You are on page 1of 6

นายคามิน โฆษวิฑต

ิ กุล
1202

ความเปลียนแปลงทางเศรษฐกิ
จหลังสนธิสญ
ั ญาเบาริง พ.ศ.2398
และผลกระทบต่อสังคม

คานา
เเมว้ ่าประเทศไทยนั้นจะเคยพบเจอกับการเปลียนเเปลงมากมายเเละสนธิ
่ สั
ญญาไม่เป็ นธรรมมานับหลายต่อหลายครงเเต่ ้ั มส ี นธิสญ ั ญาฉบับหนึ่ งทีท
่ าใหเ้ กิ
ดผลกระทบต่อประเทศไทยอย่างใหญ่หลวงนั้นก็คอ ื “สนธิสญั ญาเบาว ์ริง”
สนธิสญ ั ญาเบาว ์ริง (Bowring Treaty)
หรือหนังสือสัญญาทางพระราชไมตรีประเทศอังกฤษและประเทศสยาม
(Treaty of Friendship and Commerce between the British
Empire and the Kingdom of Siam) หรือบนปกสมุดไทย ใช ้ชือว่ ่ า
หนังสือสัญญาเซอยอนโบวริง (ชัย เรืองศิลป์ , 2541)
หรือทีมั่ กเรียกกันทัวไปว่
่ า
เป็ นสนธิสญ ่
ั ญาทีราชอาณาจั กรสยามทากับสหราชอาณาจักร ลงนามเมือ ่ 18
เมษายน พ.ศ. 2398 โดยเซอร ์จอห ์น
เบาว ์ริงราชทูตทีได ่ ้รบั การแต่งตังจากสมเด็
้ จพระบรมราชินีนาถวิกตอเรียเเห่งส
หราชอาณาจักรอังกฤษเข ้ามาทาสนธิสญ ั ญา
่ สาระสาคัญในการเปิ ดการค ้าเสรีกบ
ซึงมี ั ต่างประเทศในสยาม

มีการปร ับเปลียนกฎระเบี ยบการค ้าระหว่างประเทศ
โดยการสร ้างระบบการนาเข ้าและส่งออกใหม่ เพิมเติ ่ มจากสนธิสญ ั ญาเบอร ์นี
สนธิสญ ั ญาฉบับก่อนหน้าซึงได ่ ้ร ับการลงนามระหว่างสยามและสหราชอาณาจั
กรใน พ.ศ. 2369
สนธิสญ ั ญาดังกล่าวอนุ ญาตให ้ชาวต่างชาติเข ้ามาทาการค ้าเสรีในกรุงเทพมห
านคร เนื่ องจากในอดีตการค ้าของชาวตะวันตกได ้ร ับการจัดเก็บภาษีอย่างหนัก
สนธิสญ ้
ั ญาดังกล่าวยังอนุ ญาตให ้จัดตังกงสุ ลอังกฤษในกรุงเทพมหานครและร ั
บประกันสิทธิสภาพนอกอาณาเขต
ตลอดจนอนุ ญาตใหช ้ าวอังกฤษสามารถถือครองทีดิ ่ นในสยามได ้

การทาหนังสือสัญญาทางไมตรีกบ ั ประเทศอืน่
่ าคัญในสนธิสญ
ข ้อกาหนดทีส ั ญาเบาริงและสนธิสญั ญาลักษณะเดียวกัน
กับประเทศอืนๆ่
ื ให ้ประเทศสยามยกเลิกการผูกขาดการค ้าทุกชนิ ดยกเว ้น ฝิ่ น ปื น และ
ก็คอ
นายคามิน โฆษวิฑต
ิ กุล
1202

ดินปื น ดังกล่าวมาแล ้ว ให ้เก็บ


ภาษีสน ิ ค ้าขาเข ้าได ้ไม่เกินร ้อยละ 3
ให ้ประเทศคูส ่ ญั ญาได ้ร ับสิทธิสภาพนอกอาณาเขต คือคนในบังคับ
(subject) ของประเทศนั้นๆ
โดยไม่ต ้องอยู่ภายใต ้กฎหมายและกระบวนการยุตธิ รรมของประเทศสยาม
จนกว่าประเทศสยามจะได ้สร ้างระบบกฎหมายสมัยใหม่ขนมาแล ึ้ ้ว
ฝ่ ายอังกฤษประสบความสาเร็จอย่างมากในการทาสนธิสญ ั ญาเบาว ์ริง
โดยร ัฐบาลสยามยอมให ้อังกฤษเข ้ามาตังกงสุ ้ ล
มีอานาจพิจารณาคดีทคนอั ่ี งกฤษมีคดีความกัน
และร่วมพิจารณาคดีทคนไทยกั ่ี บอังกฤษมีคดีความกัน ข ้าว
เกลือและปลาไม่เป็ นสินค ้าต ้องห ้ามอีกต่อไป นอกจากนี ้
ยังเป็ นการร ับเอาวิทยาการตะวันตกสมัยใหม่เข ้าสู่ประเทศ
่ าให ้ชาวต่างประเทศยอมร ับมากขึน้
ซึงท

เมือสยามได ้ทาสนธิสญั ญากับอังกฤษแล ้ว
ก็ต ้องการจะทาหนังสือสัญญาแบบเดียวกันกับประเทศอืนต่ ่ อไป
เพือให่ ้มีการแข่งขันทางการค ้า และเป็ นโอกาสใหข ้ องในสยามมีราคาสูงขึน้
และสินค ้าต่างประเทศมีราคาต่าในการณ์นี ้ ร ัฐบาลสยามจึงแต่งตังให ้ ้จอห ์น
เบาว ์ริงเป็ นพระยามานุ กล ู กิจสยามมิตรมหายศ คอยทาหนังสือสัญญาต่าง ๆ
แทน โดยประเทศทีท ่ าหนังสือสัญญากับไทยในเวลาต่อมาเช่น สหร ัฐอเมริกา
ฝรงเศส ่ั เดนมาร ์ก โปรตตุเกส เนเธอร ์เเลนด ์ เเละร ัสเซีย
การเลิกค้าขายกบ ั จีน
นอกจากนี สนธิ ้ สญ ั ญาเบาว ์ริงยังส่งผลกระทบทาให ้การค ้าขายกับจีนถูก
จากัด ในช่วงต ้นร ัชกาลที่ 4

ได ้มีการส่งเครืองราชบรรณาการไปถวายจั กรพรรดิจน
ี ตามประเพณี
แต่ตอนคณะทูตกาลังเดินทางกลับจากปักกิงได ่ ้ถูกโจรผูร้ ้ายปล ้นเอาทร ัพย ์สินไ
ปกลางทาง "ตงแต่ ้ั ้ั
นนมา
่ งก็มไิ ด้แต่งทู ตออกไปจิมก้
ทีกรุ ้ องจนทุกว ันนี ”้ จนถึง พ.ศ. 2403
ก็ปรากฏหลักฐานว่าสยามมิได ้แต่งสาเภาไปค ้าขายกับจีนอีก
หลังการทาสนธิสญ ั ญาเบาว ์ริง

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล ้าเจ ้าอยู่หวั ทรงดาริว่าการทีสยามส่ ่
งเครืองราชบรร
ณาการไปถวายจีนนั้นอาจทาให ้ฝรงสิ ่ ั นความนั
้ บถือในเอกราชของสยาม

จึงทรงได ้ยกเลิกประเพณี การส่งเครืองราชบรรณาการไปถวายจี นอย่างเด็ดขา
นายคามิน โฆษวิฑต
ิ กุล
1202


่ี มากับจีนตังแต่
นับเป็ นการตัดไมตรีทมี ้ สมัยโบราณทีพระเจ
่ ้าแผ่นดินร ัชกาลก่อ
น ๆ ทรงพยายามร ักษามาโดยตลอดพระองค ์ทรงเห็ นต่างจากร ัชกาลที่ 3
โดยท่านคิดว่าการเปิ ดการค ้าเสรีจะเป็ นประโยชน์แก่บ ้านเมืองมหาศาล (ชูศก ั ดิ ์
จงธนะพิพฒ ั น์, 2559)

การทาเงินแป
เพียงปี เดียวหลังจากสนธิสญ ั ญาเบาว ์ริง
มีเรือต่างประเทศเข ้ามาค ้าขายยังกรุงเทพมหานครเป็ น 103 ลา
และแต่งเรือออกไปค ้าขายกับต่างประเทศถึง 37
ลาทาให ้มีเงินเหรียญไหลเวียนในสยามเป็ นจานวนมาก
แต่ราษฎรสยามทีอาศั ่ ยอยู่ในกรุงเทพมหานครไม่มใี ครร ับ
เพราะไม่เคยใช ้มาก่อน ต ้องให ้ช่างในคลังมหาสมบัตท ิ าเงินตรา
แม้จะทาไปได ้ถึงกว่า 250,000
เหรียญแล ้วก็ยงั ใช ้ไม่ทน ั กาลพ่อค ้าต่างชาติก็ขอให ้ทางการประกาศให ้ใช ้เงินเห
่ นเงินเหรียญ 480
รียญ ร ัฐบาลจึงให ้เงินตราสิบชังเป็
้ั
เหรียญแต่ครนประกาศให ้ราษฎรร ับเงินเหรียญไปใช ้แทนเงินพดด ้วง
ราษฎรก็ไม่ร ับไป ต ้องออกพระราชบัญญัตใิ หร้ ับเงินเหรียญนอกไว ้
่ นเหรียญใช ้กันแพร่หลาย ราษฎรก็นาเงินบาทไปซุกซ่อนไว ้
แต่เมือเงิ
และจ่ายภาษีด ้วยเงินเหรียญ ทาให ้เงินบาทขาดแคลน ในปี พ.ศ. 2399 และ
พ.ศ. 2400 เกิดความติดขัดด ้านการค ้าขาย
้ั
ครนพอสยามจะส่ งราชทูตไปเจริญพระราชไมตรีกบ ั ต่างประเทศก็ใหท้ ต ้ อ่
ู ซือเครื
งจักรทาเงินเหรียญกลับมาด ้วย พอมาติดตังที ้ กรุ
่ งเทพมหานครได ้แล ้ว
เรียกเงินตราแบบเงินเหรียญว่าเงินแป
พอผลิตออกมาได ้แลว้ ก็พบว่าราษฎรนิ ยมใช ้กัน ปัญหาด ้านการค ้าจึงหมดไป

ความเปลียนแปลงทางเศรษฐกิ

การแลกผูกขาดการค ้าของร ัฐบาลทาให ้เกิดการเปลียนแปลงด ่ ้านเศรษฐ
่ าคัญอย่างหนึ่ ง คือ ราษฎรสามารถซือขายสิ
กิจทีส ้ นค ้าได ้โดยอิสระ

ร ัฐบาลไม่เข ้ามาเกียวข ้องกับการขายสินค ้ามีคา่ เช่น ไม้ฝาง ไม้กฤษณา
หรืองาช ้างอีก เพราะร ัฐบาลจะขาดทุน
่ าคัญทีสุ
ข ้าวได ้กลายมาเป็ นสินค ้าส่งออกทีส ่ ดของไทย

เรือต่างประเทศก็จะเข ้ามาบรรทุกข ้าวและสินค ้าอืนไปขายต่ อยังจีน ฮ่องกง
นายคามิน โฆษวิฑต
ิ กุล
1202

และสิงคโปร ์เป็ นจานวนมาก


้ งทาใหเ้ งินตราต่างประเทศเข ้าสู่ราชสานักเป็ นจานวนมาก
ทังยั
ราษฎรทัวบ ่ ้านทัวเมื
่ องก็มเี งินตราหมุนเวียนอยู่ในมืออย่างทีไม่
่ เคยปรากฏมาก่อ
่ กห ้ามไม่ให ้ส่งข ้าวขายยังต่างประเทศ
น และเมือเลิ
ก็ทาให ้มีการทานาแพร่หลายกว่าแต่กอ ่ี
่ น มีทนาใหม่ ้ กปี
เกิดขึนทุ
พ่อค ้าต่างชาติก็ขนข ้าวออกไปปี ละหลายหมืนเกวี่ ยน
"ราษฎรก็กดราคาเข้าให้แพงอยู ่เป็ นนิ ตย ์
ด้วยคิดจะขายเอาเงินให้มาก”ทังนี ้ ้ ราคาข ้าวในสมัยร ัชกาลที่ 4
่ี ยนละ 16 ถึง 20 บาท แพงกว่าสมัยร ัชกาลที่ 3 ซึงอยู
อยู่ทเกวี ่ ่ทเกวี
่ี ยนละ 3 ถึง
5 บาท
ผลของสนธิสญ
ั ญายังเป็ นการให ้สิทธิเสรีภาพในการถือครองทีดิ ่ นแก่ทงรา
้ั
ษฎรไทยและชาวต่างประเทศ
่ กอ
ซึงแต่ ่ นราษฎรไม่คอ ่ ยกล ้าให ้ชาวต่างประเทศถือครองทีดิ ่ นเพราะกลัวในหลว
งจะกริว้ ร ัฐบาลไทยอยากให ้ฝรงเข ่ ั ้ามาตังโรงงานสมั
้ ยใหม่
จาต ้องยอมผ่อนปรนเรืองการถื ่ อครองทีดิ ่ นให ้แก่ฝรง่ ั
แต่ก็ไม่ใช่จะถือครองได ้ทุกที่ ร ัฐบาลแบ่งทีดิ ่ นออกเป็ นสามเขต คือ
ในพระนครและห่างกาแพงพระนครออกไปสองร ้อยเส ้นทุกทิศ
ยอมให ้เช่าแต่ไม่ยอมให ้ซือ้ ถ ้าจะซือต ้ ้องเช่าครบ 10 ปี ก่อน
หรือจะต ้องได ้ร ับอนุ ญาตจากเสนาบดี เขตทีล่ ่ วงออกไป

เจ ้าของทีและบ ้านมีสท ิ ธิใหเ้ ช่าหรือขายกรรมสิทธิได ์ ้โดยไม่มข ี ้อแม ้
แต่ล่วงจากเขตนี ไปอี ้ ก ห ้ามมิให ้ฝรงเช่ ่ ั าหรือซือโดยเด็
้ ดขาด

เมือราษฎรได ้ร ับสิทธิในการถือครองกรรมสิทธิที์ ดิ ่ น
ราษฎรก็มท ี างทามาหากินเพิมขึ ่ นอี้ กทางหนึ่ ง คือ การจานองทีดิ ่ นเพือกู
่ ้เงิน
หรือขายฝากขายขาดทีดิ ่ นของตนไดฯ้ อกจากนี ้
ยังปรากฏว่าฝรงต ่ ั ้องการดีบุกมาก เนื่ องจากมีการปฏิวต ั อิ ต
ุ สาหกรรม
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล ้าเจ ้าอยู่หวั ทรงแต่งตังผู ้ ว้ ่าราชการเมืองกระ
เมืองระนองและเมืองภูเก็ต ซึงเคยท ่ างานขุดแร่ดบ ี ุกมาก่อน
ก็ระดมไพร่มาขุดแร่ดบ ี ุกอย่างเต็มที่ จึงผลิตดีบุกได ้มากขึนกว่ ้ าแต่กอ ่ น
ร ัฐบาลก็พลอยได ้ผลประโยชน์ไปด ้วย
ในร ัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ ้าอยู่หวั

ได ้มีความพยายามเจรจาเพือยกเลิ กสิทธิสภาพนอกอาณาเขตของคนในบังคับ
่ กษาราชการแผ่นดินชาวอเมริกน
อังกฤษ โดยเอ็ดเวิร ์ด เอช. สโตรเบล ทีปรึ ั
นายคามิน โฆษวิฑต
ิ กุล
1202

เสนอให ้ไทยแลกหัวเมืองมลายู พร ้อมกับขอกู ้เงิน 4 ล ้านปอนด ์


ในอัตราดอกเบียต ้ ่า เพือน
่ าไปสร ้างทางรถไฟสายใต ้
โดยมีการลงนามในสนธิสญ ่ นที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2451
ั ญาดังกล่าวเมือวั
โดยร ัฐบาลไทยยอมยกสีร่ ัฐมาลัย (ไทรบุร ี กลันตัน ตร ังกานู และปะลิส)
ตลอดจนเกาะใกลเ้ คียงให ้แก่องั กฤษ

ฝ่ ายอังกฤษใหค้ นในบังคับตนทีลงทะเบี ้ นกั
ยนไว ้กับกงสุลก่อนหน้านี ขึ ้ บศาลต่า
งประเทศ และใหค้ นในบังคับหลังทาสนธิสญ ั ญาฉบับนี ขึ้ นกั
้ บศาลไทย
่ี กษากฎหมายชาวยุโรปร่วมพิจารณาคดี
โดยมีทปรึ
แต่ศาลกงสุลยังมีอานาจนาคดีไปพิจารณาได ้
การยกเลิก
ภายหลังสงครามโลกครงที้ั หนึ
่ ่ งยุติ
ร ัฐบาลสยามพยายามเจรจาขอแก ้ไขสนธิสญ ั ญาอันไม่เป็ นธรรมในด ้านสิทธิสภ
าพนอกอาณาเขตและภาษีศุลกากร ซึงก็ ่ ประสบผลสาเร็จเป็ นอย่างดี

โดยมีเงือนไขว่ าสยามจะต ้องบังคับใช ้ประมวลกฎหมายตามแบบสมัยใหม่
่ มอีกในช่วงระยะเวลาหนึ่ ง ภายใน พ.ศ.
และบางประเทศได ้ขอสิทธิพเิ ศษเพิมเติ
2470 ประเทศต่าง ๆ นับสิบประเทศก็ยน ิ ยอมลงนามแก ้ไขสนธิสญ ั ญาดังกล่าว
สรุป
การทาสนธิสญ ้ นเหตุการณ์สาคัญเหตุการณ์หนึ่ งในประวัติ
ั ญาเบาริงนี เป็
ศาสตร ์ทีท ่ าให ้ไทยได ้พบกับความเปลียนแปลงคร
่ ้ั งใหญ่
งยิ ่ ในทุกๆด ้าน

เช่นเปลียนเศรษฐกิ จเป็ นเเบบทุนนิ ยมได ้อย่างเต็มตัวและเป็ นการเปิ ดตลาดให ้ไ

ทยได ้เข ้าสู่สากล ในเรืองของเศรษฐกิ จ วัฒนธรรม
การดารงชีวต ่ การแลกเปลียน
ิ ทีมี ่ ปร ับปรุง และเปลียนแปลง

และหลังจากนั้นไทยได ้มีการติดต่อค ้าขายกับต่างประเทศเรือยมา ่
โดยมีการนาเอาเทคโนโลยีตา่ งๆเพือเข ่ ้ามาพัฒนาประเทศให ้เจริญรุง่ เรือง

และสิงเหล่ านั้นทีเกิ
่ ดขึนในอดี
้ ตก็ยงั ดารงมาให ้เห็นถึงปัจจุบน ั
นับว่าการทาสนธิสญ ั ญานั้นตัวแปรสาคัญทีท ่ าให ้เกิดความเจริญทางเศรษฐกิจ
ความหลากหลายในด ้านสังคม การปกครองของไทยเลยก็ว่าได ้

บรรณานุ กรม
นายคามิน โฆษวิฑต
ิ กุล
1202

ั ดิ ์ จงธนะพิพฒ
ชูศก ั ญาเบาว ์ริง. สืบค ้นเมือ่ 10 ธันวาคม
ั น์ (2559). สนธิสญ
2560 จาก
http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/638048

้ั ่ 2 ed.).
พระจอมเกล้า "King Mongkut" พระเจ ้ากรุงสยาม. (พิมพ ์ครงที
กรุงเทพฯ: มติชน. 2547.

ชัย เรืองศิลป์ (2541). ประวัตศ


ิ าสตร ์ไทยสมัย พ.ศ. 2352-2453
ด ้านเศรษฐกิจ. ไทยวัฒนาพานิ ช.

You might also like