเวลาชม
ความงามของพระอุโบสถ และองคพระประธานทรงเครื่องสมัยอยุธยาประมาณ ๑ ชั่วโมง
เสนทางชวงที่ ๕ วัดหนาพระเมรุ-วัดโลกยสุธา ระยะทางประมาณ ๑ กิโลเมตร จากวัดหนาพระเมรุให
เลี้ยวขวาไปตามถนนเลียบแมน้ําลพบุรี ระหวางทางดานซายมือจะเปนเขตพระบรมมหาราชวังของกรุงศรีอยุธยา ตรง
ไปเรื่อยๆ พอขามสะพานแลวใหเลี้ยวซายไปตามเสนทางเลียบคลอง ตรงไปเรื่อย ๆ จนมาถึงทางแยกเขาวัดโลกยสุธา
จึงเลี้ยวขวาเขาไป ควรใชเวลาประมาณ ๑๕ นาที หรือครึ่งชั่วโมง
เสนทางชวงที่ ๖ วัดโลกยสุธา-วัดไชยวัฒนาราม ระยะทางประมาณ ๒ กิโลเมตร จากวัดโลกยสุธาให
ยอนกลับดวยเสนทางเดิมที่เขามา จนออกปากทางถนนเลียบคลองทอจนถึงทางแยกขวามือ ผานสวนสมเด็จฯ ตรงไป
จนถึงสามแยกแลวใหเลี้ยวซายขามสะพานวัดกษัตราธิราชวรวิหารแลวเลี้ยวซายตรงไปตามเสนทางจะมองเห็นวัดไชย
วัฒนาราม ควรมีเวลาเดินชมความงามของวัดนี้ประมาณสักครึ่งชั่วโมง หรืออาจจะมีเวลามากกวานี้ก็ได
เสนทางชวงที่ ๗ วัดไชยวัฒนาราม-บานโปรตุเกส ระยะทางประมาณ ๔ กิโลเมตร จากวัดไชยวัฒนาราม
ปนไปตามทางถนนลาดยางเรื่อยๆจะผานบานเรือนไทยโบราณ จากนั้นใหเลี้ยวซายที่สามแยก เสนทางนี้จะผานวัดพุท
ไธศวรรย สุดทางสายนี้คือหมูบา นโปรตุเกส
เสนทางชวงที่ ๘ บานโปรตุเกส-วัดพุทไธศวรรย ระยะทางประมาณ ๒ กิโลเมตร จากบานโปรตุเกส
ยอนกลับเสนทางเดิมจนถึงวัดพุทไธศวรรย ควรใชเวลาที่นี่ประมาณครึ่งชั่วโมง
เสนทางชวงที่ ๙ วัดพุทไธศวรรย-สํานักงาน ททท. พระนครศรีอยุธยา ระยะทางประมาณ ๑ กิโลเมตร
จากวัดพุทไธศวรรยปนจักรยานผานโรงเรียนวัดพุทไธศวรรย แลวเลี้ยวซายไปทาเรือขามฟาก นําจักรยานขามฟากไป
อีกฝงหนึ่ง จากนั้นจึงเลี้ยวซายกลับไปทาง ททท.
นอกจากนั้นยังมีเสนทางที่สามารถขี่จักรยานไดอีกหลายเสนทาง เชน เสนทางไปหมูบานญี่ปุน วัดใหญ
ชัยมงคลและวัดพนัญเชิง เปนตน ติดตอสอบถามรายละเอียดเสนทางเพิ่มเติมไดที่สํานักงาน ททท. พระนครศรีอยุธยา
โทร. ๐ ๓๕๒๔ ๖๐๗๖-๗ และสามารถหาเชาจักรยานไดที่ สํานักงานตํารวจทองเที่ยวพระนครศรีอยุธยา บริเวณ
ดานหนาสถานีรถไฟ บริเวณตลาดเจาพรหมและตามเกสตเฮาสตางๆ ไดในอัตราคันละประมาณ ๓๐-๗๐ บาทตอวัน

กิจกรรมนั่งชาง
ปางชางอยุธยา แล เพนียด อยูตรงขามกับคุมขุนแผนในอุทยานประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยา มี
บริการขี่ชาง การแสดงชาง ใหอาหารชาง ทุกวัน เวลา ๐๙.๐๐-๑๗.๐๐ น. ราคาประมาณ ๑๐๐-๕๐๐ บาท ขึ้นอยูกับ
ระยะเวลา ๑๕ หรือ ๓๐ นาที สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่โทร. ๐ ๓๕๒๑ ๑๐๐๑, ๐ ๓๕๓๒ ๑๙๘๒, ๐ ๑๘๒๑
๗๐๖๕, ๐ ๑๘๕๒ ๔๕๒๗ หรือ www.ayutthayaelephantcamp.com หรือ www.saveelephant.com

28
บานชางอโยธยาและโชวงู ตั้งอยูที่ ๖๕/๑๒ ม.๗ ต.ไผลิง อ.พระนครศรีอยุธยา มีบริการนั่งชางลุยน้ํา
เขาปา ชมนกปาหลากหลายชนิดชมโบราณสถาน ไหวพระวัดมเหยงคณ บริการนั่งเกวียนเทียมวัวชมโบราณสถาน
และการแสดงโชวงูทุกวัน เวลา ๐๘.๐๐-๑๗.๓๐ น. ติดตอสอบถามขอมูลไดที่ ๐ ๓๕๒๔ ๕๓๓๖ , ๐ ๓๕๓๒
๓๗๗๗ โทรสาร ๐ ๓๕๒๔ ๕๒๔๕ หรือ www.cozun.com
ทองเที่ยวทางน้ํา มีบริการทองเที่ยวทางน้ําลองเรือชมทัศนียภาพและวิถีชีวิตความเปนไทยริมฝงแมน้ํา
เจาพระยา แมน้ําปาสัก และรอบเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา โดยการเชาเหมาเรือหางยาวไดที่ ทาน้ําหนา
พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ จันทรเกษม ทาเรือปอมเพชร และทาเรือวัดพนัญเชิง อัตราคาบริการจะขึ้นอยูกับระยะเวลา
และเสนทาง
ดังมีรายชื่อเรือทองเที่ยวดังนี้
รานอาหารเรือนรับรอง มีบริการนําเที่ยวชมเมืองพระนครศรีอยุธยาทางน้ํา เรือออกจากรานอาหารเรือน
รับรอง มีเสนทางตางๆ ใหเลือกดังนี้ ๑. เลียบชมเมืองพระนครศรีอยุธยา ๒. ชมพระราชวังบางปะอิน ๓. ชมศูนย
ศิลปาชีพบางไทร เรือบริการตั้งแตเวลา ๐๙.๐๐-๒๒.๐๐ น. ทุกวัน อัตราคาบริการเรือลองชมเกาะเมือง
พระนครศรีอยุธยา รวมอาหารและเครื่องดื่ม จํานวนตั้งแต ๑๐-๓๐ ทาน ราคาทานละ ๓๐๐ บาท เกิน ๓๐ ทาน ราคา
ทานละ ๒๘๐ บาทหากเชาเปนลํา ราคาลําละ ๑,๐๐๐ บาท (นั่งได ๘ ทาน ไมรวมอาหารและเครื่องดื่ม) สอบถาม
รายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ โทร. ๐ ๓๕๒๑ ๑๐๓๖ , ๐ ๑๙๙๔ ๑๕๖๕
เรือนาวานคร เปนเรือแบบโบราณ นํามาประยุกตใหเขากับบรรยากาศของเมืองหลวงเกา จัดนําเที่ยวชม
รอบเกาะอยุธยา ผานวัดตางๆ เชน วัดไชยวัฒนาราม วังสิริยาลัย และวัดตางๆอีกหลายวัด ใชเวลาประมาณ ๑ ชั่วโมง
ลําเล็กนั่ง ๘ คน ลําใหญนั่งได ๑๐ คน ราคาลําละ ๘๐๐ บาท เริ่มตั้งแตเวลา ๐๘.๐๐-๒๐.๐๐ น. สอบถามรายละเอียด
เพิ่มเติมติดตอ คุณชินธร โทร ๐ ๑๙๒๘ ๒๘๘๗ คุณวิไล โทร. ๐ ๑๖๕๘ ๙๑๔๘
Ayutthaya Boat Travel บริการเรือทองเที่ยวและจักรยานทองเที่ยวในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่โทร. ๐ ๒๙๕๐ ๒๘๒๒, ๐ ๑๔๕๖ ๙๘๖๒
ประดิษฐทองเที่ยวทางน้ํา บริการเรือยนตทองเที่ยวทางน้ํารอบเกาะอยุธยา ลงเรือที่ทาน้ําวัดพนัญเชิง
โทร. ๐ ๖๑๒๓ ๑๖๖๙
นอกจากนี้แลวยังมีเรือจากรานอาหารตาง ๆ บริการลองเรือพรอมนั่งรับประทานอาหารบนเรือ

ขอแนะนําในการเที่ยวชมวัด/พิพิธภัณฑ/โบราณสถาน
- ศึกษาขอมูลรายละเอียดสถานที่ตางๆกอนไป
- แตงกายใหสุภาพ สํารวมกิริยาวาจา
- ถอดรองเทาและเก็บใหเรียบรอยกอนเขาโบสถ เขตศาสนสถาน
- ติดตอวิทยากรผูใหความรู เชน พระชาวบานในทองถิ่น เจาหนาที่ผูดูแล
- ระมัดระวังไมใหไปถูกโบราณวัตถุโบราณสถาน แตกหักเสียหาย
- ไมควรเดินย่ําเขาไปในเขตหวงหาม หรือบนโบราณสถาน ไมควรจับ สัมผัส อาคารโบราณสถานโดย
เฉพาะสวนที่เปนลวดลายแกะสลักหรือภาพเขียนสี หรือนําสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่เปนชิ้นสวนของโบราณวัตถุ
โบราณสถานกลับไปเปนของที่ระลึก
- ขออนุญาตผูดูแลสถานที่กอนถายภาพ
- การถายภาพไมควรใชแสงแฟลชเพราะอาจทําใหโบราณวัตถุ โบราณสถานเสียหายได

29
เทศกาลงานประเพณี
งานประจําปศูนยศิลปาชีพบางไทร จัดเปนประจําทุกป ชวงปลายเดือนมกราคม ภายในบริเวณศูนยศิลปา
ชีพบางไทร อําเภอบางไทร มีการแสดงและประกวดผลงานดานศิลปาชีพ มีการจําหนายสินคาพื้นเมืองทั่วไป การ
แสดงศิลปวัฒนธรรมอันงดงาม
งานเทศกาลสงกรานต จัดขึ้นในวันที่ ๑๓ เมษายนของทุกป หนาวิหารพระมงคลบพิตร อําเภอ
พระนครศรีอยุธยา มีขบวนแหตามประเพณีของชาวอยุธยาและขบวนแหเถิดเทิง มีการสรงน้ําพระมงคลบพิตรจําลอง
การประกวดนางสงกรานต
พิธีไหวครูบูชาเตา เปน “พิธีไหวครู” ชางตีมีดตีดาบ ของชาวบานตนโพธิ์ บานไผหนอง และบานสาไล
ตําบลทาชาง อําเภอนครหลวง ซึ่งมีอาชีพในการตีมีดเปนที่รูจักกันทั่วไปวา“มีดอรัญญิก”
บรรพชนของชาวบานไผหนองและบานตนโพธิ์ ตําบลทาชาง อําเภอนครหลวงนั้นเปนชาวเวียงจันทน
เขามาตั้งรกรากอยูตั้งแตสมัยกรุงรัตนโกสินทร มีอาชีพในการตีทองและตีเหล็ก แตตอมาเลิกการตีทองจึงเหลือแตการ
ตีเหล็กเพียงอยางเดียว เหล็กที่ตีนี้สวนใหญทําเปนมีด ดาบ และอาวุธ ตลอดจนเครื่องใชอื่นๆ ซึ่งมีคุณภาพดีมากเมื่อทํา
เสร็จแลวก็นํามาขายที่หมูบานอรัญญิก ตําบลปากทา อําเภอทาเรือ จึงเรียกวา “มีดอรัญญิก” สิ่งที่ชาวตําบลทาชางทุก
คนยังคงถือสืบตอกันมาตามขนบประเพณีเดิมคือการ “ไหวครูบูชาเตา” ซึ่งทุกบานจะจัดบูชาในวันพฤหัสบดีชวง
เชาตรูของวันขึ้น ๗ ค่ํา ๙ ค่ํา ฯลฯ เดือน ๕ (ประมาณเมษายน-พฤษภาคม) ตามแตความสะดวก เพื่อระลึกถึงพระคุณครู
บาอาจารย และเพื่อความเปนสิริมงคลของตน ทั้งยังเปนการปดเปาอุปทวเหตุตาง ๆ ในการตีเหล็กอีกดวย
พอไดเวลาผูทําพิธีไหวครูก็จะกลาวบทชุมนุมเทวดาไหวพระรัตนตรัย จากนั้นก็จะกลาวบทอัญเชิญครูบา
อาจารยทั้งหลาย อันไดแก พระอิศวร พระนารายณ พระพรหม พระวิษณุกรรม พระมาตุลี พระพาย พระคงคา พระฤาษี
๘ องค ฯลฯ ตลอดจนบูรพาจารยทั้งครูไทย ครูลาว ครูมอญ ครูจีน ที่ไดประสิทธิ์ประสาทวิชาตีเหล็กใหแกตน มารับ
เครื่องบูชาสังเวย และประสาทพร แกผูเขารวมพิธีใหประสบแตความสุขความเจริญ แลวปดทองเครื่องมือทุกชิ้น ทํา
น้ํามนตธรณีสารประพรมเครื่องมือและผูเขารวมพิธี
งานลอยกระทงตามประทีปและแขงเรือยาวประเพณีศูนยศิลปาชีพบางไทร จัดเปนประจําทุกป ประมาณ
ปลายเดือนพฤศจิกายน ภายในบริเวณศูนยศิลปาชีพบางไทร อําเภอบางไทร มีการประกวดนางนพมาศ ประกวดขบวน
แห ประกวดกระทง ประกวดโคมแขวน การแสดงการละเลนพื้นบาน การแขงเรือยาวประเพณี เรือยาวนานาชาติ การ
จัดจําหนายผลิตภัณฑศิลปาชีพ
งานแสดงแสงเสียงอยุธยามรดกโลก เนื่องจากนครประวัติศาสตรพระนครศรีอยุธยา ไดรับการประกาศ
โดยองคการยูเนสโกใหเปนมรดกโลกทางวัฒนธรรม เมื่อวันที่ ๑๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๔ ทางจังหวัดจึงไดจัดใหมีการ
เฉลิมฉลองทุกป ในชวงเวลาดังกลาว เปนระยะเวลา ๗ วัน ในงานจะมีการแสดงชีวิตความเปนอยู ศิลปหัตถกรรม
วัฒนธรรม และประเพณีของไทย รวมทั้งการแสดงแสงเสียงเกี่ยวกับประวัติศาสตรของกรุงศรีอยุธยา
อยุธยามหามงคล (ไหวพระเกาวัด) จังหวัดพระนครศรีอยุธยารวมกับสมาคมธุรกิจทองเที่ยวและการ
ทองเที่ยวแหงประเทศไทย สํานักงานภาคกลาง เขต ๖ ไดจัดงานอยุธยามหามงคล (ไหวพระเกาวัด) เปนประจําทุกป
ในชวงเทศกาลเขาพรรษาหรือตามที่กําหนดในแตละป โดยนักทองเที่ยวสามารถเจารวมโครงการไดโดยขอรับหนังสือ
อยุธยามหามงคลที่ผานพิธีพุทธาภิเษกแลวไดที่ ศูนยทองเที่ยวอยุธยา(ศาลากลางหลังเกา)หรือที่เคานเตอร
ประชาสัมพันธ ศูนยการคาอยุธยาพารค โรงแรม/ รานอาหารในจังหวัดที่มีปายโครงการ จากนั้นเดินทางนมัสการสิ่ง
ศักดิ์สิทธิ์และประทับตราอยุธยามหามงคลในแตละสถานที่ตามเอกสารแผนที่ที่ไดจัดทําไวโดยมีรายชื่อสถานที่
ศักดิ์สิทธิ์พรอมแผนที่ในการเดินทาง เมื่อไหวพระครบ ๙ วัด หรือครบตามกําหนด จะไดรับเหรียญอยุธยามหามงคล
และลุนรับของรางวัล สอบถามขอมุลเพิ่มเติมไดที่ สมาคมธุรกิจทองเที่ยวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โทร.๐ ๓๕๒๑
๓๘๒๘-๙ ตอ ๑๐๑

30
สินคาพื้นเมืองและของที่ระลึก
ปลาตะเพียนสาน เครื่องแขวน ประวัติปลาตะเพียนใบลานผูผลิตปลาตะเพียนใบลานที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยาสวนใหญ
เปนชาวมุสลิมที่ประกอบอาชีพสานปลาตะเพียนใบลานและหัตถกรรมใบลานอื่น ๆ เปนอาชีพเกาแกทําสืบตอกันมาแตบรรพบุรุษ
นานกวา ๑๐๐ ป โดยสันนิษฐานวาชาวไทยมุสลิมรุนเกาแก ซึ่งเปนพวกที่ลองเรือคาขายเครื่องเทศ อยูตามแมน้ําเจาพระยาและอาศัย
อยูในเรือและเรือนแพ เปนผูประดิษฐปลาตะเพียนสานดวยใบลานขึ้นเปนครั้งแรก แรงบันดาลใจอาจจะมาจากความรูสึกผูกพันอยู
กับทองน้ําและสิ่งแวสดลอมรอบ ๆ ตัว ความคุนเคยกับรูปรางหนาตาของปลาตะเพียนเปนอยางดี โดยใชวัสดุจากทองถิ่น เชน
มะพราว ใบลาน ใบตาล ปลาตะเพียนที่สานดวยใบลานในสมัยกอนนั้นไมสวยงามและมีขนาดใหญโตเชนปจจุบันนี้ ปลาตะเพียน
รุนแรกที่สรางขึ้นเรียกวา “ ปลาโบราณ” โดยจะทําเปนตัวปลาขนาดเล็ก ๆ ขนาด ๒-๓ ตัวเทานั้น ปลาตะเพียนใบลานมักทาดวยสี
เหลืองซีด ๆ หลุดออกงาย นอกจากนั้นยังมีเพียง ๒-๓ ตัวเทานั้น ปลตะเพียนใบลานในระยะเริ่มแรกเปนปลาตะเพียนใบลานที่สาน
ไดหนึ่งตัวเทานั้น แลวนํามาทาสี สีที่ทําดวยวัตถุดิบตามธรรมชาติเรียกวา “รงค” ผสมกับน้ํามันวานิช แลวนําไปเสียบไมสําหรับหอย
แขวนเลยและปลาตะเพียนใบลานยังไมมีจํานวนมากเชนในปจจุบัน ปลาตะเพียนที่แขวนเหนือเปลเด็กนั้นสวนมากนิยมใชสีแดง
เพราะเปนสีเขมสะดุดตา เด็ก ๆ เห็นก็จะเบนความสนใจมาอยูกับสิ่งสะดุดตา อยากจะไขวควาตามประสาเด็ก เด็กไทยก็จะมีความ
ใกลชิดกับปลาตะเพียนสานตั้งแตยังเปนทารก คนไทยสมัยกอนมีความเชื่อวา ปลาตะเพียนเปนสิ่งดีมีศิริมงคล ทําใหเงินทองไหล
มาเทมา จึงนิยมนําปลาตะเพียนใบลานมาแขวนไวตามทางเดินหนาบาน นอกจากนั้นยังเชื่อวาการแขวนปลาตะเพียนตองแขวนให
พอดีกับระดับสายตาที่เด็กสามารถมองเห็นไดตรง ๆ ไมคอนไปทางหัวนอนหรือทางปลายเทา ซึ่งจะทําใหเด็ก มีนัยนตาไมปกติ
เพราะถาเด็กมองปลาตะเพียนนาน ๆ เด็กจะมีในตาชอนขึ้นเพราะถูกแมซื้อมารบกวน แตบางคนถือเคล็ดวาเพื่อใหลูกหลานโตเร็ว ๆ
มีลูกหลานมากมายเหมือนปลาตะเพียนที่แขวนไวก็ไดจะไดมีแรงงานใช

พัดสานไมไผ การจักสานพัดไมไผ อ.บานแพรก จ.พระนครศรีอยุธยา สวนใหญเปนการเรียนการสานพัดมาจากบรรพบุรุษ


ซึ่งในการเรียนสานพัดครั้งแรกนั้นจะเรียนการสานพัดแบบงาย ๆ มีลายคอนขางหยาบที่เรียกกันวา “พัดตาลปตร” โดยใชมือเย็บขอบ
พัด ขอบพัดในระยะแรกนั้นจะใชผาขาวเนื้อหยาบในการเย็บ ตอมาเริ่มใชผาริมทองเย็บขอบและริเริ่มทําพัดในรูปแบบใบโพธิ์
ลวดลายที่สานไดแก ลายเครือวัลย ลายดอกสีขาว ลายตะกรอ ลายสิบหกขั้นบันได ลายบั้งทหาร เปนตน สวนวัสดุอุปกรณที่ใช
เปนวัสดุที่หาไดงายไดแก ตอกไมไผสีสุก มีดจักตอก ผาเย็บริมทอง ผาขาว สีที่ใชยอมตอกไมไผ แบบตัดไม ไมไผสําหรับทําดาม
เปนตน

งอบใบลาน ประวัติความเปนมา งานจักสาน งอบใบลาน ถือเปนงานศิลปหัตถกรรม ที่มีการสืบทอดการทํามาตั้งแตอดีต


จนถึงปจจุบันของชาวอําเภอบางปะหัน งอบใบลานเปนงานที่ตองอาศัยความปราณีตละเอียดออนไมแพงานจักสานประเภทอื่น ๆ
ผูทําตองมีความชํานาญและความอดทน เนื่องจากการทํางอบมีหลายขั้นตอน ในปจจุบันถือเปนสินคาชุมชนหนึ่งตําบลหนึ่ง
ผลิตภัณฑ ของตําบลบางนางรา อ.บางปะหัน จ.พระนครศรีอยุธยา ซึ่งไดรับความนิยมจากชาวไทย ชาวตางประเทศ และมีการผลิต
ออกจําหนายยังตางจังหวัดทั่วประเทศไทย

โรตีสายไหม โรตีสายไหมเปนอาหารวางมีสวนประกอบที่สําคัญคือ แผนโรตี และสายไหม ชาวอิสลามเปนผูทํา


โรตีสายไหมขายถายทอดวิชากันสืบตอกันมา แหลงจําหนายบริเวณดานขางโรงพยาบาลประจําจังหวัดอยุธยาริมถนนอูทอง
และตามรานคาทั่วๆ ไป

31
รานจําหนายสินคาพื้นเมืองและของที่ระลึก
อําเภอพระนครศรีอยุธยา
บริเวณวิหารวัดพระมงคลบพิตรและบริเวณวัดพนัญเชิงวรวิหาร มีรานคามากมายหลายราน จําหนาย
ผลิตภัณฑพื้นเมืองแทบทุกชนิด เชน ปลาตะเพียน เครื่องจักสาน เครื่องหวาย มีดอรัญญิก ผลไมกวน และขนมชนิด
ตางๆ
ตลาดกลางเพื่อเกษตรกร ตั้งอยูริมถนนสายเอเซีย ที่ตําบลหันตรา หลังจากเที่ยวชมในจังหวัดอยุธยาแลวจะ
เดินทางกลับใหขับรถขามสะพานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชตรงไปทางฝงตะวันออกของเกาะเมืองแลวใหเลี้ยวซาย
ตรงไปจนถึงถนนสายเอเซีย เสนทางหลวงหมายเลข ๓๒ ไปไมไกลนักจะมีทางใหเลี้ยวขวาเขาไปจะเห็นตลาดกลางอยู
ทางซายมือก็จะพบกับสถานที่จําหนายผลิตภัณฑพื้นเมืองแทบทุกชนิดของจังหวัดเชน มีดอรัญญิกแทจากอําเภอนคร
หลวง พัดสานจากอําเภอบานแพรก ไมแกะสลักของอําเภอพระนครศรีอยุธยา เสื้อผาสําเร็จรูปจากอําเภอบางปะอิน
ปลารา ปลาแหงและผลไมกวนทุกชนิด ตลอดจนของขวัญของฝากหลากหลายจากทุกอําเภอ นอกจากนี้ยังมีรานอาหาร
ซึ่งมีกุงและปลาสดๆ รสชาติอรอยอยูหลายราน
ศูนยการคาอยุธยาพารค หางสรรพสินคาขนาดใหญ ตั้งอยูริมถนนสายเอเชีย ตําบลคลองสวนพลู สัมผัสวิถี
ชีวิต การคาขายและบรรยากาศตลาดน้ําที่จําลองไวในรม หลากหลายดวยรานคาชั้นนํา สินคาตางๆมากมาย ศูนยรวม
อาหารอรอยแมชอยนางรํา และยังสามารถชมการแสดงศิลปวัฒนธรรมไทยทุกวันหยุดเสาร-อาทิตย และวันหยุดนักขัต
ฤกษ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมโทร. ๐ ๓๕๒๒ ๙๒๓๔-๔๑ หรือ www.ayutthayapark.com
การทําหัวโขน ม.ล.พงษสวัสดิ์ ศุขสวัสดิ์ ด ๕ ถ.อูทอง ต.ทาวาสุกรี โทร.๐ ๓๕๒๔ ๕๗๕๙
การเขียนภาพจิตรกรรมไทย (ลงรักปดทอง) ศุภชัย นัยผองศรี ม.๓ ต.คลองสระบัว โทร. ๐ ๓๕๒๕ ๑๗๑๐,
๐ ๓๕๒๔ ๑๒๑๑
ปลาตะเพียน เกตุสุณี รุงสาตรา (หนาตลาดหัวแหลม) ด. ๑๖/๓ ถ.อูทอง ต.ทาวาสุกรี โทร. ๐ ๓๕๒๔
๓๔๘๑, ๐ ๓๕๒๔ ๓๗๗๐
ปลาตะเพียน วันทนี มีพลกิจ (หนาโรงเรียนประตูชัย) ต.ทาวาสุกรี โทร. ๐ ๓๕๒๑ ๑๑๗๒, ๐ ๙๖๗๓ ๘๘๐๑
โรตีสายไหม นิวัตน แสงอรุณ (บังบี) ๕๒ ม.๓ ต.ประตูชัย โทร. ๐ ๑๙๙๖ ๒๕๖๔
ผลิตภัณฑจากใบลาน (พัดสาน) พัชรี ศรีสนิท ๙๖/๕๔ ม.๒ ต.ประตูชัย โทร.๐ ๓๕๒๘ ๖๔๗๙ , ๐ ๓๕๒๔ ๔๖๔๕
รานสังคีตประดิษฐ เครื่องดนตรีไทยทุกชนิด ๙๗ ม.๔ หมูบานสหกรณครู (หมูบานวรเชษฐ) ถ.อยุธยา–เสนา ต.บานปอม
โทร. ๐ ๓๕๒๔ ๔๖๓๑, ๐ ๓๕๒๔ ๕๗๒๙
รานจําหนายหินแกะสลัก-เซรามิค สมบัติ อรุณเกษม ๘๓/๗-๘ ถ.ศรีสรรเพชญ โทร.๐ ๓๕๒๔ ๕๙๕๓
ดอกไมประดิษฐจากตนโสน สมหมาย มีศรีเรือง ๓๔/๔ ม.๓ ต.คลองสวนพลู โทร.๐ ๓๕๒๔ ๔๗๒๗

ขิมสีทอง สักดิ์เดชา สุวรรณภิงคาร ๖๓/๓ ม.๒ ต.บานเกาะ โทร.๐ ๙๘๐๘ ๑๑๔๒ ๐ ๑๙๔๗ ๘๗๑๐

ปลาตะเพียน ประพาส เรืองกิจ ๑๓ ม.๑ ต.ภูเขาทอง โทร. ๐ ๓๕๒๑ ๑๖๐๘ ๐ ๑๕๐๖ ๓๑๖๐

งานปนจิ๊ว เฉลิมเกียรติ รุงพานิชย ๑๔๗/๖ ม.๘ ต.ประตูชัย โทร. ๐ ๑๘๘๑ ๒๗๔๗ ๐ ๙๕๓๘ ๑๙๖๕

ธูป สมบัติ พึ่งนาย ๗ ม.๔ ต.หันตรา โทร. ๐ ๑๘๑๔ ๑๒๒๕


อําเภอนครหลวง
มีดอรัญญิก วินัย รวยเจริญ ๑๖๒/๓ ม.๗ ต.ทาชาง โทร. ๐ ๓๕๓๕ ๙๙๕๖, ๐ ๓๕๗๑ ๕๓๔๖
เครื่องใชบนโตะอาหาร บริษัท น.ว. อรัญญิก จํากัด ๔๘/๓ ม.๕ ต.แมลา โทร. ๐ ๓๕๓๕ ๙๖๕๗-๘

32
ศิลปประดับมุก ศตพร จันยะนัย ๑๐๐ ม.๕ ต.หนองปลิง โทร.๐ ๖๓๙๒ ๖๖๔๓ ๐ ๓๕๒๕ ๕๑๙๑
อําเภอบางปะหัน
งอบ
- ชิต จันทรงาม ม.๑ ต.บางเพลิง โทร. ๐ ๑๘๕๑ ๕๙๒๕
- ธาราวุฒิ จุลวงศ ม.๕ ต.บางนางรา โทร. ๐ ๓๕๓๐ ๑๑๗๐
- ประทุม รูแผน ๘๖ ม.๖ ต.บางปะหัน โทร. ๐ ๓๕๓๘ ๑๕๐๗
- เกษียร ผิวหอม ๓๑ ม.๑ ต.บางเดื่อ โทร. ๐ ๓๕๗๑ ๐๑๗๕
กระดง พะยอม แสงบุศย ม.๔ ต.บานมา โทร. ๐ ๓๕๗๑ ๐๓๗๙
กระจาด ถนอมศรี คุมจั่น ม.๒ ต.ตานิ่ม โทร. ๐ ๓๕๗๑ ๐๑๖๓
ผลิตภัณฑผักตบชวา สุนีย ทรูศิลป ๖๔ ม.๔ ต.หันสัง โทร. ๐ ๙๘๒๒ ๙๘๑๗
ผลิตภัณฑเรซินและกรอบรูปไมสัก นเรศ สุวรรณวงศ ๖๗ ม.๑ ต.บางเพลิง โทร. ๐ ๖๖๐๓ ๔๗๐๙
เครื่องดนตรีไทย เปา ทับสาคร ๒/๑ ม.๓ ต.ทับน้ํา โทร. ๐ ๑๘๓๖ ๗๔๗๔
เครื่องสําอางคสมุนไพร สดใส สนธีระ ๔๔/๘๘ ม.๕ ต.ขวัญเมือง โทร. ๐ ๓๕๓๐ ๑๔๘๘
ผลิตภัณฑธูปหอม ศศิภา สุขสมาน ๒๐ ม.๑ ต.เสาธง โทร. ๐ ๓๕๓๘ ๑๕๐๗
บานเรือนไทยยอสวนจากดิน รําพึง ศิลาสะอาด ๖ ม.๑ ต.ทางกลาง โทร. ๐ ๓๕๒๕ ๕๑๙๓
เรือนไทยยอสวนจากดิน ศิลปหัตถกรรมบานเรือนไทยยอสวนผลิตจากดิน ๔ ม.๑ ต.ทางกลาง โทร. ๐ ๑๗๗๖ ๓๐๗๓
แกะสลักโตะหมูบูชา อํานวย นอยโสภณ ม.๔ ต.พุทเลา โทร. ๐ ๓๕๗๑ ๓๔๒๗
ดอกไมประดิษฐ นฤมล กันตามระ ๕๖ ม.๒ ต.ขวัญเมือง โทร. ๐ ๓๕๓๘ ๑๐๒๙

อําเภอภาชี

หัวโขนจําลอง กลุมทําหัวโขนจําลอง ๔๔/๕ ม.๕ ต.ดอนหญานาง โทร. ๐ ๖๑๓๐ ๐๙๒๐

อําเภอบางซาย

เบญจรงคเคลือบมุก สมชาย เล็กสถิน ๖๑/๓ ม.๓ ต.เทพมงคล โทร. ๐ ๓๕๒๙ ๒๔๔๙ ๐ ๑๙๙๑ ๕๑๔๖

อําเภอบางไทร

แกวประดิษฐ ร.ต.ชัยพร ชํานาญ ๑๐๐/๓๘ ม.๑๐ ต.บางไทร โทร. ๐ ๓๕๓๗ ๑๒๐๘ ๐ ๑๘๐๗ ๔๖๒๘

อําเภอุทัย

ครกหินกลึง ผูผลิตกลุมผลิตภัณฑ ม.๑๒ ต.บานหีบ โทร. ๐ ๓๕๒๕ ๕๕๓๘

กลุมจักสาน “บานหัวเวียง” ๕๑ ม.๒ ต.หัวเวียง โทร. ๐ ๑๙๐๔ ๖๗๖๖ ๐ ๒๕๗๓ ๕๒๙๖

อําเภอบางปะหัน

การสรางบานเรือนไทย สมจิต สุขมะโน อ.บางปะหัน โทร.๐ ๑๖๑๗ ๗๘๒๕

กระเปาผักตบ สุนีย ทูรศิลป ๖๔ ม.๔ ต.หันสัง อ.บางปะหัน โทร. ๐ ๙๘๒๒ ๙๘๑๗


33
กรอบรูป นเรศ สุวรรณวงศ ๗๐/๑ ม.๑ ต.บางเพลิง อ.บางปะหัน โทร.๐ ๖๖๐๓ ๔๗๐๙

อําเภอเสนา

กระเปาหนังตอ กลุมอาชีพผลิตกระเปาหนังตอ ๖๑/๒ ม.๗ ต.รางจรเข อ.เสนา โทร. ๐ ๓๕๒๗ ๕๘๘๕ ๐ ๙๖๐๙ ๐๐๘๑
๐ ๙๖๖๘ ๘๗๐๓

กลุมจักสาน “บานหัวเวียง” ๕๑ ม.๒ ต.หัวเวียง อ.เสนา โทร. ๐ ๑๙๐๔ ๖๗๖๖ ๐ ๒๕๗๓ ๕๒๙๖

อําเภอวังนอย

ผาไหม คเณษ พาลีขํา ๔๑/๓ ม.๑ ต.พะยอม อ.วังนอย โทร. ๐ ๓๕๒๑ ๑๓๔๔ ๐ ๓๕๓๕ ๓๗๖๔ ๐ ๑๙๔๖ ๐๙๔๘

--------------------------------------------
ขอมูลรายละเอียดในเอกสารนี้อาจมีการเปลี่ยนแปลงได
สงวนลิขสิทธิ์ หากนําไปจัดพิมพเพื่อการจําหนาย
--------------------------------------------

จัดทําโดย

งานพัฒนาขอมูลทองเที่ยว
กองขาวสารการทองเที่ยว
การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

หากมีขอมูลเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติม
โปรดแจง งานพัฒนาขอมูลทองเที่ยว
โทร. ๐ ๒๒๕๐ ๕๕๐๐ ตอ ๒๑๔๑-๒๑๔๕
โทรสาร ๐ ๒๒๕๓ ๗๔๔๐

ใชบริการบริษัทนําเที่ยวที่มีใบอนุญาต
ทานจะไดรับการคุมครองตามกฎหมาย

ชวยใสใจสิ่งแวดลอมและเคารพวิถีไทย

ปรับปรุงขอมูล
เมษายน ๒๕๔๘

ขอขอบคุณแหลงที่มาของขอมูล
ไพฑูรย พงศะบุตร, ศาสตราจารยและวิลาสวงศ พงศะบุตร, ศาสตราจารย. คูมือการอบรมมัคคุเทศก,

34
พิมพครั้งที่ ๔, ศูนยการศึกษาตอเนื่องแหงจุฬาลงกรณ, ๒๕๔๐.
พระราชวังบางปะอิน,งานประชาสัมพันธและเผยแพรสํานักพระราชวัง,กรุงเทพฯ,๒๕๓๔.
เว็บไซต : www.ayutthaya.go.th

35

You might also like