You are on page 1of 23

159

บทที่ 12
ทรัพยสินทางปญญา

นอกจากวัตถุที่มีรูปรางอันเปนทรัพยซึ่งบุคคลถือเอาเปนกรรมสิทธิ์ไดแลว บุคคลยังมี
สิทธิใน วัตถุไมมีรูปรางที่กฎหมายยอมรับและคุมครองใหอีกดวย ซึ่งถือเปนทรัพยสินอยางหนึ่ง ที่
เรียกกันวา “ทรัพยสินทางปญญา” ไดแก กรณีที่กฎหมายคุมครองสิทธิในการสรางสรรคการ
ประดิษฐหรือการคิดคน สิ่งใหม ๆ มีดวยกัน 3 ประเภท คือ
1. ลิขสิทธิ์
2. สิทธิบัตร
3. เครื่องหมายการคา

1. ลิขสิทธิ์

ลิขสิทธิ์ (Copyright) หมายความวา สิทธิแตผูเดียวที่จะกระทําการใด ๆ เกี่ยวกับงาน ที่ผู


สรางสรรคไดทําขึ้น
กฎหมายลิขสิทธิ์มุงคุมครองงานที่บุคคลไดสรางสรรคขึ้นดวยตัวเอง ไมใหใครลอก หรือ
เลียนแบบ เอาไวใชประโยชนเพื่อให ผูสรางสรรค ซึ่งไดแก ผูทํา หรือกอใหเกิดงาน โดยความคิดริเริ่ม
ของ ตนเองไดประโยชนอยางเต็มที่ในงานสรางสรรคของตน และใหผูอื่นเคารพในสิทธิของผูสราง
สรรคนั้น
งานสรางสรรคที่ไดรับการคุมครองนี้ จะตองไมใชเปนเพียงแตความคิด แนวคิด หรือ
แนวเรื่อง แตตองเปนการแสดงออกซึ่งความคิด เปนการสรางสรรคโดยตนเอง เปนงานชนิดที่
กฎหมาย ยอมรับ แสดงออกในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง เชน บทละคร บทความ รูปภาพ หรือแบบ
พิมพ เปนตน ไมวาจะแสดงออกมาดวยการเขียนพิมพ ออกอากาศ เทศนา คําปราศรัยดวยเสียง ดวย
ภาพ หรือตัววิธีอื่นใด
160

งานที่ไดรับความคุมครอง
“งาน” ที่ไดรับความคุมครองนั้น คืองานสรางสรรคประเภทวรรณกรรม นาฏกรรม
ศิลปกรรม ดนตรีกรรม โสตทัศนวัตถุ ภาพยนตร สิ่งบันทึกเสียง งานแพรภาพ หรืองานอื่นใด อันเปน
งานในแผนก วรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร หรือแผนกศิลปะ
จากนิยามดังกลาว สามารถจําแนกงานสรางสรรค ที่ไดรับความคุมครองตามพระราช
บัญญัติ ลิขสิทธิ์ฉบับใหมนี้ ออกเปน 7 ประเภท ดังนี้คือ

1. งานวรรณกรรม
“งานวรรณกรรม” หมายถึงงานนิพนธที่ทําขึ้นทุกชนิด ไมวาแสดงออกมาโดยวิธี หรือ
ในรูปแบบอยางใด เชน หนังสือ จุลสาร สิ่งเขียน สิ่งพิมพ ปาฐกถา เทศนา คําปราศรัยสุนทรพจน และ
ใหหมายความรวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอรดวย
งานนิพนธไดแกเรื่องที่แตงขึ้น ไมวาจะเปนรอยกรองหรือรอยแกว เชน คําประพันธ
ตางๆ หรือการแสดงออกดวยภาพเชน การตูน รหัสตาง ๆ เรื่องแตงเปนนิยาย สารคดี ตาง ๆ รวมทั้ง
การเลา เหตุการณในอดีตและการทํานายเหตุการณในอนาคตดวย 5
สวน “โปรแกรมคอมพิวเตอร” นั้น หมายถึง คําสั่ง ชุดคําสั่งหรือสิ่งอื่นสิ่งใดที่นําไป
ใชกับเครื่องคอมพิวเตอร เพื่อใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางานหรือเพื่อใหไดรับผลอยางหนึ่งอยางใด ทั้ง
นี้ไมวาจะ เปนภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอรในลักษณะใด

2. งานนาฏกรรม
“งานนาฏกรรม” หมายถึง งานเกี่ยวกับการทํา การเตน การทําทา หรือการ
แสดง ที่ประกอบขึ้นเปนเรื่องราว และหมายความรวมถึงการแสดงโดยวิธีใบดวย
ลักษณะของงานนาฏกรรมนี้ จะตองประกอบขึ้นเปนเรื่องราวดวย กลาวคือ ลําพัง
ทาเตนทารําที่ไมไดประกอบขึ้นเปนเรื่องราว เชน ทาเตนในดิสโกเธค ไมอาจมีลิขสิทธิ์ได แตทา การ
เตนโขน เรื่องรามเกียรติ์หรือลิเกนั้น มีลักษณะเปนเรื่องราว จึงมีลิขสิทธิ์ได แมจะ ไมไดมีการบันทึกไว
ก็ตาม

3. งานศิลปกรรม
“งานศิลปกรรม” หมายถึง งานอันมีลักษณะอยางใดอยางหนึ่ง หรือหลายอยาง
161

ดังตอไปนี้ คือ
(1) งานจิตรกรรม ไดแก งานที่ประกอบดวย เสน เสียง แสง สี หรือสิ่ง
อื่นใด อยางหนึ่ง หรือหลายอยางรวมกันลงบนวัสดุเดียว เชน งานเขียนภาพ ภาพวาด เปนตน
(2) งานประติมากรรม ไดแก งานสรางสรรครูปทรงที่เกี่ยวกับปริมาตรที่
สัมผัส จับตองได เชน ภาพแกะสลักรูปตาง ๆ เปนตน
(3) งานภาพพิมพ ไดแก งานที่สรางขึ้นดวยกรรมวิธีทางการพิมพ เชน งาน
เขียนภาพตาง ๆ ที่ทํามาจากแมพิมพ เปนตน และรวมถึงแมพิมพหรือแบบพิมพที่ใชในการพิมพดวย
(4) งานสถาปตยกรรม ไดแก งานออกแบบอาคารหรือสิ่งปลูกสราง งาน
ออกแบบ ตกแตงภายในหรืองานสรางหุนจําลองของอาคารหรือสิ่งปลูกสราง เปนตน
(5) งานภาพถาย ไดแก งานสรางสรรคภาพที่เกิดจากการใชเครื่องมือบันทึก
ภาพ เชน ใชกลองภาพหรือกรรมวิธีใด ๆ ที่ทําใหเกิดภาพดวย
(6) งานภาพประกอบ แผนที่ โครงสราง ภาพราง หรือรูปทรงสามมิติที่
เกี่ยวกับ ภูมิศาสตร ภูมิประเทศ หรือวิทยาศาสตร
(7) งานศิลปประยุกต ไดแกงานที่นําเอางานตาม ขอ 1-6 มาดัดแปลงมา
ใชสอย นําไปตกแตงวัสดุหรือสิ่งของอันเปนเครื่องใช หรือนําไปใชเพื่อประโยชนการคา เชน นํางาน
จิตรกรรมภาพวาด หรือภาพถายมาพิมพลงในปกสมุด เสื้อผา หรือ พิมพลงในวัสดุ อื่น ๆ เชน แกว
ถวย ชาม หรือแผนกระเบื้อง

4. งานดนตรีกรรม
“งานดนตรีกรรม” หมายถึง งานที่เกี่ยวกับเพลงที่แตงขึ้น เพื่อบรรเลง หรือ ขับ
รอง ไมวาจะมีทํานองและคํารองหรือมีทํานองอยางเดียว รวมถึงหนังสือเพลง โนตเพลง หรือแผนภูมิ
เพลง ที่ไดแยก และเรียบเรียงเสียงประสานแลว

5. งานโสตทัศนวัสดุ งานภาพยนตร งานแพรเสียงแพรภาพ


“งานโสตทัศนวัสดุ” ไดแก เทปเพลง แผนเสียง วีดีโอเทป สไลด โทรทัศน
หรือ สิ่งอื่นใดที่สามารถบันทึกเสียงและหรือภาพไว อันสามารถที่จะนํามาเลนซ้ําไดอีก ทั้งนีไ้ ม
วา จะตองใชเครื่องมืออื่น ชวยดวยหรือไม
162

“งานภาพยนตร” ไมวาจะเปนภาพยนตรที่มีเสียงประกอบดวยหรือไม โดย


บันทึกลง ในวัสดุอยางใดเพื่อสามารถนําออกฉายไดอยางภาพยนตร
“งานแพรเสียงแพรภาพ” ไดแก งานที่นําออกสูสาธารณชนโดยการแพรเสียง
ทางวิทยุหรือแพรภาพทางโทรทัศน เปนตน

6. งานสิ่งบันทึกเสียง
“งานสิ่งบันทึกเสียง” หมายถึง งานอันประกอบดวยลําดับของเสียงดนตรี เสียง
การแสดงหรือเสียงอื่นใด โดยบันทึกลงในวัสดุไมวาจะมีลักษณะใดซึ่งสามารถนํามาเลนซ้ําไดอีก แต
ไมรวมถึงเสียงประกอบภาพยนตรหรือเสียงประกอบโสตทัศนวัสดุอยางอื่น

7.
งานนักแสดง
“นักแสดง” หมายถึง ผูแสดง นักดนตรี นักรอง นักเตน นักรํา และผูซึ่ง
แสดง ทาทาง รองกลาว พากย แสดงตามบท หรือในลักษณะอื่นใด

ผูมีลิขสิทธิ์
ตามหลักทั่วไปนั้น ผูมีลิขสิทธิ์ก็คือ ผูสรางสรรค หรือผูที่ไดใชความคิดสรางสรรคงาน
ขึ้นมา นั้นเอง แตอยางไรก็ตามมีอยูบางกรณีที่ผูสรางสรรคอาจละเมิดลิขสิทธิ์ในงานของตนเองก็ได
เชน ออกแบบ หรือวาดภาพขายใหคนอื่นไปแลวกลับทําซ้ําขึ้นแลวเอาไปขายผูอื่นอีกเปนตน หรืออาจ
เปน เพราะผูมีลิขสิทธิ์อาจจะไมใชผูสรางสรรคงานก็ได เชน รับมรดกมา หรือในบางกรณีผูสรางงาน
อาจ ขายโอน หรืออนุญาตลิขสิทธิ์ในงานนั้นใหแกบุคคลอื่นก็ได ดังนั้น นอกจากผูสรางสรรคเองแลว
บุคคลที่อาจมีสิทธิ์ในงานนั้นอาจไดแก

1. ผูรับโอนลิขสิทธิ์
ลิข สิทธิ์นั้น เปน ทรัพยสิน ทางปญญาอยางหนึ่งที่กฎหมายมุงคุมครองใหโดยไมให
บุคคลอื่นแสวงหาประโยชนจากความคิดสรางสรรคของผูสรางโดยไมชอบวิธีการที่บุคคลอื่นจะแสวง
หา ประโยชนจากงานสรางสรรคไดโดยชอบธรรมก็คือ การทํานิติกรรมซื้อลิขสิทธิ์หรือ ขออนุญาตใน
งาน สรางสรรคนั้นจากผูสรางสรรคดวยวิธีนี้ ผูซื้อลิขสิทธิ์หรือผูรับอนุญาตก็จะเปน ผูมีลิขสิทธิ์ตาม
กฎหมาย การโอนลิขสิทธิ์โดยนิติกรรมนี้ กฎหมายบังคับใหตองทําเปนหนังสือ และในการโอน
163

ลิขสิทธิ์นี้ เจาของลิขสิทธิ์คือผูสรางสรรคงานจะโอนลิขสิทธิ์ทั้งหมดหรือแตบางสวนหรือโดยมีกําหนด
เวลาก็ได 7
การโอนลิขสิทธิ์ กับ การอนุญาตใหใชสิทธิ์ นั้นตางกัน กลาวคือ การโอนลิขสิทธิ์
จะมีผลทําใหผูรับโอนไดไปซึ่งลิขสิทธิ์ในงานสรางสรรคนั้น แตการขออนุญาตใหใชสิทธินั้น มีผลแต
เพียงวา บุคคลผูไดรับอนุญาตนั้นอาจใชประโยชนจากงานสรางสรรคไดโดยไมถือวาเปนการ ละเมิด
ลิขสิทธิ์

2. ผูวาจางในสัญญาจางทําของ
งานที่ผูสรางสรรค ไดสรางสรรคขึ้นโดยการรับจางบุคคลอื่นตามสัญญาจางทําของ
นั้น หากมิไดตกลงกันไวเปนอยางอื่น ลิขสิทธิ์ในงานนั้นเปนของผูวาจาง เชน บริษัทออกแบบ
บาน, จางสถาปนิก ออกแบบบานสําเร็จรูปในแบบตาง ๆ กันเพื่อพิมพแบบบานนั้น ออกจําหนาย
เชนนี้ ลิขสิทธิ์ ในงานสถาปตยกรรมนั้นเปนของบริษัทผูวาจาง โดยถือหลักฐานวา ผูสรางงานเปนผูลง
แรง ผูวาจาง เปนผูลงทุน9

3. ลูกจางในสัญญาจางแรงงาน
งานที่ผูสรางสรรคไดสรางสรรคขึ้นในฐานะพนักงานหรือลูกจางตามสัญญาจาง แรง
งานนั้น หากมิไดทําเปนหนังสือตกลงกันไวเปนอยางอื่นแลวใหลิขสิทธิ์ในงานนั้นเปนของผูสรางสรรค
ซึ่งก็คือพนักงานหรือลูกจางนั้นนั่นเอง

4. กระทรวง ทบวง กรม หรือหนวยงานอื่นใดของรัฐหรือของทองถิ่น


งานสรางสรรคใดที่ไดสรางขึ้น โดยการจางหรือตามคําสั่ง หรือในความควบคุมของ
กระทรวง ทบวง กรม หรือหนวยงานอื่นใดของรัฐ ของทองถิ่น ใหลิขสิทธิ์ในงานนั้นตกเปน ของหนวย
งานดังกลาว เวนแตจะตกลงกันไวเปนอยางอื่น
ผูสรางสรรคและผูมีลิข สิทธิ์ใ นงานสรางสรรคทั้งหลายเหลานี้คือผูเสียหายในคดี
ละเมิด ลิขสิทธิ์นั้นเอง
164

เงื่อนไขของการไดมาซึ่งลิขสิทธิ์
งานใดจะมีลิขสิทธิ์ตามกฎหมายหรือไมนั้นพิจารณาจากความเปนจริงวาไดมีการ สราง
สรรคงานอันไดรับความคุมครองตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์หรือไม ทั้งนี้โดยไมตองจดทะเบียน ไม
ตองแสดงการสงวนลิขสิทธิ์ไว หรือทําตามแบบพิธีอยางใด หรือกลาวอีกนัยหนึ่ง ก็คือ การไดมาซึ่ง
ลิขสิทธิ์นั้นไมมีเงื่อนไขแตอยางใด เปนการไดมาตามความเปนจริง

การคุมครองสิทธิ์
งานสรางสรรคใดมีสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ผูสรางสรรคหรือผูมีลิขสิทธิ์นั้นยอม
มีสิทธิเดียวแตผูเดียวในการ
(1) ทําซ้ํา หรือดัดแปลง
(2) เผยแพรตอสาธารณชน
(3) ใหเชาตนฉบับ หรือสําเนางานโปรแกรมคอมพิวเตอร โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตรและ
สิ่งบันทึกเสียง
(4) ใหประโยชนอันเกิดจากลิขสิทธิ์แกผูอื่น
(5) อนุญาตใหผูอื่นใชสิทธิตาม (1) หรือ (2) หรือ (3) โดยจะกําหนดเงื่อนไขอยางหนึ่ง
อยางใดดวยหรือไมก็ได
ในกรณีที่เจาของลิขสิทธิ์ไดรับอนุญาตใหผูอื่นใชสิทธิตาม (5) ขางตนยอมไมตัดสิทธิ ของ
เจาของลิขสิทธิ์ที่จะอนุญาตใหผูอื่นใชสิทธิ์นั้นไดดวย เวนแตหนังสืออนุญาตจะมีขอหามไว

การละเมิดลิขสิทธิ์
ในเรื่องความคุมครองลิขสิทธิ์นั้น กฎหมายอนุญาตใหผูมีลิขสิทธิ์แตเพียงผูเดียวมีสิทธิ ที่
จะทําซ้ํา ดัดแปลงหรือเผยแพรตอสาธารณชน เพราะฉะนั้นหากบุคคลใดที่ไมมีลิขสิทธิ์และ ไมไดรับ
อนุญาตการทําการดังกลาว ใหถือวาการกระทํานั้นเปนการละเมิดลิขสิทธิ์

การทําซ้ํา หมายความวารวมถึงคัดลอกไมวาโดยวิธีใด ๆ เลียนแบบ ทําสําเนา ทําแม


พิมพ บันทึกเสียง บันทึกภาพ หรือบันทึกเสียงและภาพจากตนฉบับ จากสําเนา หรือ จากการโฆษณาใน
สวน อันเปนสาระสําคัญ ทั้งนี้ไมวาทั้งหมดหรือบางสวน เชน ลอกแบบบานของผูอื่น ลอกนวนิยาย
ของผูอื่น ลอกตําราของผูอื่น ฯลฯ การคัดลอกนี้แมจะเปนการคัดลอกเพียงบางสวน หากเปนสวนที่เปน
165

สาระสําคัญแลวก็ถือวา เปนการทําซ้ําเชนกัน แตถาการคัดลอกในสวนที่ไมใชสาระสําคัญ เชน คัด


ลอก ตัวอยางคําพิพากษาฎีกาจากตํารากฎหมายของผูอื่น ดังนี้ไมถือเปนการทําซ้ํา ดังนั้นจึงไมเปนการ
ละเมิด ลิขสิทธิ์
ในสวนที่เกี่ยวกับโปรแกรมคอมพิวเตอรใหหมายความถึงคัดลอกหรือทําสําเนาโปรแกรม
คอมพิวเตอรจากสื่อบันทึกใด ไมวาดวยวิธีใด ๆ ในสวนที่เปนสาระสําคัญ โดยไมมีลักษณะ เปนการจัด
ทํางานขึ้นใหมไมวาทั้งหมดหรือบางสวน

การดัดแปลง หมายความวา ทําซ้ําโดยเปลี่ยนรูปใหม ปรับปรุงแกไขเพิ่มเติม หรือ การ


จําลองงานตนฉบับในสวนอันเปนสาระสําคัญโดยไมมีลักษณะเปนการจัดทํางานขึ้นมาใหม ทั้งนี้ไมวา
ทั้งหมดหรือบางสวน เชน การแปล เปลี่ยนรูปวรรณกรรม หรือรวบรวมวรรณกรรม คัดเลือก และจัด
ลําดับใหม หรือปรับปรุงแกไขเพิ่มเติมโปรแกรมคอมพิวเตอร โดยไมใชลักษณะเปนการ จัดทําขึ้นใหม
เปลี่ยนงานที่ไมใชนาฏกรรมเปนนาฏกรรม หรือเปลี่ยนนาฏกรรมใหเปนงานที่ไมใช นาฏกรรม หรือ
การจัดลําดับเรียบเรียงเสียงประสาน หรือเปลี่ยนคํารอง หรือทํานองใหมในงาน ดนตรีกรรม เปนตน

การเผยแพรตอสาธารณชน หมายความวา ทําใหปรากฏตอสาธารณชน โดย การ


แสดง การบรรยาย การสวด การบรรเลง การทําใหปรากฏดวยเสียงและหรือภาพ การกอสราง การ
จําหนาย หรือโดยวิธีอื่นใดซึ่งงานที่ไดจัดทําขึ้น เชน เปดเพลงออกอากาศทางวิทยุกระจายเสียงโดยไม
ไดรับอนุญาต เปนตน
จะเห็นไดวาสาระสําคัญของการกระทําอันเปนการละเมิดลิขสิทธิ์นี้มุงที่จะสกัดกั้น การ
เปดเผยงานอันมีลิขสิทธิ์ตอสาธารณชนนั้นเองทั้งนี้เพราะการทําซ้ํา การดัดแปลง หรือ การโฆษณา
นั้นเปนทางที่จะใหประโยชนของผูสรางสรรคนั้น ตองถูกกระทบกระเทือน กฎหมายหาม การกระทํา
ดังกลาว
การกระทําอันเปนการละเมิดลิขสิทธิ์อีกทางหนึ่ง คือ การนําเอางานซึ่งรูวา ละเมิด
ลิขสิทธิ์ ออกขาย ใหเชา ใหเชาซื้อ เสนอขาย เสนอใหเชา เสนอใหเชาซื้อ ฯลฯ เชน การนําวิดีโอเทป
อันละเมิดลิขสิทธิ์ออกใหเชา หรือการขายตําราที่ละเมิดลิขสิทธิ์ของผูอื่น ดังนั้นเปนการละเมิด
ลิขสิทธิ์รวมทั้งการเผยแพรตอประชาชน แจกจายในลักษณะที่อาจกอใหเกิดความเสียหายแกเจาของ
ลิขสิทธิ์ นําหรือสงเขามาในราชอาณาจักร 15
166

ขอยกเวนของการละเมิดลิขสิทธิ์
งานอันจะถูกละเมิดไดนั้น ตองเปนงานที่กฎหมายรับรองใหมีลิขสิทธิ์ ดังนั้น ถาเปนงาน
ที่ไมไดรับความคุมครองหรือสิ้นอายุการคุมครองตามกฎหมายแลว การกระทําตองานนั้น ยอมไมเปน
การละเมิดลิขสิทธิ์
นอกจากนี้ยังมี (1) งานอันไมอาจมีลิขสิทธิ์ และ (2) ขอยกเวนของการละเมิดลิขสิทธิ์
1. งานอันไมอาจมีลิขสิทธิ์ งานอันไมอาจมีลิขสิทธิ์ มีดังนี้คือ
(1) ขาวประจําวันและขอเท็จจริงตาง ๆ ที่มีลักษณะเปนเพียงขาวสารอันมิใชงาน
ในแผนก วรรณคดี วิทยาศาสตรหรือศิลปะ
(2) รัฐธรรมนูญ กฎหมาย
(3) ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ คําสั่ง คําชี้แจง และหนังสือตอบโต
ของ กระทรวง ทบวงกรม หรือหนวยงานอื่นใดของรัฐหรือของทองถิ่น
(4) คําพิพากษา คําสั่ง คําวินิจฉัย และรายงานของทางราชการ
(5) คําแปล และการรวบรวมสิ่งตาง ๆ ตาม (1) – (4) ที่กระทรวง ทบวง กรม
หรือ หนวยงานอื่นใด ของรัฐหรือของทองถิ่นจัดทําขึ้น

2. การกระทําที่ถือเปนขอยกเวนของการละเมิดลิขสิทธิ์
การกระทําแกงานอันมีลิขสิทธิ์นี้ หากไมขัดตอการแสวงหาประโยชนจากงานอันมี
ลิขสิทธิ์ของเจาของลิขสิทธิ์เกินควร ก็ไมถือวาเปนการละเมิดลิขสิทธิ์ อยางไรก็ตาม การกระทํา ตอไป
นี้ไมถือวาเปนการละเมิดลิขสิทธิ์ กลาวคือ
(1) การกระทําเพื่อประโยชนในการศึกษามิใชหากําไร
การทําซ้ําหรือดัดแปลงที่มุงเพื่อประโยชนในการศึกษานั้น กฎหมายเห็น
ความสําคัญจึงกําหนดเปนขอยกเวนของการละเมิดลิขสิทธิ์ เชน การวิจัยหรือศึกษาวรรณกรรมชิ้น
หนึ่ง ผูวิจัยหรือผูศึกษาอาจจําเปนตองทําซ้ําซึ่งงานวรรณกรรมนั้นทั้งหมดหรือบางสวน เพื่อใชในการ
วิจัยหรือ ศึกษาหรือครูผูสอนทําซ้ําซึ่งตําราของผูอื่น เพื่อใชประโยชนในการสอนของตน หรือ
บรรณารักษหองสมุด ทําซ้ําซึ่งตํารา เพื่อไวใชในหองสมุด หรือนํางานนั้นมาในการถามและตอบในการ
สอบที่สําคัญ คือตองไมจัดทําขึ้นเพื่อหากําไร และไมทําใหเกิดความเสียหายแกเจาของลิขสิทธิ์เกินสม
ควร
167

(2) การกระทําเพื่อใชงานสวนตัว
การทําซ้ําหรือดัดแปลงเพื่อใชสวนตัว มิไดหวังที่จะเผยแพรหรือหาประโยชน
ทางการคากับงานสรางสรรคของผูอื่นนั้น สามารถทําได เพราะหลักของการละเมิดลิขสิทธิ์ มุงจะคุม
ครอง มิใหงานนั้นเผยแพรตอสาธารณชนจนอาจทําใหผูสรางสรรคเสียประโยชนที่พึงไดโดยชอบธรรม
การทําซ้ํา เพื่อใชกับตนเอง จึงไมเปนการละเมิดลิขสิทธิ์ เชน การถายเอกสารบทความของผูอื่น
หรืออัดเทปเพลง ไวเปดฟงเอง เปนตน
(3) การกระทําซ้ําเพื่อประโยชนของราชการ
การกระทําซ้ํา ดัดแปลง หรือนําออกแสดง ซึ่งอันมีลิขสิทธิ์เพื่อ
ประโยชน ในการพิจารณาของศาลหรือพนักงานเจาหนาที่ตามกฎหมาย ตลอดจนการรายงานผล
พิจารณาดังกลาว หรือการทําซ้ํา ใหแกบุคคลใด ๆ เพื่อประโยชนของทางราชการ โดยพนักงานเจาหนี้
ที่หรือคําสั่ง ของเจาพนักงานซึ่งงานอันมีลิขสิทธิ์และที่อยูในความครอบครองของราชการยอมทําได
โดยไมเปนการ ละเมิดลิขสิทธิ์
(4) การกระทําโดยรับรูความเปนเจาของลิขสิทธิ์ของผูอื่น
การกลาวอาง คัด ลอก เลียน หรือ อางอิงงานบางตอนตามสมควร จาก
งานอันมี ลิขสิทธิ์โดยการแสดงความรับรูถึงความเปนเจาของลิขสิทธิ์ของผูอื่น ยอมไมเปนการละเมิด
ลิขสิทธิ์

การใชลิขสิทธิ์ในพฤติการณพิเศษ
การแปลงานลิขสิทธิ์ตางประเทศ โดยบุคคลผูมีสัญชาติไทย เมื่อไดแสดงหลักฐาน วาได
ขออนุญาตใชสิทธิ์ในการจัดทําคําแปลเปนภาษาไทย หรือทําซ้ํางานที่ไดเคยจัดพิมพงานแปลเปน
ภาษาไทยดังกลาวจากเจาของลิขสิทธิ์ แตไดรับการปฏิเสธหรือเมื่อไดใชเวลาอันสมควรแลว แตตกลง
กันไมได บุคคลผูมีสัญชาติไทยนั้น อาจขออนุญาตใชสิทธิในการแปลวรรณกรรม หรือศิลปกรรม ดัง
กลาวเพื่อประโยชนในการเรียนการสอน หรือการคนควาที่ไมหากําไร ตอมาอธิบดีกรมทรัพยสิน ทาง
ปญญาถาเจาของลิขสิทธิ์มิไดจัดทํา หรืออนุญาตใหผูใดจัดทําคําแปลเปนภาษาไทยกอนนั้น หรือมีการ
จัดพิมพคําแปลงานนั้นเปนครั้งสุดทายเกินกวา 3 ปแลว ซึ่งไมเหลือในทองตลาด อธิบดีจะเปนผู
พิจารณา
168

อายุแหงการคุมครองลิขสิทธิ์
แมลิขสิทธิ์จะเปนสิทธิที่กฎหมายรับรองและคุมครองให เพื่อความเปนธรรมแกเอกชน
ในการใชประโยชนจากความคิดสรางสรรคของตน แตในขณะเดียวกัน กฎหมายก็ตองคํานึงถึง การสง
เสริมใหมีการคิดสรางสรรคงานเพิ่มขึ้น เพื่อความเจริญกาวหนาของสังคม การคุมครองลิขสิทธิ์ ที่
กฎหมาย รับรองใหแกผูสรางสรรคนั้น จึงเปนการคุมครองที่มีกําหนด ระยะเวลา หากสิ้นกําหนดเวลา
ตามที่กฎหมายกําหนดไว งานสรางสรรคนั้นจะตกเปนทรัพยสินสาธารณะไมมีผูใดมีลิขสิทธิ์อีกตอไป
โดยหลักทั่วไปแลว อายุแหงการคุมครองลิขสิทธิ์นั้นจะมีอยูตลอดอายุของผูสรางสรรค
และจะมีอยูตอไปอีกเปนเวลา 50 ป นับแตผูสรางสรรคถึงแกความตาย และในกรณีที่มีผูสรางสรรค
รวมอายุแหงการคุมครองลิขสิทธิ์ จะมีอยูตลอดอายุของผูสรางสรรครวม และมีอยูตอไปอีกเปนเวลา 50
ป นับแตผูสรางสรรครวมคนสุดทายถึงแกความตาย
การนํางานอันมีสิทธิ์ออกทําการโฆษณาภายหลังจากที่อายุแหงการคุมครองลิขสิทธิ์ สิ้นสุด
ลง ไมกอใหเกิดลิขสิทธิ์ในงานนั้น ๆ ขึ้นใหม

อายุความในการฟองคดีละเมิดลิขสิทธิ์
เมื่อมีกรณีละเมิดลิขสิทธิ์เกิดขึ้น ผูมีลิขสิทธิ์ซึ่งเปนผูเสียหายสามารถฟองคดีตอศาลได ทั้ง
คดีแพงและคดีอาญา
คดีอาญา
เนื่องจากคดีละเมิดลิขสิทธิ์เปนความผิดอันยอมความไดผูเสียหายจึงตองฟอง หรือ รอง
ทุกขภายใน 3 เดือน นับแตวันรูเรื่องความผิดและรูตัวผูกระทําความผิด (ป.อ. มาตรา 95(4)) มิฉะนั้น
คดีเปนอันขาดอายุความ
คดีแพง
การฟองรองคดีละเมิดลิขสิทธิ์ ตองฟองภายใน 3 ป นับแตวันที่ผูเสียหายรูถึงการละเมิด
และรูตัวผูทําละเมิด แตจะตองไมเกิน 10 ป นับแตวันละเมิดมิฉะนั้นเปนอันขาดอายุความ

บทกําหนดโทษตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์
1. ผูใดกระทําการละเมิดลิขสิทธิ์ หรือสิทธิของนักแสดงซึ่งเปนการทําซ้ําหรือดัดแปลง
เผยแพรตอสาธารณชนตองระวางโทษปรับตั้งแต 20,000 ถึง 200,000 บาท และถาการกระทําความ
169

ผิด ดังกลาวมีลักษณะเพื่อการคา ผูนั้นตองระวางโทษจําคุก 6 เดือน ถึง 4 ป หรือปรับตั้งแต


100,000 ถึง 800,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
2. ผูใดกระทําการละเมิดลิขสิทธิ์ โดยรูวาเปนงานดังกลาวเปนงานอันมีลิขสิทธิ์ ตอง
ระวางโทษปรับ ตั้งแต 10,000 บาท ถึง 400,000 บาท และถาผูนั้นกระทําไปเพื่อการคา ผูนั้นตอง
ระวางโทษจําคุกตั้งแต 3 เดือน ถึง 2 ป หรือปรับตั้งแต 50,000 ถึง 400,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

2. สิทธิบัตร

กฎหมายสิทธิบัตร บัญญัติขึ้นเพื่อคุมครองผูประดิษฐสิ่งใหม ๆ ในวงการอุตสาหกรรม


พาณิชยกรรมและเกษตรกรรม อันเปนการสงเสริมใหเกิดการวิจัย คนควาและประดิษฐสิ่งใหม ๆ ขึ้น
โดยมิใหผูใดมาละเมิด
“สิทธิบัตร” หมายความวา หนังสือสําคัญที่ออกใหเพื่อคุมครองการประดิษฐหรือออกแบบ
ผลิตภัณฑตามกฎหมายกําหนด
สิทธิบัตรเปนทรัพยสินอยางหนึ่ง ซึ่งผูทรงสิทธิใชอางยันตอบุคคลทั่วไปไดตาม
พระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 ซึ่งคุมครอง
1. การประดิษฐ
2. การออกแบบผลิตภัณฑ

2.1 สิทธิบัตรการประดิษฐ
“การประดิษฐ” หมายความวา การคิดคนหรือคิดทําขึ้น อันเปนผลใหไดมาซึ่งผลิตภัณฑ
หรือกรรมวิธีใหม หรือการกระทําใด ๆ ที่ทําใหดีขึ้น ซึ่งผลิตภัณฑหรือกรรมวิธี
การประดิษฐที่จะไดรับการคุมครองตามกฎหมายจะตอง (1) เปนการประดิษฐคิดคนขึ้น
ใหม (2) มีขั้นตอนการประดิษฐที่สูงขึ้น และ (3) สามารถนํามาประยุกตทางอุตสาหกรรม

(1) การประดิษฐขึ้นใหม
การประดิษฐขึ้นใหมกลาวคือ ตองไมเปนงานที่ปรากฏอยูแลว ตองเปนของ
แปลกใหม และหมายความรวมถึงการประดิษฐตอไปนี้ดวย
170

1.1 การประดิษฐที่มีหรือใชแพรหลายอยูแลวในราชอาณาจักรกอนวันขอรับ
สิทธิบัตรการประดิษฐที่ไดมีการเปดเผยสาระสําคัญหรือรายละเอียดในเอกสาร หรือสิ่งตีพิมพที่ไดเผย
แพร อยูแลว ไมวาในหรือนอกราชอาณาจักรกอนวันรับสิทธิบัตร และไมวาการเปดเผยนั้นจะทํา
โดยเอกสาร สิ่งพิมพ การนําออกแสดงหรือการเปดเผยตอสาธารณชนดวยประการใด
1.2 การประดิษฐที่ไดรับสิทธิบัตรไวแลว ไมวาในหรือนอกราชอาณาจักร กอน
วันขอรับสิทธิบัตร
1.3 การประดิษฐที่ขอรับสิทธิบัตรไวแลว นอกราชอาณาจักร เปนเวลาเกิน
กวา 12 เดือน กอนวันขอรับสิทธิบัตร แตยังมิไดมีการออกสิทธิบัตรให ฯลฯ
การประดิษฐที่มีการขอรับสิทธิบัตรไวแลว ในราชอาณาจักรและผูขอไดละทิ้ง
คําขอรับ สิทธิบัตร แตทั้งนี้ไมกระทบกระเทือนถึงสิทธิของผูประดิษฐรวมและบุคคลอื่นซึ่งมิใชผูยื่นคํา
ขอรับ สิทธิบัตร
อยางไรก็ตามการเปดเผยสาระสําคัญ หรือรายละเอียดที่เปนผลมาจากการกระทํา
ที่มิชอบดวยกฎหมาย หรือในการแสดงผลงานของผูประดิษฐในงานแสดงสินคาตอสาธารณชน ซึ่ง
กระทํา ภายใน 12 เดือน กอนมีการขอรับสิทธิบัตรไมถือวาเปนการเปดเผยตามกฎหมาย

(2) การประดิษฐที่มีขั้นตอนการประดิษฐสูงขึ้น
การประดิษฐที่มีขั้นตอนการประดิษฐสูงขึ้น ไดแก การประดิษฐที่ไมเปนที่
ประจักษ โดยงายแกบุคคลที่มีความชํานาญในระดับสามัญสําหรับงานประเภทนั้น

(3) การประดิษฐที่สามารถประยุกตใชในทางอุตสาหกรรม
การประดิษฐที่สามารถประยุกตในทางอุตสาหกรรม ไดแก การประดิษฐที่
สามารถ นําไปใชประโยชนในการผลิตทางอุตสาหกรรม และใหหมายความรวมทั้งหัตถกรรม เกษตร
กรรมและ พาณิชยกรรม

การประดิษฐที่ขอรับสิทธิบัตรไมได
การประดิษฐบางอยางประกอบดวยลักษณะดังที่ไดกลาวมาแลว แตอาจขอรับสิทธิบัตร
ไมได ถาหากประดิษฐนั้นมีลักษณะตองหามตามที่กฎหมายกําหนดไวซึ่งมีดังนี้ คือ
171

1. อาหาร เครื่องดื่มหรือยา หรือสิ่งผสมของยา


2. เครื่องจักรกลที่ใชในการเกษตรกรรมโดยตรง
3. สัตว พืช หรือกรรมวิธีทางชีววิทยาในการผลิตสัตวหรือพืชขึ้น
4. กฎเกณฑและทฤษฎีทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร
5. ระบบขอมูลสําหรับการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร
6. การประดิษฐที่ขัดตอความสงบเรียบรอยศีลธรรมอันดี อนามัย สวัสดิภาพของประชา
ชน
7. การประดิษฐที่กําหนดโดยพระราชกฤษฎีกา

ผูทรงสิทธิบัตรการประดิษฐ
ผูทรงสิทธิบัตรการประดิษฐ ไดแกผูไดรับการจดชื่อลงในทะเบียนสิทธิบัตรในขณะ ที่
ออกสิทธิบัตรใหหรืออาจกลาวไดวาเปนผูไดรับสิทธิหรือเจาของสิทธิบัตรนั้น ซึ่งไดแกบุคคล ดังตอ
ไปนี้
1. ผูประดิษฐ
2. ผูรับโอนสิทธิบัตร
3. นายจางของผูประดิษฐ
4. สวนราชการหรือวิสาหกิจ

1. ผูประดิษฐ
ผูประดิษฐ คือ ผูที่มีสิทธิขอรับสิทธิบัตร หรือเปนผูทรงสิทธิบัตรนั้นเอง เชน ผู
ที่ประดิษฐ หลอดไฟที่ใชพลังงานแสงอาทิตยหรือผูคนพบสวนผสมโลหะชนิดพิเศษ เปนตน กฎหมาย
คุมครองให ผูประดิษฐนั้น มีสิทธิ์แตผูเดียว ในการใชประโยชนจากสิ่งที่ตนเองคิดคนหรือประดิษฐ
บุคคลอื่นจะมา แสวงหาประโยชนจากงานประดิษฐนั้น โดยพลการไมได

2. ผูรับโอนสิทธิบัตร
ผูประดิษฐหรือผูทรงสิทธิบัตร อาจโอนสิทธิบัตรในการประดิษฐนั้น ใหแกผูอื่น
เพื่อให นําไปแสวงหาประโยชนจากงานผูประดิษฐนั้นได โดยอาจทําเปนนิติกรรม เชน ซื้อหรือใหเชา
172

หรือโอน โดยการรับโอนทางมรดก30 การโอนสิทธิดังกลาวจะสมบูรณก็ตอเมื่อไดทําเปนหนังสือและจด


ทะเบียน ตอพนักงานเจาหนาที่ตามที่กฎหมายกําหนด31 ผูรับโอนจึงเปนผูทรงสิทธิบัตรที่ถูกตอง
นอกจากการโอนสิทธิบัตรดวยวิธีการดังกลาวแลว ผูทรงสิทธิบัตรอาจใหบุคคลใด
ใชสิทธิตามสิทธิบัตรของตนก็ได32 แตจะกําหนดเงื่อนไข ขอจํากัดสิทธิ หรือคาตอบแทนในลักษณะ ที่
เปนการจํากัด การแขงขันโดยไมชอบธรรมไมได หรือจะกําหนดใหผูรับอนุญาต ใหใชสิทธิบัตร
ชําระคาตอบแทนสําหรับใชการประดิษฐ ตามสิทธิหลักจากสิทธิบัตรหมดอายุแลวไมได

3. นายจางของผูประดิษฐ
นายจางยอมเปนผูมีสิทธิขอสิทธิบัตรการประดิษฐ ซึ่งลูกจางไดประดิษฐขึ้น โดยการ
ทํางานตามสัญญานายจาง หรือโอนสัญญาจางที่มีวัตถุประสงคใหการประดิษฐนั้น เวนแตสัญญาจาง
ระบุไวเปนอยางอื่น
อยางไรก็ตาม เพื่อเปนการสงเสริมใหมีการประดิษฐคิดคนสิ่งใหม ๆ โดยลูกจาง
และเพื่อความเปนธรรมแกลูกจางในการประดิษฐงานใหมขึ้นมา กฎหมายกําหนดใหนายจางตองจาย
บําเหน็จพิเศษนอกเหนือ จากคาจางตามปกติ ใหแกลูกจาง และสิทธิที่จะไดรับบําเหน็จพิเศษนี้ จะ
ถูกตัดโดยสัญญาจางไมได

4. สวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ
ทํานองเดียวกันกับกรณีของลูกจาง เพื่อประโยชนในการสงเสริมการประดิษฐของ ขา
ราชการ หรือพนักงานรัฐวิสาหกิจ ในกรณีที่ขาราชการพนักงานเหลานี้ไดประดิษฐขึ้น ในหนาที่สิทธิ
ในงานประดิษฐดังกลาว กฎหมายใหตกไดแกหนวยงานนั้น ๆ แตใหขาราชการ พนักงาน องคการของ
รัฐ หรือรัฐวิสาหกิจนั้น มีสิทธิไดรับบําเหน็จพิเศษดวย
ผูขอรับสิทธิบัตรตาง ๆ ดังกลาวมานี้ จะตองเปนผูมีสัญชาติไทย หรือมีสัญชาติ ของ
ประเทศที่ยินยอมใหบุคคลสัญชาติไทยขอรับสิทธิบัตรในประเทศนั้นได
ในกรณีที่บุคคลหลายคนทําการประดิษฐรวมกัน บุคคลเหลานี้ยอมมีสิทธิขอรับ สิทธิ
บัตรรวมกันถาผูประดิษฐรวมกันบางคนไมยอมรวมขอรับสิทธิบัตร หรือติดตอไมได หรือไมมีสิทธิ รับ
สิทธิบัตรนั้น (เชนไมมีสัญชาติไทย) ผูประดิษฐคนอื่นจะขอรับสิทธิบัตรที่ไดทํารวมกันในนาม ของ
ตนเองก็ได
173

การออกสิทธิบัตรการประดิษฐ
เมื่อผูประดิษฐไดยื่นขอรับสิทธิบัตรในการประดิษฐ ที่ถูกตองตามกฎหมายแลว เจา
พนักงานจะตรวจสอบความถูกตอง และรับจดหมายทะเบียนการประดิษฐและออกสิทธิบัตร ใหแกผูขอ
รับสิทธิบัตรตอไป

การละเมิดสิทธิบัตรการประดิษฐ
ผูทรงสิทธิบัตรตามกฎหมายเทานั้น ที่เปนผูมีสิทธิใชหรือแสวงหาประโยชนจาก การ
ประดิษฐนั้น กลาวคือมีสิทธิ
(1) ผลิต ผลิตภัณฑตามสิทธิบัตร
(2) ใชกรรมวิธีตามสิทธิบัตร และ
(3) ขายหรือมีไวเพื่อขายผลิตภัณฑที่ผลิตหรือใชกรรมวิธีตามสิทธิบัตร
ถาผูกระทําการดังกลาวไมใชผูทรงสิทธิยอมเปนการละเมิดสิทธิบัตรมีโทษอาญาตาม
กฎหมาย และอาจถูกเรียกรองใหชดใชคาเสียหายได

ขอยกเวนการละเมิดสิทธิบัตรนั้น มีขอยกเวนที่ทําใหการกระทําไมเปนการละเมิด
สิทธิบัตรการประดิษฐไดดังนี้
(1) การผลิตผลิตภัณฑหรือใชกรรมวิธีตามสิทธิบัตร เพื่อประโยชนในการศึกษาคน
ควา ทดลองหรือวิจัย
(2) การผลิต ผลิตภัณฑ หรือใชกรรมวิธีดังที่ผูทรงสิทธิ์ไดจดทะเบียนไว ซึ่งผูผลิต
ผลิตภัณฑหรือผูใชกรรมวิธีดังกลาวไดประกอบกิจการ หรือมีเครื่องใชเพื่อประกอบกิจการดังกลาว โดย
สุจริตกอนวันประกาศโฆษณาคําขอรับสิทธิบัตร หรือ
(3) การกระทําใด ๆ เกี่ยวกับผลิตภัณฑที่ไดมาโดยสุจริต
(4) การเตรียมยาเฉพาะรายตามใบสั่งแพทย โดยผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือ
ผูประกอบโรคศิลปทั้งการกระทําตอผลิตภัณฑยาดังกลาว
(5) การกระทําใด ๆ เกี่ยวกับการขอขึ้นทะเบียนยาโดยผูขอมีวัตถุประสงคที่จะผลิต
จําหนาย หรือนําเขาผลิตภัณฑยาตามสิทธิบัตรจากสิทธิบัตรดังกลาวสิ้นอายุลง
174

อายุของสิทธิบัตรการประดิษฐ
กฎหมายกําหนดอายุของสิทธิบัตรการประดิษฐเอาไวเปนเวลา 20 ป นับแตวัน ขอรับ
สิทธิบัตรในกรณีที่มีการดําเนินคดีทางศาล เกี่ยวกับการที่บุคคลหลายคนยื่นขอสิทธิบัตรอยางเดียวกัน
ใหหักระยะเวลาในระหวางการดําเนินคดีดังกลาวออกจากอายุของสิทธิบัตรนั้น
สวนอายุความในการฟองรองดําเนินคดีเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิบัตรนั้น พ.ร.บ. สิทธิบัตร
ไมไดกําหนดไวโดยเฉพาะ จึงตองใชอายุความฟองรองทั่วไปคือ 1 ป แตไมเกิน 10 ป ตามประมวล กฎ
มายแพงและพาณิชย มาตรา 448

2.2 สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ
“แบบผลิตภัณฑ” ตามกฎหมาย หมายความวา รูปรางของผลิตภัณฑหรือองคประกอบ
ของลวดลาย หรือสีของผลิตภัณฑอันมีลักษณะพิเศษสําหรับผลิตภัณฑซึ่งสามารถใชเปนแบบสําหรับ
ผลิตภัณฑอุตสาหกรรมรวมทั้งหัตถกรรมได
แบบผลิตภัณฑจึงไดแกลักษณะภายนอกของผลิตภัณฑที่จะผลิตออกมา จึงตางจาก สิทธิ
บัตรการประดิษฐ เพราะไมเกี่ยวกับกลไก หรือ กรรมวิธีในการผลิต แตแบบผลิตภัณฑที่จะนํามาขอรับ
สิทธิบัตรไดนี้ ตองเปนการออกแบบผลิตภัณฑใหม เพื่ออุตสาหกรรม รวมทั้งหัตถกรรม
อยางไรก็ตามการออกแบบผลิตภัณฑดังตอไปนี้ไมถือวาเปนการออกแบบผลิตภัณฑใหม
คือ
(1) แบบผลิตภัณฑที่มี หรือใชอยางแพรหลายอยูแลวในราชอาณาจักร กอนวันขอรับ
สิทธิบัตร
(2) แบบผลิตภัณฑที่ไดมีการเปดเผยอยูภาพสาระสําคัญ หรือรายละเอียดในเอกสารหรือ
สิ่งพิมพ ไดผลแพรอยูแลว ไมวาในหรือนอกราชอาณาจักรกอนวันขอรับสิทธิบัตร
(3) แบบผลิตภัณฑที่คลายกับแบบผลิตภัณฑ ดังกลาวใน (1) หรือ (2) จนเห็นไดวา
เปนการเลียนแบบ
(4) แบบผลิตภัณฑที่เคยมีประกาศโฆษณามาแลว กอนวันขอรับสิทธิบัตร
นอกจากนี้ การออกแบบผลิตภัณฑใหมที่ตองหามตามกฎหมาย หรือที่มีลักษณะขัดตอ
ความสงบเรียบรอยฯ จะขอรับสิทธิบัตรไมได
175

ผูทรงสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ
ผูทรงสิทธิบัตรการออกแบบการผลิต ยอมไมมีสิทธิใชแบบผลิตภัณฑตามสิทธิบัตร หรือ
ขายหรือมีไวขาย ซึ่งผลิตภัณฑที่ใชแบบผลิตภัณฑดังกลาว หากกระทําลงไปยอมเปนการละเมิด การ
ออกแบบผลิตภัณฑนั้น

อายุของสิทธิบัตรในการออกแบบผลิตภัณฑ
กฎหมายกําหนดคุมครองไวสิบป นับแตวันขอรับสิทธิบัตร แตในกรณีที่มีการดําเนินคดี
เกี่ยวกับการที่มีผูอางสิทธิหลายคน ในการยื่นขอรับสิทธิบัตรรายเดียว ใหหักดําเนินคดีออกจากอายุ ของ
สิทธิบัตรนั้น

บทกําหนดโทษตามพระราชบัญญัติสิทธิบัตร
1. เจาพนักงานผูมีหนาที่เกี่ยวกับการขอรับสิทธิบัตรเปดเผยรายละเอียด การประดิษฐ
หรือ ยอมใหบุคคลใดตรวจหรือคัดสําเนารายละเอียดการประดิษฐไมวาโดยวิธีใด ๆ กอนมีการโฆษณา
ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน 2 ป ปรับไมเกิน 200,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
2. บุคคลใดซึ่งรูอยูวาการประดิษฐนั้น ไดมีผูยื่นคําขอรับสิทธิบัตรไวแลว เปดเผย
รายละเอียดการประดิษฐไมวาโดยวิธีใด ๆ อันอาจจะกอใหเกิดความเสียหายแกผูขอรับสิทธิบัตร กอนมี
การประกาศโฆษณาตามมาตรา 28 ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน 6 เดือน หรือปรับไมเกิน
20,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
3. บุคคลใดรวมทั้งผูขอรับสิทธิบัตรเปดเผยสาระสําคัญหรือรายละเอียด การประดิษฐ
โดยรูอยูวาอธิบดีไดสงใหปกปดไว ผูนั้นตองระวางโทษจําคุกไมเกิน 1 ป หรือปรับไมเกิน 50,000
บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

3 . เครื่องหมายการคา

“เครื่องหมายการคา” (trademark) หมายความวา เครื่องหมายที่ใชหรือจะใชเปนที่หมาย


หรือเกี่ยวของกับสินคา เพื่อสําแดงวาสินคาที่ใชเครื่องหมายของเจาของเครื่องหมายนั้นแตกตางกับ สิน
คาที่ใชเครื่องหมายการคาของบุคคลอื่น
จากนิยามดังกลาวจะเห็นไดวา เครื่องหมายการคานั้นตองมีลักษณะดังนี้
176

1. ตองเปนเครื่องหมาย
ในเบื้องตนทีเดียว สิ่งที่จะใชเปนเครื่องหมายการคาได ตองมีลักษณะเปนเครื่องหมาย
เสียกอน กลาวคือ ตองมีลักษณะเปนสัญลักษณ (symbol) และกินความถึงภาพอัน คิดขึ้น อาจเปน
ภาพถาย ภาพวาด ภาพประดิษฐ ตรา คํา ตัวหนังสือ ลายมือชื่อหรือสิ่งเหลานี้ อยางหนึ่งอยางใด
หรือหลายอยางรวมกัน

2. ตองใชหรือจะใชเปนที่หมายหรือเกี่ยวของกับสินคา
เครื่องหมายที่จะเปนเครื่องหมายการคาไดนั้น ตองเปนเครื่องหมายที่ใชกับสินคาตาง
ๆ รวมทั้งเครื่องหมายบริการที่ใชกับบริการตาง ๆ เชน บริการขนสง บริการวิทยุ โทรศัพท ก็ไดรับ
การคุมครอง ทํานองเดียวกับเครื่องหมายการคาดวย เครื่องหมายใด ๆ ที่ใชกับสิ่งที่ไมใชสินคา จะเปน
เครื่องหมายการคาไมได เชน เครื่องหมายพระอินทรทรงชางเอราวัณ ที่ติดอยูขางรถยนตของ
กรุงเทพมหานคร ดังนี้ มิใชเครื่องหมายการคา เพราะรถยนตของกรุงเทพมหานครมิใชสินคา เครื่อง
หมาย “เปาโล” ที่ใชกับโรงพยาบาล มิใชเครื่องหมายการคา เพราะโรงพยาบาลมิใชสินคา

3. เพื่อแสดงวาสินคานั้น ๆ แตกตางกับสินคาที่ใชเครื่องหมายการคาของผูอื่น
หนาที่หรือลักษณะที่มีสําคัญของเครื่องหมายการคานั้น จะตองเปนเครื่องหมาย
แสดงใหลูกคาเห็นวา สินคาที่มีเครื่องหมายการคานั้น ๆ เปนของบุคคลหนึ่งซึ่งแตกตางสินคา ที่ผลิต
หรือขายโดยบุคคลอื่น

เครื่องหมายการคาที่จะจดทะเบียนได
เครื่องหมายการคาที่จดทะเบียนไดนั้น ตองมีลักษณะตามที่กฎหมายกําหนดไวดังนี้
1. เครื่องหมายการคานั้นตองมีลักษณะแบงเฉพาะ
2. เครื่องหมายการคานั้นจะตองไมมีลักษณะตองหามตามกฎหมาย
3. เครื่องหมายการคานั้นตองไมเหมือน หรือคลายกับเครื่องหมายการคาของผูอื่นที่ได
จดทะเบียนไวแลว
177

1. เครื่องหมายการคานั้นตองมีลักษณะบงเฉพาะ
“ลักษณะบงเฉพาะ” หมายความวา เครื่องหมายการคาอันมีลักษณะที่ทําใหประชาชน
หรือผูใชสินคานั้นทราบ และเขาใจไดวาเครื่องหมายการคานั้นแตกตางไปจากสินคาอื่น
ลักษณะบงเฉพาะนี้เปนสาระสําคัญที่ตองมีอยูในเครื่องหมายการคา เพราะจะเปน
เครื่องชี้เห็นไดวาสินคาภายใตเครื่องหมายการคานั้นแตกตางจากสินคาของผูอื่น ดังนั้นเครื่องหมาย การ
คาใดที่ไมสามารถแสดงใหเห็นถึงความแตกตางระหวางสินคาของเจาของเครื่องหมายการคากับสินคา
ของบุคคลอื่นได ก็ไมสามารถจดทะเบียนได
ลักษณะบงเฉพาะอันเปนสาระสําคัญที่จะตองมีในเครื่องหมายการคานี้ จะเปนสิ่งใด
สิ่งหนึ่งดังตอไปนี้ก็ได
(1) ชื่อตัว ชื่อสกุลของบุคคลธรรมดาที่ไมเปนชื่อสกุล ตามความหมายเขาใจกัน
โดยธรรมดา ชื่อนิติบุคคล หรือชื่อในทางการคา ซึ่งแสดงโดยลักษณะพิเศษ
(2) คําหรือขอความ อันไมไดเล็งเห็นถึงลักษณะ หรือคุณสมบัติของสินคานั้นโดย
ตรง และไมเปนชื่อทางภูมิศาสตรที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด
(3) ตัวหนังสือ ตัวเลข หรือคํา ที่ประดิษฐขึ้น
(4) ลายมือชื่อของผูขอจดทะเบียน หรือเจาของเดิมกิจการของผูจดทะเบียน หรือ
ลายมือชื่อ บุคคลอื่นโดยไดรับอนุญาตจากบุคคลนั้นแลว
(5) ภาพของผูขอจดทะเบียน หรือบุคคลอื่นโดยไดรับอนุญาตจากบุคคลนั้นแลว
หรือ ในกรณีที่บุคคลนั้นตายแลว โดยไดรับอนุญาตจากบุพการี ผูสืบสันดาน และคูสมรสของบุคคล
นั้น ถามีแลว
(6) ภาพที่ประดิษฐขึ้น
ชื่อหรือขอความที่ไมมีลักษณะตาม (1) หรือ (2) หากไดมีการจําหนายเผยแพร
หรือโฆษณาสินคาที่ใชเครื่องหมายการคานั้นจนแพรหลายตามหลักเกณฑที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด
และพิสูจนไดวาปฏิบัติถูกตองตามหลักเกณฑนั้นแลว ก็ใหถือวามีลักษณะบงเฉพาะ

2. เครื่องหมายการคานั้นจะตองไมมีลักษณะตองหามตามกฎหมาย
เครื่องหมายการคาที่แมจะมีลักษณะบงเฉพาะ แลวก็ไมไดรับการจดทะเบียนได หาก
เครื่องหมายการคาหรือบางสวนแหงเครื่องหมายการคานั้น ๆ มีลักษณะหามตามที่กฎหมายกําหนดไว
ซึ่งมีดังนี้ คือ 48
178

(1) ตราแผนดิน เครื่องหมายราชการ ธงพระอิสยศ ธงราชการ หรือธงชาติของ


ประเทศไทย
(2) เครื่องหมายประจําชาติหรือธงชาติของรัฐตางประเทศ เครื่องหมายหรือธงของ
องคการระหวางประเทศที่ประเทศไทยเปนสมาชิกหรือที่เปนที่รูจักกันแพรหลายทั่วไป เวนแต จะไดรับ
อนุญาตจากผูซื้อมีอํานาจหนาที่ของรัฐตางประเทศหรือองคการระหวางประเทศ
(3) พระปรมาภิไธย พระนามาภิไธย พระปรมาภิไธยยอ หรือพระนามาภิไธยยอ
(4) พระบรมฉายาลักษณ หรือพระบรมสาทิสลักษณของพระมหากษัตริย พระ
ราชินี หรือรัชทายาท
(5) พระราชลัญจกร ลัญจกรในราชการ หรือตราประจําตําแหนง
(6) ตราเครื่องราชอิสริยาภรณ
(7) เครื่องหมายกาชาด นามกาชาด หรือกาเจนีวา
(8) เครื่องหมายที่เหมือนคลายกับเหรีย ใบสําคัญ หนังสือรับรอง ประกาศนียบัตร
หรือเครื่องหมายอื่นใดอันไดใหเปนรางวัลในการแสดงหรือประกวดสินคาที่รัฐบาลไทย สวนราชการ
หรือรัฐวิสาหกิจของประเทศไทย รัฐบาลตางประเทศ หรือองคการประเทศ หรือองคการระหวาง
ประเทศ ไดจัดใหมีขึ้นเวนแตผูขอจดทะเบียนจะไดรับเหรียญ ใบสําคัญหนังสือ รับรองประกาศนียบัตร
หรือเครื่องหมายเชนวานั้นเปนรางวัลสําหรับสินคานั้นและใชเปน สวนหนึ่งของเครื่องหมายการคานั้น
(9) เครื่องหมายที่คลายกับ (1) (2) (3) (5) (6) หรือ (7)
(10) เครื่องหมายที่ขัดตอความสงบเรียบรอย ศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือ
รัฐประกาศนโยบาย เชนเครื่องหมายคอนกับเคียวไขวกัน หรือเครื่องหมายสวัสดิกะ เปนตน
(11) เครื่องหมายที่เหมือนกับเครื่องหมายที่มีชื่อเสียงแพรหลายทั่วไป หรือคลายกับ
เครื่องหมายดังกลาวจนอาจทําใหสาธารณชนสับสนหลงผิดในความเปนเจาของ หรือแหลงกําเนิดของ
สินคา ไมวาจะไดจดทะเบียนไวแลวหรือไมก็ตาม
(12) เครื่องหมายอื่นที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด

3. เครื่องหมายการคานั้นตองไมเหมือนหรือคลายกับเครื่องหมายการคาของผูอื่น ที่ได มี
การจดทะเบียนไวแลว
เนื่องจากเครื่องหมายการคานั้นมีลักษณะอันสําคัญ คือ เปนเครื่องแสดงใหเห็นถึง
ความแตกตางระหวางสินคาของเจาของเครื่องหมายการคากับสินคาของบุคคลอื่น เพราะฉะนั้น เครื่อง
179

หมายการคาที่จะจดทะเบียนไดนั้นตองไมเหมือน หรือคลายกับเครื่องหมายการคาของผูอื่นได จด
ทะเบียนไวเพื่อสินคาอยางเดียว จนถึงกับเปนการลวงสาธารณชนใหเขาใจผิด
อยางไรถือวาเหมือนหรือคลายกันจนถึงกับเปนการลวงสาธารณชนนั้น ตองพิจารณา
เปน กรณี ๆ ไป เชน เครื่องหมายการคาหนึ่งเปนรูปหัวคนปาอยูภายในวงกลม เครื่องหมายการคาอีกอัน
หนึ่ง เปนรูปคนปาแตแลเห็นไดเฉพาะสวนบนเหนือหนาอกขึ้นไปและอยูภายในวงกลม แมดูดวย
สายตา จะเห็นวาแตกตางกัน แตประชาชนผูซื้อสินคาอาจเรียกขานวา “ตราหัวคนปา” เหมือนกันไดจึง
เห็นวา ยังกอใหเกิดความสับสนหลงผิดได

การขอจดทะเบียนและการรับจดทะเบียนเครื่องหมายการคา
เมื่อเครื่องหมายการคามีลักษณะถูกตองตามที่กฎหมายกําหนดแลว ใหเจาของเครื่องหมาย
การคา หรือตัวแทนที่ไดรับมอบฉันทะเปนหนังสือไปจดทะเบียน เครื่องหมายการคาได51 ที่กรม
ทะเบียน การคา กระทรวงพาณิชย ตามแบบวิธีการที่กําหนดไวในกฎกระทรวง และเมื่อนายทะเบียน
พิจารณา และตรวจสอบ แลวเห็นควรรับจดทะเบียนเครื่องหมายการคารายใด ใหนายทะเบียนมีคําสั่งให
ประกาศ โฆษณาคําขอจดทะเบียน และมีหนังสือแจงใหผูขอจดทะเบียนทราบและใหชําระคาธรรม
เนียม การประกาศโฆษณาภายใน 30 วัน นับแตวันไดรับหนังสือแจงคําสั่ง ถาผูขอจดทะเบียนไมชําระ
คา ธรรมเนียมภายในกําหนดเวลาดังกลาว ใหถือวาละทิ้งคําขอจดทะเบียน52 เมื่อประกาศแลวถาปรากฏ
ตอมาวา เครื่องหมายการคานั้นไมถูกตองตามกฎหมาย ใหเพิกถอนการขอจดทะเบียนและมีหนังสือ
แจงไปยังผูขอจดทะเบียนโดยไมชักชา53 เมื่อไดดําเนินการถูกตองครบถวนแลว ใหนายทะเบียนออก
หนังสือสําคัญแสดงการจดทะเบียนใหแกผูขอจดทะเบียน

ผลแหงการจดทะเบียนเครื่องหมายการคา
บุคคลผูใดไดจดทะเบียนเครื่องหมายการคาไว กฎหมายใหถือวาบุคคลนั้นเปนเจาของ มี
สิทธิ แตผูเดียวที่จะใชเครื่องหมายการคานั้นกับสินคาของตน หากบุคคลใดนําเครื่องหมายการคาของ
บุคคลอื่น มาใชกับสินคาของตน โดยไมชอบก็เปนความผิดทางอาญาตามพระราชบัญญัติเครื่องหมาย
การคาและ ในขณะเดียวกันก็ถือเปนการกระทําละเมิดตอเจาของเครื่องหมายการคาดวย
อนึ่ง เมื่อไดจดทะเบียนแลว นอกจากจะไดการคุมครองตามพระราชบัญญัติเครื่องหมาย
การคาแลว ยังไดรับการคุมครองตามประมวลกฎหมายอาญาอีกดวย
180

การโอนเครื่องหมายการคา
ดังไดกลาวมาแลววา เจาของเครื่องหมายการคานั้น เปนผูมีสิทธิแตเพียงผูเดียว ในการ
ใช เครื่องหมายการคานั้นกับสินคาของตนแตอยางไรก็ตาม สิทธิในเครื่องหมายการคานี้สามารถ
จําหนาย จายโอนไปใหกับผูอื่นหรือรับมรดกได และในการโอนเครื่องหมายการคานี้ จะเปนการโอน
หรือรับมรดก พรอมกับกิจการที่เกี่ยวกับสินคาที่ไดจดทะเบียนไวแลวหรือไมก็ได โดยการโอนตองจด
ทะเบียนดวย จึงจะมีผลสมบูรณตามกฎหมาย

อายุแหงการคุมครองเครื่องหมายการคา
เครื่องหมายการคาที่ไดจดทะเบียนถูกตองตามกฎหมายการคาแลว จะมีอายุคุมครอง 10 ป
นับแตวันที่จดทะเบียน แตอยางไรก็ตามเจาของเครื่องหมายการคา อาจขอจดทะเบียนตออายุเครื่อง
หมาย การคาของตนอีกได หรือกลาวอีกนัยหนึ่ง อายุแหงการคุมครองเครื่องหมายการคานั้นจะมีได
จํากัด หากเจาของเครื่องหมายการคาแสดงความจํานงตออายุเครื่องหมายของตนทุก ๆ 10 ป

การเพิกถอนเครื่องหมายการคา
เครื่องหมายการคาที่ไดจดทะเบียนไวแลว อาจถูกเพิกถอนไดในกรณีตอไปนี้ คือ
1. เพิกถอนเพราะไมตออายุดังไดอธิบายมาแลววา เมื่ออายุแหงเครื่องหมายการคา สิ้น
สุดลง เจาของเครื่องหมายการคาสามารถจดทะเบียนตออายุแหงเครื่องหมายการคานั้นไดอีก แตถาหาก
เจาของเครื่องหมายการคาไมขอตออายุเครื่องหมายการคาของตน เครื่องหมายการคานั้น ก็จะถูกเพิก
ถอนจากทะเบียนได
2. เจาของเครื่องหมายการคานั้นขอเพิกถอนเอง
3. เจาของเครื่องหมายฝาฝนไมปฏิบัติตามเงื่อนไข หรือขอจํากัดของนายทะเบียนที่
กําหนด ในการรับจดทะเบียนเครื่องหมายการคานั้น
4. ถูกสั่งเพิกถอนเพราะมีลักษณะตองหาม หรือลักษณะขัดตอความสงบเรียบรอย หรือ
ศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือรัฐประกาศนโยบาย หรือเพราะเจาของเครื่องหมายการคานั้นมิได
ตั้งใจ โดยสุจริตที่จะใชเครื่องหมายนั้นเลย
5. เพิกถอนเพราะเลิกสํานักงานการคา เครื่องหมายการคานั้น โดยสภาพตองเปนสิ่งที่
ใชกับ สินคาซึ่งเปนเจาของเครื่องหมายการคา ดังนั้น หากเจาของเครื่องหมายการคาไดเลิก สํานักงาน
การคา แลวกรณีก็ไมจําเปนตองใชเครื่องหมายการคาอีกตอไป ใหเพิกถอนเครื่องหมายการคานั้นเสีย
181

6. เพิกถอนโดยคําสั่งศาล
ศาลจะมีคําสั่งใหเพิกถอนเครื่องหมายการคาได ในกรณีตอไปนี้คือ
(1) ผูมีสิทธิดีกวาในเครื่องหมายการคานั้น อาจจะเนื่องจากไดใชเครื่องหมายการคา
นั้น มากอน หรือผูจดทะเบียน จดทะเบียนไวโดยไมมีสิทธิ
(2) เครื่องหมายการคานั้นในปจจุบันเปนสิ่งสามัญในการคาขายแลว เมื่อเครื่อง
หมาย การคาใด กลายเปนสิ่งสามัญการคาขายแลว ก็เทากับเครื่องหมายการคานั้นสูญเสียลักษณะบง
เฉพาะไป เพราะฉะนั้นจึงเพิกถอนเครื่องหมายการคานั้นได
สาเหตุที่ทําใหเครื่องหมายการคากลายเปนสิ่งที่สามัญไปนั้น อาจมีเหตุเกิดจากการที่
ประชาชนไดนําชื่อเครื่องหมายการคาดังกลาวไปใชเรียกสินคาชนิดเดียวกัน แตเปนของพอคาอื่น จน
กระทั่งชื่อเครื่องหมายการคานั้นไดกลายเปนคําสามัญ เชน บริษัท ไบเออร ริเวอร เคยจดทะเบียน
เครื่องหมายการคาคําวา “ASPIRIN” ตอมาประชาชนนิยมใชคําวา “แอสไพริน” เปนชื่อเรียก ยาระงับ
อาการปวด ไมวายานี้จะเปนของผูใด คํานี้จึงกลายเปนคําสามัญในการคาขายยาระงับปวด มิใชคําบง
เฉพาะวาเปนยาระงับปวดของบริษัทไบเออรเทานั้น เชนนี้ ผูมีสวนไดเสียอาจรองขอใหศาล เพิกถอน
เครื่องหมายการคาดังกลาวได การกระทําที่เปนการละเมิดเครื่องหมายการคา ไดแกการปลอม หรือ
การเลียน ตามมาตรา 108 และมาตรา 109 ซึ่งเปนความผิดทางอาญา สวนความรับผิดในทางแพง
นอกจากปลอมและเลียนแลว ยังรวมถึงการใชเครื่องหมายของผูอื่นโดยไมมีสิทธิความรับผิดในการ
ละเมิด เครื่องหมายการคาอาจขยายไปเกินกวาบุคคลที่ลงมือปลอมเลียนหรือใช เครื่องหมายของผูอื่น
กับสินคา โดยตรง ดังนั้นผูผลิตและผูจัดจําหนายจึงอาจเปน Contributory Infringement นอกจาก
บัญญัติไวใน ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 86 แลว ยังมีบัญญัติไวใน พ.ร.บ. เครื่องหมายการคาฯ
มาตรา 110 , 111 ดวย

You might also like