You are on page 1of 21

สาเหตุของรอยร้าวในโลหะ

บุณยวัฒน์ ธีรประเวศน์กุล
4 June 2008

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved


Crack / Fracture
• ทั้งสองคำตางหมายถึงการราวเหมือนกัน สิ่งที่แตกตางกัน
คือ
รอยราวโดยทั่วไป อาจจะเปนรอยราวที่เกิดจาก
Crack กระบวนการผลิต ความรอน หรือแรงที่มา
กระทำ โดยรอยราวไมทำใหวัสดุแยกออกจากกัน

การแตกราวที่เกิดจากการที่มีแรงมากระทำ ไมวา
Fracture จะเปนแรงสถิตย หรือ แรงเปนคาบ (Static Load
and Cyclic Load)

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved


The Causes of Crack
สาเหตุของการเกิดรอยราวเกิดขึ้นไดจากเหตุตางๆดังนี้

เหตุทาง เหตุทาง เหตุทาง


เหตุทางกล
ความร้อน เทคโนโลยี เคมี

แรงสถิตย์ ความผิดพลาด
แรงเป็นคาบ ของวัสดุ / การ การเกิด
การขยายตัว
หรือ แรงดึง ผลิต Oxidation
โดยความร้อน
แรงกด แรงดัด ความผิดพลาด การผุกร่อน
แรงกระแทก จากงานเชื่อม

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved


The Causes of Crack
สาเหตุของการเกิดรอยราวเกิดขึ้นไดจากเหตุตางๆดังนี้

เหตุทาง
เหตุทางกล
เทคโนโลยี

แรงสถิตย์ ความผิดพลาด
แรงเป็นคาบ ของวัสดุ / การ
หรือ แรงดึง ผลิต
แรงกด แรงดัด ความผิดพลาด
แรงกระแทก จากงานเชื่อม

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved


เหตุทางกล

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved


เหตุทางกล
• ปฏิกิริยาของวัสดุตอแรงกระทำภายนอก
• ความสามารถในการเปลี่ยนรูปของโลหะจะมีผลกับรอยราว
•ความสามารถในการเปลี่ยนรูปต่ํา
วัสดุ • ไม่มีการยืดตัวแบบพลาสติก (Plastic Deformation) ทําให้
ความเค้นไม่สามารถลดลงได้
เปราะ • รอยแยกเมื่อมองจากภายนอกจะสามารถประกบกัน
เหมือนเดิมได้

วัสดุ • ความสามารถในการเปลี่ยนรูปสูง
• จะยืดตัวแบบพลาสติกก่อนที่จะเกิดรอยแยก
เหนียว • ไม่สามารถประกบชิ้นงานที่แยกจากกันได้

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved


Stress-Strain Diagram

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved


Brittle vs Ductile
วัสดุแตกเปราะ วัสดุแตกเหนียว

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved


Comparative Stress/Strain

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved


เหตุทาง
เทคโนโลยี

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved


เหตุทางเทคโนโลยี

จากการ จากงาน จากการชุบ จากการ


หล่อ เชื่อม แข็ง สึกหรอ

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved


เหตุทางเทคโนโลยี

จากการ จากงาน
หล่อ เชื่อม

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved


รอยร้าวจากการหล่อ

รอยร้าวจากการหดตัว การฉีกขาดขณะร้อน
(Shrinkage Cracks) (Hot Tears)

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved


Shrinkage Crack and Cavities
ลักษณะ
เปนรอยแตกที่เห็นที่ภายนอกหรือภายในชิ้นงาน สวนมาก
คลายผลึกมีกิ่งกานสาขา พบมากบริเวณที่ความหนาของชิ้น
งานมีการเปลี่ยนแปลง
สาเหตุ
1. อุณหภูมิเทสูงเกินไป ทำใหเกิดการหดตัวของของเหลว
2. เกิดความผิดพลาดในการปอนน้ำโลหะ
3. เกิดการแข็งตัวเร็วเกินไปที่ทางเขาของน้ำโลหะและรูลน
4. โลหะไมแข็งตัวในทิศทางเดียว
การแกไข
1. ใชอุณหภูมิเทใหถูกตองและเพิ่มขนาดของทางวิ่งน้ำ
โลหะ
2. ใชหัวปอนที่ออกแบบมาอยางถูกตอง
3. ใชทุนเย็นติดตามจุดตางๆ เพื่อใหการแข็งตัวเปนแบบ
ทิศทางเดียว

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved


Hot Tear
ลักษณะ
รอยแตกมีรูปรางที่ไมสม่ำเสมอ เกิดขึ้นขณะที่น้ำโลหะเขา
แบบแลวอยูในชวงสุดทายกอนการแข็งตัว
สาเหตุ
1. เกิดจากการหดตัว ทำใหความเคนภายในเพิ่มขึ้น
2. ชิ้นงานมีรูปรางสลับซับซอน ซึ่งทำใหเย็นตัวในแตละ
ตำแหนงไมเทากัน
การแกไข
1. พยายามออกแบบงานหลอใหมีการเปลี่ยนแปลงหนาตัด
อยางชาๆ
2. ใชทุนเย็นติดตามจุดตางๆ เพื่อใหการแข็งตัวเปนแบบ
ทิศทางเดียว
3. ถาเปนงานหลอที่มีความซับซอน ใหแยกหลอเปนสวน
ยอยๆ แลวนำมาเชื่อมตอเขาดวยกัน

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved


รอยร้าวจากงานเชื่อม

การแตกร้าวร้อน การแตกร้าวขณะเย็น
(Solidification Cracks / (Hydrogen Crack /
Hot Cracking) Cold Cracking)

การแตกร้าวขณะให้
การแตกร้าวแบบฉีกขาด
ความร้อนหลังเชื่อม
(Lamellar Tearing)
(Reheating Crack)

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved


การแตกร้าวร้อน
ตำแหนงที่เกิด
ในเนื้อเชื่อม และมักจะเกิดตามยาวกลางแนวเชื่อม
สาเหตุ
1. เกิดความเคนขณะเชื่อม
2. ธาตุผสมจำพวกฟอสฟอรัส (P) และกำมะถัน (S) จุด
หลอมละลายต่ำ แข็งตัวชากวาธาตุอื่นๆ ทำใหเกิดรอย
แยกขึ้นตามขอบเกรนของเนื้อเชื่อม
3. สวนผสมคารบอนมากกวา 0.3% ทำใหแตกราวงาย
การแกไข
1. เลือกกระบวนการเชื่อมที่ใหอัตราการหลอมละลายต่ำ
เชน MIG/MAG เปนตน
2. เลือกลวดเชื่อมที่มีสวนผสมของคารบอนต่ำและ
แมงกานีสสูง
3. ทำความสะอาดงานใหไมมีคราบน้ำมันและความชื้น
4. เติมแองปลายสุด (Crater) แนวเชื่อมใหเต็ม

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved


การแตกร้าวขณะเย็น
ตำแหนงที่เกิด
• เกิดที่เนื้องานบริเวณ HAZ ตามแนวเกรนหยาบขนาน
ไปกับแนวเชื่อม
• แตกตามขอบเกรนในการเชื่อมเหล็กคารบอน และ
แตกผาเกรนในการเชื่อมเหล็กแมงกานีส
• แตกทันที หรือภายใน 48 ชั่วโมง
สาเหตุ
1. การแพรซึมของไฮโดรเจนรวมตัวกับแนวเชื่อมขณะ
หลอมละลาย และเกิดความเคนตกคาง
2. ความรอนเขาสูงเกินไป
การแกไข
1. เลือกลวดไฮโดรเจนต่ำ
2. ใหความรอนกอนเชื่อม
3. ควบคุมอุณหภูมิระหวางชั้นเชื่อม
4. ใหความรอนหลังเชื่อม เพื่อลดความคนตกคาง

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved


การแตกร้าวขณะ Reheat
ตำแหนงที่เกิด
• อาจเกิดกับ low alloy steel ที่มีสวนประกอบของโคร
เมี่ยม วานาเดี่ยม และโมลิบดีนั่ม
• ลักษณะแตกเปราะตามขอบเกรน
สาเหตุ
1. เกิด Hydrogen Cracks
2. การตกผลึกของคารบอน
3. เกิดการคืบตัวที่ขอบเกรน
4. เกิดจุดรวมความเคนตกคางสูง
5. แนวเชื่อมใหญปริมาณความรอนตกคางสูง
การแกไข
1. ออกแบบงานใหกระจายความเคนไดแบบอิสระ
2. เชื่อมรองพื้นแนวเล็ก
3. ใชลวดเชื่อมที่เกิดความเคนตกคางนอย

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved


การแตกร้าวแบบฉีกร้าว

ตำแหนงที่เกิด
• มักเกิดขึ้นใตแนวเชื่อมโดยเฉพาะกับเหล็กรีด
สาเหตุ
1. มีสารฝงในเปนแนวยาวในเนื้อโลหะงาน
2. งานหนาเกิดการหดตัวในแนวขวางกับพื้นที่
3. แผนเหล็กโลหะงานที่เชื่อมมีความเหนียวต่ำ
การแกไข
1. เชื่อมรองพื้นดวยลวดเชื่อมความแข็งแรงต่ำกวาโลหะ
งาน
2. ออกแบบรอยตอบากรองแผนงานที่หนาให
หลอมละลายขณะเชื่อม
3. เลือกใชลวดเชื่อมไฮโดรเจนต่ำและอบแหง

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved


Thank You

© 2008 Acme International (Thailand) Ltd. All rights reserved

You might also like