You are on page 1of 11

การใช้

การใช้ภภาษาในการโต้
าษาในการโต้แแย้ย้งง
สมาชิก ๑๑๐๙:
๑. ธีรนัทธิ สวรรยาวัฒน์
๒. พั สกร บุญเกิด
๓. รติมา บุญจิรโชติ
๔. นท์ปวิธ กาญจนพิ ศาล
๕. ณิชา วุฒิสารเจริญ
๖. ศศิ อุ่นปโยดม
๗. ทินภัทร จิรศาสตร์
๑. นิยามและลักษณะในการโต้แย้ง

นิยามของการโต้แย้งและลักษณะของการโต้แย้ง

การโต้แย้ง เปนการแสดงทรรศนะอย่างหนึง แต่เปนทรรศนะทีแตกต่าง


กัน ผู้แสดงทรรศนะต้อง พยายามหาเหตุผล อ้างข้อมูลและหลักฐาน
ต่างๆ เพื อสนับสนุนทรรศนะของตนและคัดค้าน ทรรศนะของอีกฝาย
หนึง
๒. โครงสร้างการโต้แย้ง

การโต้แย้งนันต้องอาศัยเหตุผลเปนหลักจึงทําให้การโต้แย้งจะต้องประกอบไปด้วย 2
ส่วนนันก็คือ

● ข้อสรุป
● เหตุผล

ตัวอย่าง: เด็กทีจะเรียนในมหาวิทยาลัยนัน ควรต้องผ่านการทดสอบหลายๆ ด้าน


การวัดเฉพาะความรู้เพี ยงอย่างเดียวคงไม่พอต้องมีการวัดด้านความถนัดด้วยเพราะ
การเรียนในระดับสูงเด็กต้องวิเคราะห์เปน สังเคราะห์เปน รู้จักเชือมโยง และการสอบ
หลายครังทําให้เด็กได้มีโอกาสเลือก
๓. หัวข้อและเนือหาของการโต้แย้ง

การโต้แย้งสามารถเกิดขึนได้ในทุกสถานที, สังคม, และช่วงอายุ จึงไม่มีการจํากัดขอบ


เขคของหัวข้อและเนือหา เพี ยงแต่ต้องกําหนดขอบเขตของให้หัวข้อ อาทิ

- หัวข้อของการโต้แย้งคืออะไร
- ประเด็นทีจะนํามาพิ จารณาคืออะไร

สิงทีควรคํานึงในการโต้แย้งคือ

- ผู้ทีเปนฝายเสนอควรเสนอให้เกิดการเปลียนแปลง
- ส่วนฝายคัดค้านควรใช้ให้เห็นว่าการเปลียนแปลงนันไม่เกิดประโยชน์และไม่จําเปน
๔. กระบวนการโต้เเย้ง

กระบวนการโต้แย้งนันแบ่งเปนหลักๆคือ:
๔.๑ การตังประเด็นในการโต้แย้ง

๔.๒ การนิยามคําหรือกลุ่มคําสําคัญที
อยู่ในประเด็นของการโต้แย้ง

๔.๓ การค้นหาและเรียบเรียงข้อสนับสนุน
ทรรศนะของตน

๔.๔ การชีเห็นจุอ่อนและความผิดพลาดของ
ทรรศนะของฝายตรงกันข้าม
๔.๒ การนิยามคําหรือกลุ่มคําสําคัญที
๔.๑ การตังประเด็นในการโต้แย้ง อยู่ในประเด็นของการโต้แย้ง

- คําถามทีก่อให้เกิดการโต้แย้งโดยมี - การนิยามคําหรือกลุ่มคําให้รัดกุม
คู่กรณี เพื อทีจะกําหนดขอบเขตของความ
- ๒ ประเภท หมายว่าครอบคลุมอะไรบ้าง

๑) การโต้เเย้งเกียวกับนโยบายหรือข้อ - ตัวอย่าง:
เสนอเพื อให้เปลียนแปลงสภาพเดิม ประเทศไทย ๔.๐ เปนสิง
๒) การโต้เเย้งเกียวกับข้อเท็จจริง นายกประยุทธ์ จันโอชา คาด
หวังให้เปน

ควรนิยามว่า ๔.๐ คืออะไร


๔.๐ คือ โมเดลในการพั ฒนาเศรษฐกิจ
๔.๔ การชีให้เห็นจุดอ่อนเเละทรรศนะ
ฝายตรงข้าม
๔.๓ การค้นหาเเละเรียบเรียงข้อ
สนับสนุน จุดอ่อน
- การนิยามคําหรือกลุ่มคําสําคัญ
- หาข้อมูลเพื อให้ข้อเสนอมีนําหนัก - ใช้คําพู ดทีถูกนิยาม
- ให้ผู้ฟงเข้าใจได้ชัดเจน - ปริมาณเเละความถูกต้องของข้อมูล
- เรียบเรียงข้อมูลทีได้ให้เปนหมวดหมู่ - มีข้อมูลทีน้อย
- เสนอในปริมาณทีเหมาะสม - สมมุติฐานเเละวิธีในการอนุมาน
- ตังสมมุติฐานทีน่าเชือถือ
๕. การวินิจฉัยเพื อตัดสินข้อโต้แย้ง

๕.๑ พิ จารณาเฉพาะเนือหาสาระ ๕.๒ ใช้ดุลยพิ นิจของตนและพิ จารณาข้อ


โต้แย้งโดยละเอียด
- พิ จารณาจากสิงทีแต่ละฝายพู ด
เท่านัน - ผู้ตัดสินใช้ทรรศนะ ดุลยพิ นิจความ
- ไม่มีการใช้อารมณ์ หรือ คิดเห็นของตนเข้ามาตัดสิน
ประสบการณ์ส่วนตัวมาเกียวข้อง - โดยเริมผู้ตัดสินมักจะมีความลําเอียง
- ผู้ตัดสินเปนกลางอย่างแท้จริง ไปฝายใดฝายหนึง แต่จําเปนต้องฟง
- เช่น การตัดสินคดีในศาล ข้อโต้แย้งของทังสองฝาย
- เช่น การเลือกพรรคการเมือง
๕.๓ ข้อสังเกตเกียวกับการโต้แย้ง

๑. เมือมีการโต้วาที บุคคลทีมีส่วนร่วมจะมีโอกาสพิ จารณาสิงต่างๆในแง่มุมที


กว้างขวางขึน อาจเห็นข้อดี ข้อเสียทีไม่เคยเห็นมาก่อน

๒. การโต้วาทีจะเร็วหรือช้าก็ได้ เขียนหรือพู ดก็ได้ โต้แย้งระหว่าง ๒ คน หรือหลาย


คนก็ได้ โต้กันในนามกลุ่มหรือสถาบันก็ได้

๓. การโต้แย้งไม่ใช่การโต้เถียง ต้องอาศัยวิจารณญาน เหตุผล หลักฐานทีชัดเจน มี


จุดมุ่งหมายทีจะเปลียนแปลงสิงต่างๆให้ดีขึน ควรยับยังการใช้อารมณ์
๖. ข้อควรระวังในการโต้เเย้ง

๖.๑ ผู้โต้แย้งควรหลีกเลียงการใช้อารมณ์ ๖.๓ ผู้โต้แย้งควรรู้จักเลือกประเด็นในการ


- ทําใจให้เปนกลาง โต้แย้งให้เหมาะสม
- มองเหตุผลเปนสําคัญ - ประเด็นโต้เเย้งทีไม่เกิดประโยชน์
๖.๒ ผู้โต้แย้งควรมีมารยาทในการใช้ภาษา - เช่น โลกมีทีสุดหรือไม่มีทีสุด
- ใช้ภาษาให้เหมาะแก่ระดับบุคคลทีมี - ประเด็นโต้เเย้งทีไม่อาจโต้เเย้งกันได้
ส่วนรวมในการโต้เเย้ง - ไม่มีใครรู้ข้อเท็จจริง ต้องคาด
- ใช้ภาษาให้เหมาะกับสถานทีโต้แย้ง คะเน
รวมทังเนือหา - ประเด็นโต้เเย้งทีไม่อาจหยิบยกมาเปน
- แสดงมนุษยสัมพั นธ์ทีดี ประเด็นได้
- กระทบกระเทือนผู้อืน
- ก่อเกิดความแตกแยก
THANK YOU.

You might also like