You are on page 1of 63

ดร.

ภาณุวัฒน จอยกลัด
ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ศ.ดร.อมร พิมานมาศ
กรรมการและรองเลขาธิการสภาวิศวกร
ประธานคณะอนุกรรมการทดสอบความรูความชํานาญระดับสามัญวิศวกรโยธา

คอนกรีตวิทยา || เพื่อเพิ่มพูนความรูแกวิศวกร || ลิขสิทธิ์ของ ศ.ดร.อมร พิมานมาศ และคณะ

• “ซีเมนต (cement)” สามารถผลิตไดจากวัสดุพื้นฐานหลายชนิด


อย า งไรก็ ดี ซี เ มนต ใ นงานโครงสร า งที่ ส นใจในบทนี้ คื อ
“ปอรตแลนดซีเมนต (Portland cement)”

• ปอรตแลนดซีเมนต หมายถึง “ไฮดรอลิกซีเมนต (hydraulic


cement)” หรือ hydrated cement หรือ Anhydrous cement
เพราะนอกจากจะทําปฏิกิริยากับน้ําแลว (ตอนเปนคอนกรีตสด)
ยังตองมีคุณสมบัติที่ทึบน้ํา (ตอนเปนคอนกรีตแข็ง) อีกดวย

-1-
• แมวาทุกวัสดุที่ประกอบขึ้นเปนคอนกรีต ไมวาจะเปน ซีเมนต
มวลรวม น้ําและสารผสมเพิ่ม จะมีความสําคัญ อยางไรก็ดี
นับวาซีเมนตเปนองคประกอบที่สําคัญที่สุด

• แมวาซีเมนตจะมีปริมาตรเพียง 10% ในคอนกรีตแตมันทํา


หนาที่ควบคุมสวนผสมทุกอยางในคอนกรีต

• หนาที่หลักของซีเมนต คือ (1) เชื่อมประสานทรายและหิน


(2) เติมเต็มชองวางระหวางทรายและหิน เพื่อสรางรูปทรงที่
อัดแนนแข็งแรง (compact mass)

• ในทางวิศวกรรมโยธา ซีเมนต (cement) หมายถึง วัสดุผง


ละเอียดเม็ดเล็กๆสีเทา เมื่อทําปฏิกิริยากับน้ําจะกลายเปนวัสดุ
ยึดประสาน หิน กรวดหรือทรายเขาดวยกัน โดยเมื่อแข็งแลว
ใหกําลังคลายกับหิน

-2-
• จากบั น ทึ ก พบว า ซี เ มนต ถู ก ใช ใ นงาน
โครงสรางตั้งแตสมัยอียิปต (3,000 ป)
ซึ่ ง ครั้ ง นั้ น ชาวอี ยิ ป ต ใ ช ซี เ มนต ที่ ไ ด จ าก
การเผา “ยิปซัม (gypsum)” ที่อุณหภูมิ
ประมาณ 130 Co มาใช เ ป น ตั ว เชื่ อ ม
ประสานหิ น สํ า หรั บ การสร า งพิ ร ามิ ด ชี
ออปส (Cheops pyramid)
• เนื่องจากยิปซัมเปนสารที่ละลายน้ํา ซีเมนตในยุคแรกจึงยังไมแข็งตัว
ในน้ํา (Nonhydraulic cement)

• ต อ มาชาวโรมั น สามารถสร า ง
ซีเมนตไดดีขึ้นจากการเผา “ปูนขาว
(lime)” ด ว ยความร อ นที่ สู ง ขึ้ น
(ประมาณ 1000 องศา)
• แต ก ารไม แ ข็ ง ตั ว ในน้ํ า ก็ ยั ง เป น
ป ญ ห า ข อ ง ซี เ ม น ต ใ น ข ณ ะ นั้ น
เนื่ อ งจากปู น ขาวเองก็ ไ ม ส ามารถ
อย างไรก็ดีชาวโรมันใชการบดอัดซีเมนต ให
แข็งตัวในน้ําได แนน และใชสรางโคลีเซียม (Coliseum) ได

-3-
• เพื่อใหซีเมนตที่เกิดจากปูนขาวมีคุณภาพดี
ขึ้น ชาวกรีกและโรมันไดทําการผสมเถา
ภูเขาไฟ โดยมีบันทึกไววาเถาที่ดีตองมา
จ า ก ภู เ ข า ไ ฟ จ า ก ห มู บ า น ป อ ซุ โ อ ลิ
(Pozzuoli)
• ทําใหเรียกวัสดุที่ผสมกับซีเมนตวา “วัสดุ
ปอซโซลาน (pozzolanic material)”
• เหตุ ที่ เ ถ า ภู เ ขาไฟนี้ ใ ช ไ ด ดี กั บ ปู น ขาว
เนื่องจากมีสวนผสมของซิลิกาและอลูมินา

• จนเมื่อ ค.ศ.1756 มีการคนพบวาตองใชปูนขาว และวัสดุปอซโซ


ลานที่ เ ผาจากหิ น ปู น ที่ มี สว นผสมของดิ น เหนี ย ว (clay) จึ ง จะให
ผลลั พ ธ ที่ ดี แ ละเป น จุ ด กํ า เนิ ด ของ “ซี เ มนต ที่ แ ข็ ง ตั ว ในน้ํ า ได
(hydraulic cement)”
• โดยผูคิดคนคือ จอหน สมีตัน
(John Smeaton, 1724-1792)
• หลักการดังกลาวนํามาสรางประภาคาร
“เอ็ดดีสสโตน (Eddystone lighthouse)”

-4-
• ในป ค.ศ.1813 นายโจเซฟ แอสพดิน ได
จดลิ ข สิ ท ธิ์ ก ระบวนการผลิ ต ซี เ มนต ซึ่ ง ได
จากการเผาสวนผสมระหวาง (1) หินปูน
(limestone) (2) ปูนขาว (lime) และ (3)
ดินเหนียว (clay)
• ซึ่ ง ส ว นผสมนี้ เ มื่ อ รวมตั ว กั บ น้ํ า จะแข็ ง ตั ว และมี สี เ หลื อ ง-เทา
เหมือนหินที่ เกาะปอรตแลนด (Portland) ประเทศอังกฤษ
• แอสพดิน เรียกซีเมนตนี้วา ปอรตแลนด (Portland cement) และ
ยังคงใชชื่อนี้จนกระทั่งถึงปจจุบัน

• อยางไรก็ดีในครั้งซีเมนตยังมีคุณภาพไมดีเนื่องจากใชความรอน
ในการเผาที่ต่ํา (หินปูนและดินเหนียวรวมตัวไมดี)

Patent nr. BP 5022, "An Improvement in the Modes of


Producing an Artificial Stone", Joseph Aspdin, 21.10.1824
-5-
• ต อ มาปู น ซี เ มนต ป อร ต แลนด ไ ด มี ก ารพั ฒ นา
อยางตอเนื่อง โดยนาย ไอแซค ชาลส จอหน
สัน (1811-1911) ไดมีการเพิ่มสวนผสมของ
ดินสอพองหรือหินชอลก (chalk)
• หลังการเผาวัสดุผสมที่อุณหภูมิสูงจะเกิดเปน
เม็ดปูน (clinker) ซึ่งเมื่อนํามาบดละเอียดจะ
ไดเปนผงซีเมนตปอรตแลนดชนั้ ดี

clinker

• การผลิ ต ปู น ซี เ มนต ป อร ต แลนด (ต อ ไปจะเรี ย ก


ปูนซีเมนตเฉยๆ) จะใชวัสดุหลัก 2 จําพวกคือ
• ( 1 ) พ ว ก ใ ห ธ า ตุ ปู น ห รื อ คั ล เ ซี ย ม ( Calcareous
materials) ในรูปของ CaCO3 ไดแก หินปูน ชอรค ดิน
มารล (Marl) และเปลือกหอย (shell) ชนิดตางๆ
• (2) พวก อาจิลลาเชียส (Argillaceous materials) ซึ่ง
ให อ อกไซด ข องธาตุ ซิ ลิ ก อน (SiO2) และอลู มิ เ นี ย ม
(Al2O3) ไดแก หินดินดานหรือหินเชล (Shale) ดินดํา
หรือดินเหนียว (clay) และหินชนวน (Slate)
• -6-
(ยิปซัม)
• การมี ป รั บ ปรุ ง ส ว นผสมเพื่ อ ให เ กิ ด
ประสิทธิภาพ เชน เพิ่มยิปซัม เพื่อเปน
ตัวหนวงการกอตัว
• ในกรณีที่หินเชลหรือดินเหนียวมีแรเหล็ก
(Iron ore) ไมเพียงพอ ก็อาจเพิ่มศิลา
แลง (Laterite) ฯ
• โดยวัตถุดิบรองนี้จะนําไปบดรวมกับเม็ด
ปูนภายหลัง

-7-
วัสดุจําพวกคัลเซียม
วัตถุดิบรอง
เชน หินปูน
เชน ยิปซั่ม

ผสมกัน เผา เม็ดปูน ซีเมนต


(blending) (kiln) (clinker) (cement)
บด

วัสดุจําพวก
อาจิลลาเชียส เชน
ดินเหนียว

• มี 2 รู ป แบบหลั ก ๆ คื อ (1) การผลิ ต แบบแห ง (dry


process) และ (2) การผลิตแบบเปยก (Wet process)
• โดยการเลือกรูปแบบการผลิต ขึ้นอยูกับ (1) ความชื้นตาม
ธรรมชาติของวัตถุดิบ (2) ชนิดของวัถุดิบ ฯ
• หากวั ต ถุ ดิ บ มี ค วามชื้ น มาก (เช น ดิ น เหนี ย ว) การขจั ด
ความชื้นเพื่อบดอัดตองใชคาใชจายสูง ดังนั้นในกรณีดังกลาว
ควรเลือก wet process

-8-
• หากวัตถุดิบมีความชื้นนอย (เชน หินปูน)
ในกรณีดังกลาวควรเลือกผลิตดวยวิธี dry
process
• ในระบบ wet เมื่อผสมองคประกอบจนได
เปนของเหลวที่เรียกวา slurry แลว
• เหลวดังกลาวจะถูกนําเขาเตาเผาซึ่งตองใช
ความรอนสูงกวาแบบ dry เพราะตองไล
ความชื้ น ซึ่ ง สิ้ น เปลื อ งพลั ง งานมากกว า
ทําให dry process เปนที่นิยมมากกวา

• การเผาใน หมอเผา (klin) จะใชความรอน


ที่สูงมาก (ประมาณ 1,450 องศา)
• จะเผาจนได ปู น เม็ ด (clinker/nodules)
ซึ่ ง มี ข นาดเส น ผ า นศู น ย ก ลางประมาณ
0.5-2.5 ซม.
• ปู น เม็ ด จะถู ก นํ า เข า หม อ บดซี เ มนต
(cement mill) เพื่อทําเปนผงและสงเขา
ไซโลเก็บซีเมนต (cement silo)
ไซโลเก็บซีเมนต
-9-
• ¡Ë

-10-
• ในขณะที่บดปูนเม็ด ยิปซั่ม (gypsum, CaSO4)
ประมาณ 3%-5% โดยน้ําหนักของปูนเม็ด จะ
ถูกเติมเขาไป เพื่อชวยในการกอตัวของซีเมนต
เมื่อทําปฏิกิริยาไฮเดรชั่นกับน้ํา
• ทั้งนี้เม็ดปูนเม็ดที่ไดจะประกอบดวย ออกไซด
(Oxides) ถึง 90%
• ออกไซค ที่ ไ ด มี ค วามสํ า คั ญ ต อ คุ ณ สมบั ติ ข อง
ซีเมนตอยางมาก

ออกไซด รอยละ เฉลี่ย


ปูนขาว (Lime), CaO 60-65 63
ซิลิกา (Silica), SiO2 17-25 20
อะลูมินา (Alumina), Al2O3 3.5-9 6.3
ออกไซดของเหล็ก (Iron oxide), Fe2O3 0.5-6 3.3
แมกนีเซีย (Magnesia), MgO 0.5-4 2.4
ซัลเฟอรไตรออกไซด (Sulphur trioxide), SO3 1-2 1.5
อัลคาสิส (Alkalis) เชน โซดา (Soda) และ/หรือ 0.5-1.3 1.0
โพแทส (Potash), Na2O + K2O
-11-
• ออกไซค ดั ง กล า วถู ก แบ ง เป น “ออกไซค ห ลั ก ” 4 ตั ว
ประกอบด ว ย (1) แคลเซี ย มออกไซค (CaO) (2) ซิ ลิ ก า
ออกไซค (SiO2) (3) อลูมินัมออกไซค (Al2O3) และ (4)
เฟอริกออกไซค (Fe2O3)
• และ “ออกไซคยอย” อื่นๆ เชน แมกนีเซี่ยมออกไซค (MgO)
โซเดี่ยมออกไซค (Na2O) และ โพแทสเซี่ยมออกไซค (K2O)
• จากการเผาในกระบวนการผลิตซีเมนต ออกไซคเหลานั้น
ทํ า ปฏิ กิ ริ ย ากั น และสร า ง “สารประกอบหลั ก (Major
compounds)” ซึ่งเปนตัวควบคุมปฏิกิริยาของซีเมนต

• สารประกอบหลักที่สําคัญมี 4 ตัว (+1 คือ ยิปซั่ม) ดังนี้


ชื่อ สวนประกอบทางเคมี ชื่อยอ ชื่อที่เรียกทั่วไป
ไตรคัลเซียม ซิลิเกต 3CaO.SiO2 C3S Alite
(Tricalcium silicate)
ไดคัลเซียม ซิลิเกต 2CaO.SiO2 C2S Belite
(Dicalcium silicate)
ไตรคัลเซียม อลูมิเนต 3CaO.Al2O3 C3A Aluminate
(Tricalcium aluminate)
เทตราคัลเซียม อลูมิโน เฟอรไรท 4CaO.Al2O3.Fe2O3 C4AF Ferrite
(Tetracalcium aluminoferrite)
คัลเซียม ซัลเฟต ไดไฮเดรต CaSO4.2H2O CSH2 Gypsum
(Calcium sulfate dihydrate)
-12-
• ทั้งนี้ปริมาณของสารประกอบหลักขึ้นอยูกับปริมาณของวัสดุพื้นฐานที่
แตละโรงงานใชสรางปูนเม็ด ซึ่งประมาณไดดังนี้
สารประกอบ ชื่อที่เรียกทั่วไป รอยละโดยมวลในซีเมนต
C3 S Alite 55
C2S Belite 18
C3 A Aluminate 10
C4AF Ferrite 8
CSH2 Gypsum 6
-13-
• นอกจากสารประกอบหลั ก ทั้ ง 4 (+1) แล ว ซี เ มนต ยั ง
ประกอบดวยสารประกอบรอง (ประมาณ 2-3%) เชน MgO,
ไทเทเนี่ยมไดออกไซค (TiO2), Mn2O, K2O และ Na2O
• โดยจะมี 2 ตัวสําคัญที่ตองทราบไวคือ K2O และ Na2O (มี
ฤทธิ์เปนดางหรือ alkalis)
• เนื่องจากในคอนกรีต K2O และ Na2O มักไปทําปฏิกิริยากับ
มวลรวม (Aggregate) บางชนิ ด ก อ ให เ กิ ด การขยายตั ว /
แตกร า ว ที่ เ รี ย กว า “ปฏิ กิ ริ ย าระหว า งด า งและมวลรวม
(Alkali-Aggregate reaction)” ได

• จากการศึกษาพบวา C3S และ C2S มีความสําคัญตอการ


พัฒนากําลังของซีเมนตอยางมาก (ประมาณ 70-80% ของ
ซีเมนต)
• ในขณะที่ C3A และ C4AF มีความสําคัญตอกําลังของซีเมนต
นอยกวา มิเหนาซ้ํายังสรางรอยแตกราวใหคอนกรีต เนื่องจาก
C4AF ไปทําปฏิกิริยากับซัลเฟต ได ettringite ซึ่งมีผลทําให
โครงสรางเพลสขยายตัวมากกวาที่ตองการ

-14-
• เมื่ อ ซีเ มนต ผ สมกั บ น้ํ า จะเกิด ปฏิ กิ ริ ย าเรี ย กว า “ไฮ-
เดรชั่น” ปฏิกิริยาดังกลาวกอใหเกิด (1) ความรอน
(2) สรางการกอตัวและ (3) กําลังของคอนกรีต ฯ
• ปฏิ กิ ริ ย าไฮเดรชั่ น หรื อ “ปฏิ กิ ริ ย าระหว า งน้ํ า กั บ
ซีเมนต” กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของซีเมนตไปสู
Le Chatelier
สภาพของวัสดุเชื่อมประสานซึ่งแข็ง แนนและมีมวล
มาก
• ซึ่ง Le Chatelier เปนคนแรกที่อธิบายถึง
กระบวนการเกิดปฏิกิริยาไฮเดรชั่น โดยพิจารณาจาก
สารประกอบตั้งตนแตละตัวแยกกัน

• เป น ที่ ท ราบว า ในซี เ มนต มี ส ารประกอบพื้ น ฐาน


หลายชนิด (ทั้งสารประกอบหลักและรอง)
• เมื่ อ นํ า ซี เ มนต ม าผสมกั บ น้ํ า สารประกอบตั้ ง ต น
เหลานั้น จะทําปฏิกิริยากับน้ําและสรางสารประกอบ
ตัวใหม
• การทํ า ปฏิ กิ ริ ย าจะพิ จ ารณาตามสารประกอบ
พื้นฐาน 3 กลุม คือ (1) C3S & C2S (2) C3A
และ (3) C4AF

-15-
• เนื่ อ งจากมี ก ารเติ ม ยิ ป ซั่ ม
ในขั้นตอนการสรางเม็ดปูน
เพื่อหนวงการเกิดปฏิกิริยา
ของ C3A ettringite

• ทําให sulfate ions (SO2-4) จากยิปซั่มเขาปฏิกิริยากับ C3A และ


น้ําเกิดเปน “คัลเซี่ยมซัลโฟอลูมิเนต (Callium Sulforaluminate
Hydrate)” หรือ “เอททริงไกต (Ettringite)” Î C6AS3H32

• ปฏิ กิ ริ ย านี้ เ กิ ด ขึ้ น อย า งรวดเร็ ว และเกิ ด ขึ้ น ก อ นปฏิ กิ ริ ย าจาก


สารประกอบอื่นๆ (ประมาณ 2-3 นาที แรกหลังจากน้ําเขาทํา
ปฏิกิริยา)
• รูปรางของ Ettringite มีลักษณะเปน ผลึกคลายเข็ม (Needle-
shaped crystals)
• Ettringite จะเขาปกคลุม C3A ทําให C3A ทําปฏิกิริยากับน้ํา
ไดชาลง อยางไรก็ดีความตองการในการทําปฏิกิริยาของ C3A
กับน้ําจะมีอยู เปนผลให ettringite ที่หุมอยูแตกออก

-16-
• C3A จะเขาทําปฏิกิริยากับ sulfate ions
ที่เหลืออยู และสราง ettringite อีกครั้ง
โดยปฏิกิริยานี้จะเกิดไปเรื่อยๆจน sulfate
ions (จากยิปซั่ม) เริ่มหมดไป
• หลั ง จากนั้ น อี ก หลายวั น เมื่ อ sulfate
ions หมดไป C3A จะเขาทําปฏิกิริยากับ
ettringite ที่เหลืออยูเกิดเปน “คัลเซี่ยม-
โ ม โ น ซั ล โ ฟ อ ลู มิ เ น ต ( Calcium-
Monosulfo aluminiate)”Î 3C4ASH12

• โดย 3C4ASH12 จะมี ลั ก ษณะเป น “แผ น หก


เหลี่ยม (Hexagonal-plate)”
• ซึ่งผลผลิตนี้จะสรางปญหาเกี่ยวกับการรบกวน
โดยซัลเฟต (Sulfate attack) ภายหลัง
• เนื่ อ งจาก 3C4ASH12 อาจไปทํ า ปฏิ กิ ริ ย ากั บ
sulfate ions ภายนอก เกิดเปน Ettringite ซึ่ง
จะขยายตั ว อย า งรุ น แรงและก อ ให เ กิ ด การ
แตกราว

-17-
• สรุปปฏิกิริยาเนื่องจาก C3A
C3A + Gypsum/sulfate ions + Water Ettringite

เมื่อ sulfate ions จาก gypsum หมด (ใชเวลาหลายวัน)

C3A + Ettringite + Water Monosulfo-aluminate

เวลาผานไป หากมี sulfate ions จากภายนอก


ตกคาง
sulfate ions + คัลเซี่ยมไฮดรอกไซด Gypsum
ที่มีอยูในซีเมนต

Ettringite
Gypsum + Water + Monosulfo-aluminate
(ขยายเกือบ 2 เทา = cracks)

• การทําปฏิกิริยาของ C4AF จะคลายกับ C3A แตเกิดขึ้น


ชากวาและมีความรอนนอยกวา
• ยิปซั่มจะหนวงการเกิดปฏิกิริยาของ C4AF มากกวา C3A
• เชนกัน C4AF และยิปซั่ม จะสรางองคประกอบแบบเข็ม
คลายๆกับ ettringite นั้นคือ คัลเซี่ยมซัลโฟอลูมิเนต
(Calium-sulphoaluminate) และคัลเซี่ยมซัลโฟเฟอรไรต
(Calium-sulphoferrite)

-18-
• พบวาปริมาตรของผลผลิตที่เกิดจาก C3A และ
C4AF มีปริมาตรเพียงรอยละ 15-20 ของเพลสต
• ทั้งนี้ผลผลิตดังกลาวจะมีผลนอยตอคุณสมบัติของ
โครงสรางเพลสต

• หลังจากเกิด ettringite ตอมาอีกหลายชั่วโมง “คัลเซี่ยมซิลิ


เกต (C3S และ C2S)” จะทําปฏิกิริยากับ “น้ํา (H2O)” จะ
ไดสารประกอบตัวใหม คือ
• (1) คัลเซี่ยมซิลิเกตไฮเดรต (Calcium silicate hydrate)
เขียนไดเปน 3CaO.2SiO2.3H2O หรือ C3S2H3 เขียนยอ
วา “CSH” และ
• (2) คัลเซี่ยมไฮดรอกไซด (Calcium hydroxide) เขียนได
เปน (Ca(OH)2) หรือเขียนยอวา “CH”

-19-
• เมื่อเปรียบเทียบแลว C3S จะสราง CSH ไดนอยกวาที่
C2S ทําได (นอยกวาประมาณ 3 เทา)
• CSH ที่ไดจะทําหนาที่คลาย “วุน (gel)” ชวยยึดเกาะ
กับวัสดุผสมอื่นๆ (เชน ทรายและหิน) ทั้งนี้ CSH มี
คุณสมบัติเปลี่ยนตามสวนผสมและอายุของเพลสต
• รูปรางของ CSH ไมสามารถสรุปไดแนนอน มีหลาย
รูปแบบเชน เสนใย (fibrous) แบบ (Flattened)
โครงข า ย (Network) และรู ป ร า งผิ ด ปรกติ แต ที่ พ บ
มากสุดคือ เสนใยกลวงตัน

• ในขณะที่นักวิจัยบางคนเสนอวาโครงสรางของ CSH
มีลักษณะเปนแผนชั้นๆ (layer structure)
• ในขณะที่คัลเซี่ยมไฮดรอกไซด (CH) จะทําใหเพลสตมี
คุณสมบัติที่เปนดาง (คือมีคา PH มากกวา 12)
ชวยปองกันการเกิดสนิมในเหล็กเสริม สําหรับกรณี
ของโครงสราง RC
• CH เปนอนุภาคที่มีรูปทรงหกเปลี่ยม (Hexagonal)
และมีขนาดใหญหลาบสิบไมโครเมตร แตมีโครงสราง
ที่ออนแอกวา CSH
-20-
ภาพขยายของ
(Ca(OH)2)

CSH
Ca(H2O)
Ettringite

CSH gel

(ก) ที่อายุนอยกวา 3 วัน จะพบ ettringite


หิน
(ข) ที่อายุ 28 วัน พบวา CSH จะไปเคลือบหิน
-21-
• เพื่อใหปฏิกิริยาไฮเดรชั่นเกิดขึ้นอยางนอย 80% ของปฏิกิริยาที่
สมบูรณจะตองใชเวลาอยางนอยเทากับ
สารประกอบ เวลา (วัน)
C3 S 10
C2S 100
C3 A 6
C4AF 50

-22-
• พิ จ ารณาจากกราฟการเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย าไฮเดรชั่ น หรื อ การ
พัฒนากําลังของซีเมนต พบวา
• C3S ทําปฏิกิริยากับน้ําไดดีในระดับปานกลางหรือใชเวลา
2-3 ชั่ ว โมง ในการก อ ตั ว และแข็ ง ตั ว เกิ ด ความร อ น
ประมาณ 500 จูลตอกรัม ความรอนนี้เรียกวา “ความ
รอนจากปฏิกิริยาไฮเดรชั่น (Heat of hydration)”
• พัฒนากําลังอัดในชวงแรกไดดีแตชวงหลังคอนขางคงที่

-23-
เกิดจาก C2S
10 hrs 20 hrs
และ C3S
15 mins

• C2S ทําปฏิกิริยากับน้ําและแข็งตัวไดชากวา C3S โดย


ใชเวลาในการทําปฏิกิริยาคอนขางชา (ใชเวลาเปนวัน)
• พบวา heat of hydration จาก C2S คอนขางต่ํา
(ประมาณ 250 จูล/กรัม)
• เหตุผลดังกลาวทําใหมีการพัฒนากําลังอัดในชวงแรกที่
ชา แตพบวามีอัตราการพัฒนากําลังอัดในชวงหลังไดดี
• และในที่สุดจะมีกําลังอัดใกลเคียงกับ C3S

-24-
• C3A จะทําปฏิกิริยากับน้ําทันที กอตัวเร็ว เกิด heat of
hydration ที่สูง (ประมาณ 850 จูล/กรัม)
• “การกอตัวที่เร็ว (flash set)” ตองปองกันโดยการ
เติมยิปซั่ม (เพลสตจะกอตัวโดยที่ไมมีกําลัง)
• มีการพัฒนากําลังอัดในชวงแรก (ภายในวันเดียว) สูง
อยางไรก็ดีพบวามีกําลังในชวงหลังที่ต่ํา

• C4AF เปนสารที่เกิดจาก “อะลูมีเนี่ยม-A” และ “เหล็ก-F”


เปนหลัก

• มีผลตอสีของซีเมนต ทําใหซีเมนตมีสีเทา

• ทํ า ปฏิ กิ ริ ย ากั บ น้ํ า อย า งรวดเร็ ว และก อ ตั ว ภายในมี กี่ น าที


โดยมี heat of hydration ประมาณ 420 จูล/กรัม

• โดย C4AF ไมมีผลตอกําลังรับแรงอัดในชวงหลัง

-25-
คุณสมบัติ ปฏิกิริยา
C3 S C2 S C3 A C4AF
อัตราการเกิดปฏิกิริยา ปานกลาง ชา ทันที เร็วมาก
(ชั่วโมง) (วัน) (นาที)
ความรอนจากปฏิกิริยา ปานกลาง นอย สูงมาก ปานกลาง
(500 J/g) (250 J/g) (850 J/g) (420 J/g)
พัฒนากําลังชวงแรก ดี ต่าํ ดี ดี

พัฒนากําลังชวงหลัง สูง คอนขางสูง ต่ํา ต่ํา


ความทนทานตอซัลเฟต ปานกลาง สูง นอย -

• ดั ง นั้ น หากต อ งการพั ฒ นาคุ ณ ภาพของซี เ มนต จึ ง


จําเปนตองศึกษาผลกระทบของสารประกอบออกไซดซึ่ง
เปนผลมาจากสวนผสมตางๆ เชน

• (1.1) การเพิ่ ม ปู น ขาวมากเกิ น พอดี อาจทํ า ให มั น ไม


สามารถทําปฏิกิริยากับสารประกอบอื่นได

• (1.2) สงผลใหเกิด ปูนขาวอิสระ (free lime) เกิดขึ้นใน


ปูนเม็ด ซึ่งทําใหซีเมนตไมมีความคงตัว

-26-
• (2) การเพิ่ม ซิลีกา (SiO2) มากเกินไป (มากกวา อะลู
มิ น า (Al2O3) และ ออกไซด ข องเหล็ ก (Fe2O3)) จะ
สงผลใหการกอตัวเปนเม็ดปูนทําไดยากขึ้น

• (3) ซีเมนตที่มีปริมาณของอะลูมินาและออกไซดของ
เหล็กคอนขางสูง จะสามารถชวยในการพัฒนากําลัง
ของซีเมนตในชวงแรกไดดี (early strength)

• (4) อาจจะมีการขยายตัวของมอรตาและคอนกรีตมาก
เกิ น ไป จนทํ า ให เ กิ ด ความเสี ย หาย หาก มั ก นี เ ซี ย ม
ออกไซด (MgO) มีมากเกินไป (มากกวา 5%)

• (5) แมวา ยิปซั่ม (gypsum) จะมีประโยชนและใชเพื่อ


หนวงไมใหซีเมนตกอตัวที่เร็วเกินไป แตหากมีมากเกินไป
ก็จะทําใหคอนกรีตไมอยูตัวและมีกําลังอัดที่ลดลง

-27-
• (6) คุณสมบัติที่เปน ดาง ของ K2O และ Na2O จะเพิ่ม
กําลังรับแรงอัดในชวงแรก แตกําลังรับแรงอัดในชวงหลัง
จะลดลง ถ า ทํ า ปฏิ กิ ริ ย ากั บ วั ส ดุ ผ สม จะเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย า
Alkali-Aggregate เปนผลใหคอนกรีตสูญเสียกําลัง

• ขึ้นอยูกับหลายปจจัย เชน
1. อายุของซีเมนตเพลสต : ซึ่งปฏิกิริยาจะมีมากในชวงแรก
และลดลงเมื่อถึงจุดๆหนึ่ง (เกิดสมบูรณ)
2. องคประกอบของซีเมนต : โดยเฉพาะสารประกอบ C3S
และ C3A
3. ความละเอียดของซีเมนต : หากซีเมนตมีความละเอียด
มาก ปฏิกิริยาจะเกิดไดสมบูรณมาก

-28-
4. อัตราสวนน้ําตอซีเมนต : ในชวงตน w/c ratio จะไม
มีผลตอฏิกริยา แตในชวงหลังหาก w/c ratio ลดลง
จะเกิดปฏิกิริยาลดลงดวย
5. อุณหภูมิ : เมื่อใหความรอนที่เหมาะสม (ตองไมมาก
เกินไปจนเพลสแตกราว) ปฏิกิริยาจะเกิดไดดีขึ้น
6. สารผสมเพิ่ม : ซึ่งมีอยู 2 ประเภทคือ (1) สารหนวง
และ (2) การเรงปฏิกิริยา

• เมื่ อ ซี เ มนต ทํ า ปฏิ กิ ริ ย ากั บ น้ํ า ในช ว งแรกเพลสต ที่ ไ ด จ ะมี


คุณสมบัติที่ขนเหลว ทําใหสามารถเทและทําใหคอนกรีตไหลเขา
แบบหลอได
• จากนั้นเพลสตจะเริ่มแข็งตัวและไมสามารถไหลตัวได จนกระทั่ง
กลายเปนของแข็ง
• เงื่ อ นไขดั ง กล า วเกิ ด เป น ภาวะที่ พิ จ ารณาอยู 3 จุ ด คื อ (1)
ปูนซีเมนตผสมน้ํา (2) แข็งตัวเริ่มตน และ (3) แข็งตัวสุดทาย

-29-
• จุดทั้ง 3 สรางชวงของปฏิกิริยาเปน 3 ชวง ดังนี้
• (1) ตั้งแตปูนผสมน้ําจนถึงจุดแข็งตัวเริ่มตน (initial set)
เราเรียกวา “ชวงที่ยังไมมีการเปลี่ยนแปลง (induction
หรือ dormant time)”
• ในชวงนี้เพลสตยังมีความขนเหลว (plastic) และไหลลื่น
(workable paste)
• ระยะเวลาตั้งแตตนจนจบของชวงนี้เรียกวา “เวลากอตัว
เริ่มตน (initial setting time)”

• (2) ตั้ ง แต จุ ด แข็ ง ตั ว เริ่ ม ต น ไปจนถึ ง จุ ด แข็ ง ตั ว สุ ด ท า ย


(final set) ซึ่งเปนจุดที่เพลสตจะเปลี่ยนไปเปนของแข็ง
เราเรียกวา “ชวงการกอตัว (setting)”
• ชวงนี้เพลสตจะเริ่มอยูตัว (stiff) และไมสามารถไหลตัวได
(unworkable paste)
• โดยเวลาที่นับตั้งแตจุดเติมน้ํามาจนถึงจุดแข็งตัวสุดทาย
จะเรียกวา “เวลาการกอตัวสุดทาย (Final setting
time)”

-30-
• (3) หลังจากจุดแข็งตัวสุดทาย คอนกรีตจะเปลี่ยนเปน
ของแข็ง (solid) และสามารถรับแรงไดตามระยะเวลา
• ชวงนี้เปนตนไปเราเรียกวา “การแข็งตัว (hardening)”
• โดยกระบวนการทั้ ง หมดตั้ ง แต ปู น ซี เ มนต ผ สมน้ํ า
จนกระทั่งเพลสตสามารถรับน้ําหนักไดนี้ เรียกวา “การ
กอตัวและแข็งตัว (setting and hardening)”

ปูนซีเมนตผสมน้ํา

มีความขนเหลวทํางานได เวลาการกอตัวเริ่มตน

จุดแข็งตัวเริ่มตน

เริ่มอยูตัวทํางานไมได
เวลาการกอตัวสุดทาย

การแข็งตัว

เปนของแข็ง
-31-
• ในเพลสตจะมีโครงสรางหลัก 3 สวนคือ
• (1) สวนที่เปนของแข็ง (Solid)
• (2) สวนที่เปนชองวาง (Void)
• (3) สวนที่เปนน้ํา (Water)
• โดยแตละสวนมีรายละเอียดดังนี้

• ที่ ก ล า วมาเพลสต จ ะประกอบด ว ยส ว นแข็ ง ซึ่ ง มาก


จาก (1) CSH (2) Ca(OH)2 (3) ผลผลิตจาก C3A
และ C4AF ซึ่งก็คือ ettringite หรือ monosulfate
• อยางไรก็ดีสวนแข็งอีก 1 สวน ที่ยังไมไดอธิบายคือ
เม็ดซีเมนตที่ไมไดทําปฏิกิริยาไฮเดรชั่น (Unhydrated
clinker grains)

-32-
• ขึ้ น อยู กั บ การกระจายตั ว ของซี เ มนต (particle
size distribution) ในสวนผสมและระดับขั้นใน
การทําปฏิกิริยาไฮเดรชั่น
• unhydrated clinker grains อาจพบไดใน
microstructure ของเพลส แมวาเกิดปฏิกิริยาไฮ
เดรชั่นไปเปนเวลานาน
• เนื่ อ งจากในป จ จุ บั น เม็ ด ซี เ มนต เ หล า นี้ มี ข นาด
ตั้งแต 1 – 50 Pm

• อนุภาคซีเมนตขนาดเล็กจะทํ า ปฏิกิริยาไฮเดรชั่นกอน
จากนั้นจะหายไปจากโครงสรางเพลส

• ต อ มาอนุ ภ าคที่ เ หลื อ อยู ซึ่ ง มี ข นาดใหญ ก็ จ ะค อ ยๆลด


ขนาดลงเรื่อยๆ เนื่องจากการเขาทําปฏิกิริยาไฮเดรชั่น

• ประกอบกั บ ผลผลิ ต ที่ เ ป น ผลึ ก จากปฏิ กิ ริ ย าไฮเดรชั่ น


(Extringite, CSH และ Ca(OH)2) ซึ่งจะขยายตัวและ
เบียดเขาหากัน ทําใหพื้นที่ระหวางอนุภาคซีเมนตซึ่งมี
พื้นที่จํากัดอยูแลว นอยลงไปอีก
-33-
• ทํา ให ผ ลผลิต จากปฏิ กิ ริ ย าไฮเดรชั่น ที่ เ กิด ขึ้ น ไปก อ น
เขาไปเบียด (หุม) อนุภาคซีเมนตขนาดใหญที่ยังไมได
ทําปฏิกิริยาไฮเดรชั่น

• ทํา ใหอนุ ภาคซีเ มนตบ างสวนเหลื อเป น unhydrated


clinker grains

• ทั้งนี้รูปรางของ unhydrated clinker grains ก็จะมี


ลักษณะคลายกับรูปทรงเดิมของอนุภาคซีเมนตกอนทํา
ปฏิกิริยากับน้ํา

• หลั ง จากเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย าไฮเดรชั่ น ไปซั ก ระยะ น้ํ า ส ว นเกิ น ที่ ไ ม ไ ด ทํ า


ปฏิกิริยาไฮเดรชั่นจกตกคางอยูในเนื้อคอนกรีต กลายเปน “ชองวาง
(voids)” หรือ “รูพรุน (pores)” ซึ่งอาจจะมีน้ําคางอยูหรือไมก็ได

• ช อ งว า งแบ ง เป น 2 ประเภท คื อ (1) ช อ งว า งในซี เ มนต เ จล (Gel


pore) ซึ่งปจจุบันเรียกวา ชองวางระหวางชั้นของ CSH (Interlayer
space in CSH) ซึ่งมีขนาดเล็กมากประมาณ 3 นาโนเมตร (2)
ชองวางแคพิลลาลี (Capillary pores) ซึ่งมีขนาดใหญกวา Gel pore
ประมาณ 10 เทา

-34-
เปรียบเทียบใหเห็นความแตกตางในเชิงขนาดระหวางองคประกอบตางๆ
ในโครงสรางซีเมนตเพลสต

• มี ก ารสั น นิ ษ ฐานว า ความกว า งของ interlayer


space/Gel pore ระหวาง CSH มีขนาดประมาณ
18 Å (1 อังสตรอม (Å) = 0.1 นาโนเมตร (nm))
• เนื้ อ ซี เ มนต ค ล า ยกั บ ฟองน้ํ า ที่ มี รู พ รุ น ขนาดเล็ ก
จํานวนมาก รูพรุนเหลานี้เชื่อมโยงถึงกัน
• อยางไรก็ดีการเคลื่อนที่ของน้ําระหวาง Gel pore
ในซีเมนตเจลเปนไปไดยากเนื่องจาก Gel pore มี
ขนาดเล็ก

-35-
• โดยทั่วไป Gel pore มีอยูประมาณ 28% หรือ
ประมาณ 1 ใน 3 โดยปริมาตรของสวนที่เปนเนื้อแข็ง
ของ CSH
• เนื่องจาก Gel pore มีขนาดเล็กมาก ดังนั้นโดยมากจะ
คิดพื้นที่ Gel pore เปนสวนหนึ่งของซีเมนตเจล
• เนื่ อ งจากขนาดที่ เ ล็ ก มากชอ งว า งเหลา นี้ จึ ง ไม มี ผ ลต อ
กําลัง (strength) และความซึมได (permeability) ของ
เพลสต

• ชองวางแคพิลลาลี (Capillary pores) คือ ชองวาง


ในเนื้ อ เพลสต ที่ ไ ม ไ ด ถู ก เติ ม ด ว ยองค ป ระกอบแข็ ง
(solid component) ของซีเมนต
• สําหรับซีเมนตที่ทําปฏิกิริยาดี เพลสตที่มี w/c ต่ํา
ขนาดของ capillary pores จะอยูในชวง 10 – 50
nm.
• หาก w/c สูง ขนาดของ capillary pores จะอยู
ในชวง 3 – 5 Pm.

-36-
ขนาดของ
capillary pores

ณ ปริมาตรที่เทาๆกัน เพลสตที่มี w/c ต่ําจะมีขนาดของ capillary


pores ที่ต่ําตามไปดวย

การพัฒนาขนาดของ
capillary pores

เมื่อเวลาผานไปขนาดของ capillary pores ก็ตะลดลงเนื่องจาก


โครงสรางสวนแข็งขยายตัว
-37-
• ทั้งนี้ capillary pores ที่มีขนาดใหญกวา 50 nm
จะถือเปน “ชองวางขนาดใหญ (macropores)” ซึ่ง
จะมีผลอยางมากตอกําลังและความซึมไดของเพลสต

• ในขณะที่ capillary pores ที่มีขนาดเล็กกวา 50


nm จะถือเปน “ชองวางขนาดเล็ก (micropores)”
ซึ่งจะมีผลตอการหดตัว (shrinkage) และการคืบ
(creep) ของเพลสต

ความสําคัญของ • คุณสมบัติที่สําคัญของ Capillary pores คือ


capillary pore ตอ การเชื่อมโยงถึงกัน ซึ่งเมื่อเกิดปฏิกิริยาอยาง
คุณสมบัติของเพลสต สมบูรณการเชื่อมตอระหวาง capillary pores
จะเปนไปไดยาก
• อย า งไรก็ ดี ก ารเชื่ อ มต อ ระหว า ง capillary
pores ก็ยังเกิดขึ้นไดผาน interlayer space
ของ CSH หรือ gel pore ไดอยู
• น้ํ า และอากาศที่ ซึ ม ผ า นไปได ต ามช อ งทาง
ดังกลาวมีทั้งผลดีและเสีย
-38-
ความสําคัญของ • สว นดี คื อ ซีเ มนต ที่ ยั ง ไม ไ ด น้ํ า หรื อ ได แต ไ ม
capillary pore ตอ เพียงพอในการทํา ปฏิกิริยาไฮเดรชั่น จะไดน้ํา
คุณสมบัติของเพลสต
จากชองทางนี้ไปทําปฏิกิริยาไฮเดรชั่น

• สวนเสีย คือ อากาศและน้ําภายนอกจะเขาไป


ทําอันตรายตอคอนกรีตและทําใหเกิดปญหาใน
เรื่องของความคงทน

• ทั้งนี้วิธีแสดงถึงปริมาตรของ Capillary pores


ในเพลสตเรียกวา “ความพรุน (porosity)”

• ช อ งว า งส ว นสุ ด ท า ยที่ พ บในโครงสร า งเพลสต คื อ


“ชองวางที่เกิดจากฟองอากาศ (air void)”

• พบวาในขณะที่ capillary void มีรูปรางที่ไมคงที่ แต air


void จะมีรูปรางที่คงที่ นั่นคือทรงกลม

• โดยทั่วไปฟองอากาศจะติดอยูในเพลสตในขณะที่ทําการ
ผสม (mixing) ซึ่งในบทขางหนาจะแสดงใหเห็นถึงความ
จํ า เป น ที่ ต อ งเติ ม สารผสมเพิ่ ม (admixtures) เพื่ อ ที่ จ ะ
บังคับใหฟองอากาศเหลานี้มีขนาดเล็กที่สุด
-39-
• ฟองอากาศที่ติดอยูในเพลสต (entrapped air void)
อาจมีขนาดใหญถึง 3 mm.
• ในขณะที่ ฟ องกาศที่ เ กิ ด จากใช ส ารกั ก กระจาย
ฟองอากาศ (entrained agent) ที่เรียกวา entrained
air void จะมีขนาดประมาณ 50 – 200 Pm.
• เนื่องจากเปนชองวางขนาดใหญ ทั้ง entrapped และ
entrain air void จะมีผลตอกําลังของเพลส (ขนาด
ใหญจะทําใหกําลังของเพลสตต่ํา)

• ขึ้นอยูกับสภาพอากาศและความชื้น (humidity) ซีเมนต


ที่ไมมีคุณภาพจะสามารถกักเก็บน้ําในชองวางไดมาก
• การจํ า แนกประเภทของน้ํ า ในเพลสต ขึ้ น อยู กั บ
ความสามารถที่น้ําจะหนีออกไปจากเพลสตได
• น้ํ า แบ ง ออกได ไ ด เ ป น (1) น้ํ า ในโพรงแคพิ ล ลาลี
(capillary water) (2) น้ําที่ถูกซับ (absorbed water)
(3) น้ําใน gel pore (Interlayer water) และ (4) น้ํา
ปนเปอนสารเคมี (chemically combined water)

-40-
น้ําในโพรงแคพิลลาลี • คื อ น้ํ า ที่ อ ยู ใ นช อ งว า งซึ่ ง มี ข นาดมากกว า
(capillary water) 0.5 nm
• น้ํ า ในส ว นนี้ กั ก เก็ บ อยู ใ นช อ งว า งโดยไม ไ ด
อาศัยแรงดูดระหวางพื้นผิวของสวนแข็ง
• แบงออกเปน 2 แบบ คือ (1) น้ําชองวาง
ขนาดใหญซึ่งมีขนาดมากกวา 50 nm หรือ
เรียกวา “น้ําอิสระ (free water)” เพราะ
เมื่อสูญหายออกไปจากชองวางแลวไมไดทํา
ใหเกิดการเปลี่ยนแปลงปริมาตรของเพลสต

น้ําในโพรงแคพิลลาลี • (2) คื อ น้ํ า ที่ เ ก็ บ ไว ใ นช อ งว า งขนาดเล็ ก


(capillary water) (เล็กประมาณ 5 – 50 nm) ซึ่งมีแรงดึง
แคพิลลาลี (capillary tension) เหนี่ยวรั้ง
เอาไว
• น้ําในสวนนี้เมื่อสูญเสียไปจะกอใหเกิดการหด
ตัว (shrinkage)

-41-
น้ําที่ถูกซับ • คื อ น้ํ า ที่ อ ยู ติ ด หรื อ ถูก ดู ด ซึ ม (absord) ไว
(absorbed water) กับพื้นผิวสวนแข็ง
• จากการวิจัยพบวาน้ําที่มีขนาดถึง 1.5 nm
จะถู ก ดู ด ซึ ม ไว ด ว ยแรงยึ ด เหนี่ ย วของน้ํ า
(hydrogen bonding)
• แรงดึงดูดดังกลาวจะนอยลงเมื่อโมเลกุลของ
น้ํ า ห า งออกไปจากพื้ น ผิ ว ของส ว นแข็ ง ของ
เพลสต

น้ําที่ถูกซับ • น้ํ า ในส ว นนี้ จ ะหายไปจากโครงสร า งของ


(absorbed water) เพลสต เมื่อเพลสตถูกทําใหแหงที่ความชื้น
ประมาณประมาณ 30% ของความชื้น
สัมพัทธ
• การสูญเสียน้ําในสว นนี้จะทําใหเพลสตเ กิด
การหดตัว (shrinkage)

-42-
น้ําใน gel pore • น้ําในสวนนี้จะอยูระหวางชั้นของโครงสราง
CSH โดยน้ําในสวนนี้จะถูกเหนี่ยวรั้งไวอยาง
เหนี ย วแน น โดย แรงยึ ด เหนี่ ย วของน้ํ า
(hydrogen bonding)
• การสู ญ เสี ย น้ํ า ในส ว นนี้ เ กิ ด ขึ้ น ได เ ฉพาะใน
กรณีที่เกิดการแหงตัวอยางรุนแรง (ต่ํากวา
11% ของความชื้นสัมพัทธ)
• การสูญเสียดังกลา วทําใหโครงสราง CSH
หดตัว (shrink)

น้ําปนเปอนสารเคมี (chemically combined water)

• คือ น้ําที่รวมเปนสวนหนึ่งของผลผลิตจากปฏิกิริยาไฮเดรชั่นใน
microstructure
• น้ําในสวนนี้ไมสูญเสียเนื่องจากการแหงตัว แตจะแหงไปเนื่องจาก
ความรอนของปฏิกิริยาไฮเดรชั่น

-43-
ชั้นของโครงสราง CSH

Short fibers

Long fibers

-44-
ซี เ มนต (สี ดํ า ) และ
ettringite (เสนเล็กๆ เกิด CSH
บางๆ) ซึ่งเขาปกคลุม
ซีเมนตในชวงแรกๆ

Ca(OH)2

CSH เปลี่ยนเปนเสนใยชนิด
เกิด CSH ชนิดยาวเขาปกคลุม
สั้นและเขาปกคลุมชองวาง
ชองวาง + C3A&C4AF ถูกใชหมด

-45-
ที่ 7 วัน พบวาโครงสราง ที่ 15 วั น โครงสร า ง ที่ 64 วั น โครงสร า ง
ของซี เ มนต มี ช อ งว า งมาก ตางๆ ไมวาจะเปน CHS, หนาแนนขึ้น เห็นชองวาง
และพบว า เกิ ด เส น ในของ CH และ Monosulfate และโพรงอากาศในเนื้ อ
ettringite รอบๆเม็ดซีเมนต ฯ ขยายเขาสูชองวาง ซีเมนต

• คอนกรี ต ที่ มี คุ ณ ภาพย อ มเป น ที่ ต อ งการของผู ใ ช ง านหรื อ


ซีเมนตก็ตองมีคุณภาพที่ดีดวย เพื่อที่จะแนใจวาจะไดคุณภาพ
ดังกลาวจึงตองมีการตรวจสอบคุณสมบัติตางๆ

• ความละเอียด (Fineness) : สามารถตรวจสอบไดจากขนาด


อนุ ภ าคซี เ มนต ซึ่ ง อยู ใ นรู ป ของ “พื้ น ผิ ว จํ า เพาะ (specific
surface of cement)” ซึ่งคํานวณไดจาก การกระจายตัวของ
ขนาด (Particle size distribution) หรือ การหาการไหลซึม
ของอากาศ (air permeability methods)

-46-
• พบวาซีเมนตที่มีความละเอียดจะทํา ปฏิกิริยาไฮเดรชั่นได
ดีกวาซีเมนตเม็ดหยาบ โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงที่แรก
ของการพัฒนากําลัง เนื่องจากมีพื้นที่ผิวที่มากกวา (ใน
ปริมาตรที่เทากัน)

พื้นผิวมากกวา

ซีเมนตที่มีปริมาตรที่เทากันแตพื้นที่ผิวที่ตางกัน

• ผลเนื่ อ งจากความละเอี ย ด
ของซีเมนตตอกําลังอัดแสดง
ในรูป

• อยางไรหากซีเมนตมีขนาดที่
เ ล็ ก เ กิ น ไ ป อ า จ ทํ า ใ ห
เกิ ด ปฏิ กิ ริ ย ากั บ ความชื้ น ใน
อากาศได

-47-
• เวลาในการกอตัว (Setting time) : เวลาที่เริ่มตน
จากซี เ มนต ผ สมกั บ น้ํ า จนกลายเป น ของแข็ ง เรา
เรียกวา “setting time”

• อย า งไรก็ ดี ช ว งเวลาก อ นที่ ค อนกรี ต จะแข็ ง ตั ว ซึ่ ง


เรียกวา initial setting time เปนสิ่งที่ตองทราบ
เพื่อใชในการคํานวณระยะเวลาสําหรับการเทและ
ขนสงอยางเหมาะสม

• การก อ ตั ว ขึ้ น ตรงกั บ อุ ณ หภู มิ ที่ เ ปลี่ ย นแปลง โดย


อุณหภูมิจะเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจาก initial setting
time จนถึง final setting time

• พบวา setting time จะลดลงเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นถึง


30 องศาซี.

• สําหรับซีเมนตปอรตแลนดทั่วไป setting time ไม


ควรนอยกวา 30 นาที ในขณะที่ final setting
time ไมควรมากกวา 600 นาที
-48-
• การหาระยะการกอตัวสามารถทําไดโดยใชเครื่องมือที่เรียกวา
vicat needle หรือเครื่องมือ Gillmore needle อยางใด
อยางหนึ่ง

• ความอยู ตั ว (Soundness) คื อ ความสามารถที่ ซี เ มนต ซึ่ ง


แข็งตัวแลวยังคงรักษาปริมาตรไวได

• ความไมอยูตัว (unsoundness) เกิดจากการขยายตัวของ


ส ว นผสมบางตั ว ซี เ มนต (แมกนี เ ซี่ ย มออกไซด ใ นรู ป ผลึ ก
Periclase หรือ “แมกนีเซีย (magnesia)” และหรือ free
lime ที่มากเกินไป) ซึ่งบางครั้งเกิดหลังจากการกอตัวแลว

-49-
• ตัวอยางเชน free lime จะทําปฏิกิริยาไดชามาก เนื่องจาก
มันจะถูกหุม ดว ยชั้นฟ ลมบางๆของซีเ มนตซึ่ง ปอ งกัน การ
สัมผัสกันโดยตรงระหวางน้ําและ free lime

• ภายหลังการกอตัวแลวความชื้อในอากาศจะแทรกซึมเขาไป
ในคอนกรีตและทําปฏิกิริยาไฮเดรชั่นกับ free lime สวนที่
เหลือ (ตกคาง)

• ซึ่งตอมาจะทําใหเกิดการขยายตัวซึ่งกอใหเกิดการแตกราว

• ทั้งนี้ความไมอยูตัวเนื่องจาก magnesia จะคลายกับ free


lime โดยความไมอยูตัวสามารถลดไดโดย
(1) จํากัดแมกนีเซียมออกไซด (MgO) ไวไมใหเกิน 0.5%
(2) ใชซีเมนตที่ละเอียด
(3) เปดใหคอนกรีตสัมผัสกับอากาศ (หลายๆวัน) และ
(4) ใชสวนผสมที่ดี
• การทดสอบการอยูตัวจะใชเครื่อง autoclave
-50-
• กําลังรับแรงอัด (compressive strength)
: ถือเปนคุณสมบัติที่สําคัญที่สุดของซีเมนต
สามารถทดสอบไดจากการกด ชิ้นทดสอบ
สําหรับมอรตาทรงลูกบาศกขนาด 5 ซม.

• ป จ จั ย ที่ มี ผ ลต อ กํ า ลั ง ของมอร ต า เช น


ประเภทของปูนซีเมนต องคประกอบทาง
เคมีและความละเอียดของปูนซีเมนต

• ความรอนจากปฏิกิริยาไฮเดรชั่น (Heat of hydration) :


ขึ้น อยู กับ องค ป ระกอบทางเคมี โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ของ
C3S และ C2S

• โดยความรอนที่ไดเปนสัดสวนโดยตรงของ (1) ปริมาณ


ของปูนซีเมนต (ใน 1 mix ของคอนกรีต) (2) ความ
ละเอียดและ (3) อุณหภูมิของการบม และแมวาความรอน
จะแปรผันตรงกับกําลัง อยางๆไรก็ดีความรอนที่สูงจะพบ
ในชวง 3 วันแรกเทานั้น

-51-
• ความรอนของสารประกอบแตละตัวเทียบกับเวลา

• หนวยน้ําหนัก (Specific gravity) : โดยทั่วไป


จะมีคาอยูที่ 3.15
• อยางไรก็ดีหากผลิตจากวัสดุอื่นนอกเหนือจาก
หิ น ปู น และดิ น เหนี ย วแล ว ค า ดั ง กล า วอาจ
เปลี่ยนแปลงได
• ค า หน ว ยน้ํ า หนั ก ไม ไ ด แ สดงถึ ง คุ ณ ภาพของ
ซี เ มนต แ ละต อ งใช ใ นการคํ า นวณปฏิ ภ าค
สวนผสม

-52-
• ปู น ซี เ มนต ป ร ต แลนด มี ห ลายประเภท ขึ้ น อยู กั บ
ความตองการของผูใชงาน
• โดยทุกประเภทมีสารประกอบหลัก (C3S, C2S,
C3A, C4AF, CaSO4, CaO และ MgO) ที่
เหมือนกัน
• แตอาจมีปริมาณ (ซึ่งหมายถึงปฏิกริยาไฮเดรชั่น
และกํ า ลั ง และความทนทานตอ ก ารกั ด กร อ น) ที่
แตกตางกัน

ประเภท ชื่อเรียก
ปูนซีเมนตปอรตแลนดธรรมดา (Ordinary portland cement) TYPE 1
ปูนซีเมนตปอรตแลนดดัดแปลง (Modified portland cement) TYPE 2
ปูนซีเมนตปอรตแลนดแข็งตัวเร็ว TYPE 3
(High-early strength portland cement)
ปูนซีเมนตปอรตแลนดความรอนต่ํา TYPE 4
(Low-heat portland cement)
ปูนซีเมนตปอรตแลนดทนซัลเฟตไดสูง TYPE 5
(Sulfate-resistant portland cement)

-53-
• ประเภทที่ 1 (Type I) : ปูนซีเมนตปอรตแลนด
พื้น ฐานสํ า หรั บ งานโครงสร า งทั่ ว ไปที่ ไ ม อ ยู ใ นสภาพ
อากาศที่รุนแรงและไมไดตองการๆควบคุมคุณภาพเปน
พิ เ ศษ โดยความร อ นที่ เ กิ ด ขึ้ น จะไม ม ากจนเกิ น ไป
(กําลังไมสูงมาก) จนทําใหคอนกรีตเสียหาย

• ประเภทที่ 3 (type III) : บางครั้งเรียกวา “ซูเปอร


ซีเมนต” ใชกับงานที่ตองการกําลังในชวงแรกที่เร็ว
ซึ่ง พบว า จะมี ค วามละเอี ย ดของผงซีเ มนต ม ากกว า
ประเภทอื่น
• เหมาะสํ า หรั บ งานที่ ต อ งการถอดไม แ บบเร็ ว เช น
พื้นและคานสําหรับอาคารสูง และการเทคอนกรีต
ในพื้นที่ๆมีอากาศหนาว
• กํ า ลั ง ที่ 3 วั น จะมี ค า เท า กั บ 28 วั น ของซี เ มนต
ปรกติ
-54-
• ประเภทที่ 4 (type IV) : ปูนซีเมนต
ประเภทนี้ ใ ห ค วามร อ นต่ํ า ซึ่ ง ทํ า ให
การพัฒนากําลังอัดเปนไปอยา งชา ๆ
ใช ใ นงานคอนกรี ต หลาหรื อ งานที่
โครงสรางมีความทึบและความระบาย
ไดไมสะดวกนัก เชน เขื่อนขนาดใหญ
ฐานรากเพหนาๆ

• ประเภทที่ 2 (type II) : ใชในงานที่จะเกิดควมรอน


และทนซัลเฟตไดปานกลาง เชน เขื่อน กําแพงกันดิน
หนาๆ เกิดความรอนสูงกวาประเภทที่ 4 (อยูในระดับ
ปานกลาง) แต มี กํ า ลั ง อั ด ที่ ใ กล เ คี ย งกั บ ประเภทที่ 1
ทั้งนี้ปูนซีเมนตประเภทนี้ไมเปนที่นิยมในประเทศไทย

-55-
• ประเภทที่ 5 (type V) : ปูนซีเมนตตัวนี้ใส C3A ใน
ปริมาณที่ต่ํา ซึ่งชวยปองกันการกัดกรอนของซัลเฟตได
ดี เหมาะสําหรับโครงสรางที่อยูในภาวะแหงสลับเปยก
เชน โครงสรางชายฝงทะเล หรือดินที่ มีดางสูง โดย
ซีเมนตชนิดนี้ใชเวลาในการแข็งตัวชากวาประเภทที่ 1

-56-
-57-
• นอกเหนือจากปูนซีเมนตทั้ง 5 ประเภทแลว ยังมี
ปูนซีเมนตชนิดพิเศษที่ทําขึ้นมากับงานเฉพาะดาน
อีกหลายตัว เชน
• (1) ปูนซีเมนตปอรตแลนดปอซโซลาน (Portland
pozzolana cement)
• (2) ปูนซีเมนตขยายตัว (expansive cement)

• เนื่องจากซีเมนตมีราคาและสรางปฏิกิริยา
ที่ใหความรอนสูง ทําใหมีความตองการที่
จะลดปริมาณซีเมนตลงโดยการเติม วัสดุ
เฉื่อย/ปอซโซลาน ลงไปในซีเมนต
• ปอซโซลานอาจสรางขึ้นมา เชน ดินเหนียว
หรือดินดานเผา (burnt clay หรือ shale)
หรือหาไดจากธรรมชาติ เชน เถาภูเขาไฟ
(Volcanic ash) หรือเถาลอย (fly ash)

-58-
• โดยทั่ ว ไปปอซโซลานจะประกอบด ว ยออกไซด ข อง
ซิลิกอนและอลูมิเนียมเปนสวนใหญ
• ทั้งนี้อัตราสวนของปอซโซลานอยูระหวา 15-50%
โดยน้ําหนักของปูนซีเมนตทั้งหมด
• โดยข อ ได เ ปรี ย บของซี เ มนต ป ระเภทนี้ คื อ (1) ให
ความร อ นที่ ต่ํ า เนื่ อ งจากปฏิ ก ริ ย าไฮเดรชั่ น ลดลง
(ปริมาณซีเมนตนอย)

• นอกจากนี้ (2) ยังมีคุณสมบัติที่ทนทานตอซัลเฟต จึง


เหมาะกับงานที่อยูในน้ําเค็ม
• อยางไรก็ดีปูนซีเมนตประเภทนี้จะมีการพัฒนากําลัง
อัดที่ชากวาปรกติ (เนื่องจากเกิดปฏิกริยาไฮเดรชั่น
นอย) แตหากมีการบมที่ดีก็จะมีกําลังอัดเทากับหรือ
มากกวาซีเมนตทั่วไปได ซึ่งคุณสมบัตินี้เปนที่ตองการ
ของงานตอนกรีตหลา เชน งานเขื่อนหรือโครงสราง
หนาๆ

-59-
-60-
• โดยทั่ ว ไปซี เ มนต อ าจจะมี ก ารหดตั ว (shrink)
เนื่ อ งจากการสู ญ เสี ย น้ํ า ในระหว า งปฏิ ก ริ ย าไฮ
เดรชั่น ซึ่งอาจจะมาจากการบมที่ไมเพียงพอ
• สํ า หรั บคอนกรี ตที่ ไม มี ก ารยึ ด รั้ ง (restraint)
โดยทั่วไปจะไมประสบปญหาใดๆ แตหากมีการยึด
รั้ ง เช น ในงานเสริ ม กํ า ลั ง โครงสร า ง หรื อ
โครงสรางที่มีปริมาณเหล็กเสริมมากๆ ซึ่งคอนกรีต
คอนกรีตหดตัวไมอิสระ ก็จะเกิดแรงดึงและทําให
คอนกรีตแตกราวได

ซีเมนตอาจมีการขยายตัว
เล็กนอยกอน

หลังจากนั้น
จะหดตัว
จําลองสาเหตุการแตกราวเนื่องจากการยึดรั้ง
-61- ในคอนกรีตที่กําลังหดตัว
สรางการขยายตัวใหมากขึ้น

เมื่อหดตัวภายหลังจะ
มีผลกระทบนอย

จําลองสาเหตุการแตกราวเนื่องจากการ
ยึดรั้งในคอนกรีตที่กําลังหดตัว

• นอกจากนี้ยังมีปูนซีเมนตประเภทอื่นๆอีก เชน
(1) ปูนซีเมนตกากเตาถลุง (portland blast-furnace-
slag cement)
(2) ปูนซีเมนตอลูมินาสูง (High alumina cement)
(3) ปูนซีเมนตซัลเฟตสูง (super-sulphated cement)
(4) ปูนซีเมนตงานกอ (Masonry cement)
(5) ปูนซีเมนตผสมซิลิกา (Silica cement) และ
(6) ปูนซีเมนตขาว (white cement)

-62-
-63-

You might also like