You are on page 1of 3

การใช้ CAPM ประมาณการต้นทุนของเงินทุน

 การพิจารณาต้นทุนเงินทุนของเจ้าของตามแบบวิธี Discounted Cash Flow (DCF)


จะมีข้อจำากัดในเรื่องของสมมติฐานที่ตงั้ ขึ้น กล่าวคือ
จะกำาหนดไว้วา่ เงินปันผลที่จ่ายมีอัตราการเติบโตที่เพิ่มขึ้นทุกปี
และเพิ่มด้วยอัตราคงที่ ซึ่งข้อกำาหนดดังกล่าวไม่เหมาะสมกับสภาพความเป็นจริง
ดังนัน้ จึงมีการนำาวิธีทเี่ รียกว่า Capital Asset Pricing Model – CAPM
มาใช้ในการคำานวณ
 ภายใต้แนวคิด CAPM –
ค่าของทุนของเจ้าของจะเท่ากับอัตราผลตอบแทนแบบไม่มีความเสี่ยง +
ค่าชดเชยความเสี่ยงที่คำานวณขึ้นมาจากค่าเบต้าของหุ้นสามัญและค่าชดเชยความเสี่
ยงของตลาด ดังนัน้ ต้kนsทุ=นของหุ ( Rmญ−จะเท่
R f +้นสามั R fากั) ∗บ β

1
การใช้ CAPM ประมาณการต้นทุนของเงินทุน

k s = R f + ( Rm − R f ) ∗ β
โดยที่ Rf หมายถึง อัตราผลตอบแทนของหลักทรัพย์ที่ไม่มีความเสี่ยง
Rm หมายถึง อัตราผลตอบแทนของตลาด
β หมายถึง ดัชนีวัดความเสีย่ งของกิจการ

การประมาณค่า Rf นั้น จะมีหลักเกณฑ์ 2 ข้อ คือ ไม่มีความเสีย่ งในด้านการผิดนัดชำาระ (Default


Risk) และไม่มีความเสี่ยงในอัตราผลตอบแทนที่นำาไปลงทุนต่อ (Reinvestment Rate Risk)
ในบางประเทศ เช่น สหรัฐฯ จะใช้พันธบัตรรัฐบาล
แต่ทั้งนี้พันธบัตรรัฐบาลต้องมีสภาพคล่องสูงด้วย
กรณีที่ไม่มีพันธบัตรรัฐบาลหรือมีพันธบัตรแต่ไม่มีสภาพคล่อง
สามารถใช้อัตราดอกเบี้ยออมทรัพย์ที่ปรับด้วยค่าความน่าเชื่อถือของกิจการ
2
การใช้ CAPM ประมาณการต้นทุนของเงินทุน

k s = R f + ( Rm − R f ) ∗ β
การประมาณค่า Rm-Rf – หรือส่วนชดเชยความเสี่ยงจากการลงทุนในตลาด
ซึ่งเท่ากับผลตอบแทนส่วนเกินของตลาด กล่าวอีกนัยหนึ่ง
ค่า Rm-Rf = ผลตอบแทนของตลาดหักด้วยผลตอบแทนแบบไม่มีความเสีย่ ง
= ค่าเสียโอกาสของนักลงทุนในการนำาเงินมาลงทุนในตลาด
การชดเชยความเสี่ยง = ค่าเฉลี่ยของอัตราผลตอบแทนตลาดในอดีต

การประมาณค่า Beta ของหลักทรัพย์ I –


ค่าเบต้าเป็นการวัดการเคลื่อนไหวของอัตราผลตอบแทนหุน้ สามัญของบริษัทใดบริษัทหนึ่งเทียบกั
บการเคลื่อนไหวของอัตราผลตอบแทนของตลาดหลักทรัพย์โดยรวม
(ซึ่งมักจะใช้อตั ราที่ใช้ในตลาดหลักทรัพย์)
3

You might also like