You are on page 1of 13

บทที่ 4

ระบบการเงิน ตลาดการเงิน สถาบันการเงิน

ระบบการเงิน
คือการอำานวยความสะดวกในการโอน
เงินจากผูอ้ อมหรือ
สถาบันการเงินที่ให้กู้ ไปยังผูข้ อกู้
ตามปกติกลไกการโอนเงิน มี 2 ประเภท
 1. การให้กู้ยืมโดยตรง(Direct
Finance)คือ
การให้กู้แบบนี้ผู้ให้กู้ตอ้ งรับผิดชอบความเสี่ยงเ
อง เช่น นายเทียน
ซื้อหุ้นสามัญของบริษัทTesco Lotus
และ น.ส. บัว พนักงานขายบริษทั Tesco
Lotus
ต่อ
 2. การให้กู้ยืมโดยอ้อม (Indirect Finance
)คือการกู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินในระบบ เช่น
กู้ยืม จาก ธนาคารพาณิชย์ไทย
ธนาคารพาณิชย์ต่างชาติ บริษัทเงินทุน
บริษัทหลักทรัพย์ ธนาคารออมสิน
ธนาคารอิสลาม
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์
ตลาดการเงิน
ตลาดเงินในระบบ ตลาดเงิน
และตลาดทุน สำาหรับตลาดทุน
แบ่งเป็น ตลาดแรก กับ ตลาดรอง
ตลาดเงินนอกระบบ เช่นการเล่นแชร์

การพนันบอล การเล่นหวยใต้ดิน
ต่อ
 ตลาดการเงินแต่ละตลาดที่เกิดขึ้นชื่อของตลาดการเงินนั้น
ๆจะตั้งข้นตามวัตถุประสงค์ที่ใช้นั่นเอง เช่น ตลาดหนี้สิน
(พันธบัตรรัฐบาล ตั๋วเงินคลัง หุ้นกู้เอกชน
หุ้นกู้รัฐวิสาหกิจ) ตลาดหุน้ (หุ้นสามัญ
หุ้นบุริมสิทธิหุ้นด้อยสิทธิ)
ตลาดสินเชื่อ(ตลาดกู้ยมื ของระบบธนาคารพาณิชย์
ให้กู้ยมื ไม่จำากัดระยะเวลา)
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย(ซื้อขายตราสารทางกา
รเงินหรือหลักทรัพย์เก่าที่มีการซื้อขายมาแล้ว 1 ครัง้ เช่น
ความแตกต่างระหว่างตลาดเงินกับตลาดทุน
ระยะเวลาสั้นครบกำาหนดไถ่ถอน 1 -3ปี ระยะเวลาไถ่ถอนเกินกว่า 3ปีขึ้นไป

สถาบันการเงินประเภทธนาคารพาณิชย์ สถาบันการเงินที่ไม่ใช่ธนาคารพาณิชย์

ตราสารทางการเงินมีสภาพคล่องสูงและมีความเ ตราสารทางการเงินมีสภาพคล่องตำ่าและมีความเสี่ย
สี่ยงตำ่า งสูง
ให้รายได้ดอกเบี้ยที่แน่นอนแต่อตั ราดอกเบี้ยตำ่าก ผลตอบแทนที่ได้รับเป็นเงินปันผลหรืออัตราดอกเบี้
ว่า ยสูงกว่า
หลักทรัพย์ระยะสั้นได้แก่ ตั๋วเงินคลัง หลักทรัพย์ระยะยาว หุ้นกู้ หุน้ ทุน
ตั๋วสัญญาใช้เงิน ตัว๋ แลกเงิน พันธบัตรรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ
ให้กยู้ ืมเพื่อการค้าและเงินหมุนเวียน ให้กยู้ ืมเพื่อทุนและการขยายกิจการ

การขอกู้ใช้การต่อรองอัตราดอกเบี้ย ใช้หลักทรัพย์ประกันการขอกู้ยืม
ระบบการเงินประเทศไทยปัจจุบัน
 ตลาดเงินในระบบ ตลาดเงินนอกระบบ
 1.ตลาดเงิน 1. การเล่นแชร์
 2.ตลาดทุน 2. การเล่นหวยใต้ดิน
 3.ตลาดสินเชื่อ 3. การเล่นพนันบอล

*ตลาดการเงินทุกประเภทอยู่ภายใต้การกำากับและควบคุม
โดยธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.)*
FDI หรือสถาบันประกันเงินฝาก
 เป็นองค์กรอิสระให้ความคุม้ ครองกับผู้ฝากเงินรายย่อย
ในกรณีที่สถาบันการเงินประสบปัญหาทางการเงินหรือปิดกิจกา

 สถาบันการเงินสมาชิกของFDIจะเป็นผู้จ่ายค่าเบี้ยประกันเงินฝ

ากแทนผู้ฝากเงิน
 สถาบันการเงินที่เป็นสมาชิก ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ไทย

บริษัทเงินทุนบริษัทหลักทรัพย์ บริษทั เครดิตฟองซิเอร์ ฯลฯ


 FDI มีหน้าที่ตรวจสอบและกำากับดูแลสถาบันการเงินสมาชิก

 สถาบันประกันเงินฝากจะจัดตั้งขึ้นเพื่อทดแทนกองทุนฟื้นฟู
FDI สถาบันประกันเงินฝากในประเทศไทย
 เป็นเพียง พ.ร.บ. ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย ยังไม่ประกาศใช้
 สถาบันการเงินไทยในปัจจุบันมีปัญหาเงินกองทุนไม่เพียงพอ

 ในทางปฏิบัติสถาบันการเงินไทย

กับธนาคารแห่งประเทศไทยยังไม่สามารถตกลงกันได้
สำาหรับการจ่ายค่าเบี้ยประกันเงินฝาก
ในประเด็นที่ว่าระหว่างสถาบันการเงินสมาชิก กับผู้ฝากเงิน
ใครจะเป็นคนจ่ายค่าเบี้ยประกันเงินฝากให้กับ FDI
 ข้อดีของสถาบันประกันเงินฝาก คือ

สร้างความมั่นคงและรักษาเสถียรภาพของระบบการเงินไทย
ประเภทของตราสารทุน
 หุ้นสามัญ ผลตอบแทน คือ เงินปันผล
 หุ้นบุริมสิทธิ ผลตอบแทน คือ เงินปันผล
 หุ้นด้อยสิทธิ ผลตอบแทน คือ รายได้จากดอกเบี้ย
 ในกรณีธรุ กิจปิดกิจการ
ผูถ้ ือหุ้นบุริมสิทธิจะได้รับสิทธิเรียงร้องในเงินปันผลก่อนหุ้นสามัญ
ส่วนหุ้นสามัญมีสทิ ธิในการบริหารกิจการ
 หุ้นด้อยสิทธิไม่มีสทิ ธิในการบริหารงาน
ได้รับดอกเบี้ยเป็นผลตอบแทนการลงทุน
และไม่ต้องเสียภาษีรายได้จากดอกเบี้ยที่ได้รับ
ธนาคารพาณิชย์ไทยเป็นผู้ออกหุ้นด้อยสิทธิหรือตราสารหนี้ด้อยสิทธิใน
ช่วงวิกฤติการณ์การเงินไทยเมื่อ ประมาณ 3 หรือ 4 ปี ที่ผ่านมา
ประเภทของตราสารหนี้
 ออกโดยรัฐบาล ตั๋วเงินคลัง
พันธบัตรรัฐบาลระยะสั้นและระยะยาว
 ออกโดยธนาคารแห่งประเทศไทย หรือ รัฐวิสาหกิจไทย

พันธบัตรธปท. พันธบัตรกองทุนฟื้นฟูฯ พันธบัตรออมสิน


หุ้นกู้การปิโตรเลียมไทย และหุ้นกู้การบินไทย ฯลฯ
 ออกโดยระบบธนาคารพาณิชย์ ได้แก่ตราสารหนี้ด้อยสิทธิ

เช่นหุ้นกู้ด้อยสิทธิ
 ออกโดย ภาคเอกชนหรือภาคธุรกิจ เช่น หุ้นกู้เอกชน

พันธบัตรเอกชน หุ้นกู้การบินไทย หุ้นกู้ AIS หุ้นกู้ CP ฯลฯ


ตราสารหนี้แปลงสภาพ
 คือตราสารหนีท้ ี่ให้สิทธิผู้ถือตราสารหนี้แปลงสภาพจากการถือ
ตราสารหนี้เป็นตราสารทุน เช่น ถือหุ้นสามัญ
หรือหุ้นบุริมสิทธิแทน
 ตราสารหนี้ที่เกิดจาการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์

 ตราสารหนี้ที่มีความสำาคัญในเชิงเศรษฐกิจ

เป็นประโยชน์ต่อธนาคารพาณิชย์
ที่สามารถแปลงสินเชื่อผ่อนบ้าน สินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์
สินเชื่อเครดิตการ์ดให้เป็นหลักทรัพย์เป็นต้น
ทั้งนี้เพื่อลดภาระการดำารงเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงของธนา
ความเสี่ยงจากการลงทุนในตราสารหนี้
 การเปลี่ยนแปลงราคาอัตราดอกเบี้ยในตลาดการเงิน
(ตลาดเงินและตลาดทุน หรือตลาดเงินนอกระบบ)
 การคาดคะเนผลตอบแทนจากการลงทุนผิดพลาด

 การผิดนัดชำาระหนี้หรือการเสียเครดิต

 ตราสารหนี้ที่ถืออยู่เกิดขาดสภาพคล่องในการซื้อขายในตลาดรอ

งตราสารหนี้ (ราคาตก ไม่เป็นที่ต้องการของผู้ซื้อ)


 *การลงทุนในตราสารหนีถ ้ ึงแม้จะมีความเสี่ยง แต่มีขอ้ ดี คือ
นักลงทุนไม่ต้องเสี่ยงกับความผันผวนของราคาหลักทรัพย์เหมือ
นกับการลงทุนในตราสารทุน
และผู้ลงทุนจะได้รับผลตอบแทนในระยะเวลาที่กำาหนดแน่นอน

You might also like