You are on page 1of 15

การศึกษาในทศวรรษที่ 21

ศตวรรษที่ 21 สถานการณ์ โลกมีความแตกต่างจากศตวรรษที่ 20 และ 19


ระบบการศึกษา ต้องมีการพัฒนาเพือ
่ ให้สอดคล้องกับภาวะความเป็ นจริง
ในประเทศสหรัฐอเมริกาแนวคิดเรือ ่ ง "ทักษะแห่งอนาคตใหม่:
การเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21"
ได้ถูกพัฒนาขึน ้ โดยภาคส่วนทีเ่ กิดจากวงการนอกการศึกษา ประกอบด้วย
บริษท ั เอกชนชัน ้ นาขนาดใหญ่ เช่น
บริษท ั แอปเปิ้ ล บริษท ั ไมโครซอฟ บริษท ั วอล์ดส ิ นีย์ องค์กรวิชาชีพระดับประเทศ
และสานักงานด้านการศึกษา
ของรัฐ
รวมตัวและก่อตัง้ เป็ นเครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพือ ่ ทักษะการเรียนรูใ้ นศตวรร
st
ษที่ 21 (Partnership for 21 Century Skills) หรือเรียกย่อๆว่า เครือข่าย
P21
หน่ วยงานเหล่านี้มีความกังวลและเห็นความจาเป็ นทีเ่ ยาวชนจะต้องมีทกั ษะ
สาหรับการออกไปดารงชีวต ิ
ในโลกแห่งศตวรรษที่ 21 ทีเ่ ปลีย่ นไปจากศตวรรษที่ 20 และ 19
จึงได้พฒ ั นาวิสยั ทัศน์และกรอบความคิดเพือ ่ การเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21ขึน ้
สามารถสรุปทักษะสาคัญอย่างย่อๆ
ทีเ่ ด็กและเยาวชนควรมีได้วา่ ทักษะการเรียนรูแ ้ ละนวัตกรรม หรือ 3R และ
4Cซึง่ มีองค์ประกอบ ดังนี้
 3 R ได้แก่ Reading (การอ่าน), การเขียน(Writing) และ คณิตศาสตร์
(Arithmetic) และ
 4 C (Critical Thinking - การคิดวิเคราะห์, Communication-
การสือ ่ สาร Collaboration-การร่วมมือ และ Creativity-
ความคิดสร้างสรรค์ รวมถึงทักษะชีวต ิ และอาชีพ
และทักษะด้านสารสนเทศสือ ่ และเทคโนโลยี
และการบริหารจัดการด้านการศึกษาแบบใหม่
แนวคิดทักษะแห่งอนาคตใหม่: การเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 คืออย่างไร
และคุณลักษณะทีเ่ ด็กและเยาวชนพึงมีในโลกยุคใหม่คอ ื อย่างไร
นอกจากนี้ยงั มีนกั การศึกษาอีกท่านหนึ่งทีม ่ ีสว่ นสาคัญในการผลักดันเรือ ่ งก
ารปฎิรูปการเรียนรูด ้ งั กล่าวให้กว้างขวางขึน ้ คือเซอร์เคน
โรบินสัน นักการศึกษาระดับโลก
โดยได้เน้นยา้ ถึงความจาเป็ นในการเปลีย่ นแปลงแนวคิดการจัดการศึกษาระบบโร
งงาน
มาเป็ นการเรียนการสอนทีเ่ ปิ ดโอกาสให้ผเู้ รียนได้คด ิ อย่างสร้างสรรค์และเข้ากับบ
ริบทของโลกทีไ่ ด้เปลีย่ นแปลงไป ชมแอนิเมชั่นด้านบน การเปลีย่ นแปลงแนวคิด
ด้านการศึกษาในศตวรรษที่ 21 (Changing Education
Paradigms)โดย เซอร์เคน โรบินสัน
กรอบแนวคิดข้างต้นเองก็เป็ นจุดเริม
่ ต้นของการพัฒนาทักษะแห่งอนา
คตใหม่ในประเทศไทยและท่านทีร่ เิ ริม ่ และมีบทบาทสาคัญในการผลักดันได้แก่ ศ.
นพ. วิจารณ์ พานิช
...........
ความท้าทายด้านการศึกษาในศตวรรษที่
21 ในการเตรียมนักเรียนให้พร้อมกับชีวต ิ ในศตวรรษ
ที่ 21 เป็ นเรือ
่ งสาคัญของกระแสการปรับเปลีย่ นทางสังคมทีเ่ กิดขึน้ ในศตวรรษที่
21 ส่งผลต่อวิถีการดารงชีพ
ของสังคมอย่างทั่วถึง
ครูจงึ ต้องมีความตืน่ ตัวและเตรียมพร้อมในการจัดการเรียนรูเ้ พือ่ เตรียมความพร้อ
มให้นกั เรียนมีทกั ษะสาหรับการออกไปดารงชีวต ิ ในโลกในศตวรรษที่ 21
ทีเ่ ปลีย่ นไปจากศตวรรษที่ 20 และ 19 โดยทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ทีส ่ าคัญทีส
่ ุด
คือ ทักษะการเรียนรู ้ (Learning Skill)
ส่งผลให้มีการเปลีย่ นแปลงการจัดการเรียนรูเ้ พือ ่ ให้เด็กในศตวรรษที่ 21 นี้
มีความรู ้ ความสามารถ และทักษะจาเป็ น
ซึง่ เป็ นผลจากการปฏิรูปเปลีย่ นแปลงรูปแบบการจัดการเรียนการสอน
ตลอดจนการเตรียมความพร้อมด้านต่างๆ

ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) วิจารณ์ พานิช


(2555: 16-21) ได้กล่าวถึงทักษะเพือ ่ การดารงชีวต
ิ ในศตวรรษที่ 21 ดังนี้
สาระวิชาก็มีความสาคัญ
แต่ไม่เพียงพอสาหรับการเรียนรูเ้ พือ ่ มีชีวติ ในโลกยุคศตวรรษที่ ๒๑
ปัจจุบน
ั การเรียนรูส้ าระวิชา (content หรือ subject matter)
ควรเป็ นการเรียนจากการค้นคว้าเองของศิษย์ โดยครูชว่ ยแนะนา
และช่วยออกแบบกิจกรรมทีช ่ ว่ ยให้นกั เรียนแต่ละคนสามารถประเมินความก้าวห
น้าของการเรียนรูข้ องตนเองได้

สาระวิชาหลัก (Core Subjects) ประกอบด้วย


ภาษาแม่ และภาษาสาคัญของโลก
ศิลปะ
คณิตศาสตร์
การปกครองและหน้าทีพ่ ลเมือง
เศรษฐศาสตร์
วิทยาศาสตร์
ภูมศ
ิ าสตร์
ประวัตศ ิ าสตร์
โดยวิชาแกนหลักนี้จะนามาสูก ่ ารกาหนดเป็ นกรอบแนวคิดและยุทธศาส
ตร์สาคัญต่อการจัดการเรียนรู ้
ในเนื้อหาเชิงสหวิทยาการ (Interdisciplinary) หรือหัวข้อสาหรับศตวรรษที่ 21
โดยการส่งเสริมความเข้าใจ
ในเนื้อหาวิชาแกนหลัก และสอดแทรกทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
เข้าไปในทุกวิชาแกนหลัก ดังนี้
ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
ความรูเ้ กีย่ วกับโลก (Global Awareness)
ความรูเ้ กีย่ วกับการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเป็ นผูป้ ระกอบการ
(Financial, Economics, Business and Entrepreneurial Literacy)
ความรูด ้ า้ นการเป็ นพลเมืองทีด ่ ี (Civic Literacy)
ความรูด ้ า้ นสุขภาพ (Health Literacy)
ความรูด ้ า้ นสิง่ แวดล้อม (Environmental Literacy)
ทักษะด้านการเรียนรูแ ้ ละนวัตกรรม
จะเป็ นตัวกาหนดความพร้อมของนักเรียนเข้าสูโ่ ลกการทางานทีม ่ ีความซับซ้อนมา
กขึน้ ในปัจจุบน
ั ได้แก่
ความริเริม ่ สร้างสรรค์และนวัตกรรม
การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณและการแก้ปญ ั หา
การสือ่ สารและการร่วมมือ

ทักษะด้านสารสนเทศ สือ ่ และเทคโนโลยี


เนื่องด้วยในปัจจุบน ั มีการเผยแพร่ขอ
้ มูลข่าวสารผ่านทางสือ
่ และเทคโนโลยีมากมา

ผูเ้ รียนจึงต้องมีความสามารถในการแสดงทักษะการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณและปฏิ
บัตงิ านได้หลากหลาย โดยอาศัยความรูใ้ นหลายด้าน ดังนี้
ความรูด ้ า้ นสารสนเทศ
ความรูเ้ กีย่ วกับสือ

ความรูด ้ า้ นเทคโนโลยี

ทักษะด้านชีวต ิ และอาชีพ
ในการดารงชีวต ิ และทางานในยุคปัจจุบน ั ให้ประสบความสาเร็จ
นักเรียนจะต้องพัฒนาทักษะชีวต ิ ทีส
่ าคัญดังต่อไปนี้
ความยืดหยุน ่ และการปรับตัว
การริเริม่ สร้างสรรค์และเป็ นตัวของตัวเอง
ทักษะสังคมและสังคมข้ามวัฒนธรรม
การเป็ นผูส้ ร้างหรือผูผ
้ ลิต (Productivity) และความรับผิดชอบเชือ
่ ถือได้
(Accountability)
ภาวะผูน้ าและความรับผิดชอบ (Responsibility)

ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 ทีท ่ ุกคนจะต้องเรียนรูต


้ ลอดชีวต
ิ คือ
การเรียนรู ้ 3R x 7C
3R คือ Reading (อ่านออก), (W)Riting (เขียนได้), และ (A)Rithemetics
(คิดเลขเป็ น)
7C ได้แก่
Critical Thinking and Problem Solving
(ทักษะด้านการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ

และทักษะในการแก้ปญ ั หา)
Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์
และนวัตกรรม)
Cross-cultural Understanding
(ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ )
Collaboration, Teamwork and Leadership
(ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็ นทีม และภาวะผูน้ า)
Communications, Information, and Media Literacy
(ทักษะด้านการสือ
่ สารสารสนเทศ และรูเ้ ท่าทันสือ
่ )
Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์
และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ ่ สาร)
Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู)้

แนวคิดทักษะแห่งอนาคตใหม่: การเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21


และกรอบแนวคิดเพือ
่ การเรียนรู ้

ในศตวรรษที่ 21
การเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21
เป็ นการกาหนดแนวทางยุทธศาสตร์ในการจัดการเรียนรู ้
โดยร่วมกันสร้างรูปแบบและแนวปฏิบตั ใิ นการเสริมสร้างประสิทธิภาพของการจัด
การเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 โดยเน้นทีอ
่ งค์ความรู ้ ทักษะ

ความเชีย่ วชาญและสมรรถนะทีเ่ กิดกับตัวผูเ้ รียน


เพือ่ ใช้ในการดารงชีวต
ิ ในสังคมแห่งความเปลีย่ นแปลงในปัจจุบน ั
โดยจะอ้างถึงรูปแบบ (Model)
ทีพ
่ ฒ ั นามาจากเครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพือ ่ ทักษะแห่งการเรียนรูใ้ นศตวรรษ
ที่ 21 (Partnership For 21st Century Skills) (www.p21.org )
ทีม่ ีชือ
่ ย่อว่า เครือข่าย
P21 ซึง่ ได้พฒ ั นากรอบแนวคิดเพือ ่ การเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21
โดยผสมผสานองค์ความรู ้ ทักษะเฉพาะด้าน
ความชานาญการและความรูเ้ ท่าทันด้านต่างๆ เข้าด้วยกัน
เพือ ่ ความสาเร็จของผูเ้ รียนทัง้ ด้านการทางานและการดาเนินชีวต ิ

ภาพ กรอบแนวคิดเพือ
่ การเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 (21st Century
Learning Framework) (http://www.qlf.or.th/)

กรอบแนวคิดเชิงมโนทัศน์สาหรับทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
เป็ นทีย่ อมรับในการสร้างทักษะการเรียนรู ้

ในศตวรรษที่ 21 (Model of 21st Century Outcomes and Support


Systems)
ซึง่ เป็ นทีย่ อมรับอย่างกว้างขวางเนื่องด้วยเป็ นกรอบแนวคิดทีเ่ น้นผลลัพธ์ทเี่ กิดกับ
ผูเ้ รียน (Student Outcomes) ทัง้ ในด้านความรูส้ าระวิชาหลัก (Core
Subjects) และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
ทีจ่ ะช่วยผูเ้ รียนได้เตรียมความพร้อมในหลากหลายด้าน
รวมทัง้ ระบบสนับสนุนการเรียนรู ้ ได้แก่มาตรฐานและการประเมิน
หลักสูตรและการเยนการสอน การพัฒนาครู
สภาพแวดล้อมทีเ่ หมาะสมต่อการเรียนในศตวรรษที่ 21
การเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 ต้องก้าวข้าม “สาระวิชา” ไปสูก
่ ารเรียนรู ้
“ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21”
(21st Century Skills) ซึง่ ครูจะเป็ นผูส ้ อนไม่ได้
แต่ตอ
้ งให้นกั เรียนเป็ นผูเ้ รียนรูด
้ ว้ ยตนเอง โดยครูจะออกแบบ

การเรียนรู ้ ฝึ กฝนให้ตนเองเป็ นโค้ช (Coach) และอานวยความสะดวก


(Facilitator) ในการเรียนรูแ ้ บบ PBL (Problem-Based Learning)
ของนักเรียน ซึ่งสิง่ ทีเ่ ป็ นตัวช่วยของครูในการจัดการเรียนรูค
้ อ
ื ชุมชนการเรียนรู ้

ครูเพือ
่ ศิษย์ (Professional Learning Communities : PLC)
เกิดจากการรวมตัวกันของครูเพือ ่ แลกเปลีย่ นประสบการณ์ การทาหน้าทีข
่ องครูแต่
ละคนนั่นเอง

การเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21

ปัจจัยสนับสนุนการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21

องค์ประกอบทีส ่ าคัญและจาเป็ นเพือ


่ ในการเรียนรูข
้ องนักเรียนทักษะในศตวรรษที่
21 คือ มาตรฐานศตวรรษที่ 21
การประเมินผลหลักสูตรการเรียนการสอนการพัฒนาอาชีพและสภาพแวดล้อมการ
เรียนรูจ้ ะต้องสอดคล้องกับระบบสนับสนุนการผลิตทีก ่ อ
่ ให้เกิดผลลัพธ์ในศตวรรษ
ที่ 21 สาหรับนักเรียนในปัจจุบน ั

มาตรฐานศตวรรษที่ 21

- มุง่ เน้นทักษะในศตวรรษที่ 21 นักเรียนมีความรูใ้ นเนื้อหาและความเชีย่ วชาญ

- สร้างความเข้าใจระหว่างวิชาหลัก เช่นเดียวกับรูปแบบสหวิทยาการศตวรรษที่
21

- เน้นความเข้าใจอย่างลึกซึง้ มากกว่าความรูแ
้ บบผิวเผิน

- การของมีสว่ นร่วมของนักเรียนกับ ข้อมูลและ


เครือ
่ งมือในโลกแห่งความเป็ นจริงและพวกเขาจะพบผู้

เชียวชาญในวิทยาลัยหรือในทีท ่ างานและ
ชีวต
ิ นักเรียนจะเรียนรูไ้ ด้ดท
ี ส
ี่ ุดเมือ
่ ทางานอย่างแข็งขัน
การแก้ปญ ั หาทีม
่ ีความหมาย

- การมีมาตรการหลายๆรูปแบบของการเรียนรู ้

การประเมินด้านทักษะในศตวรรษที่ 21
- รองรับความสมดุลของการประเมินรวมทัง้ มีคณ
ุ ภาพสูง
การทดสอบมาตรฐานทีม ่ ีคณ
ุ ภาพสูงพร้อมกับการประเมินผลในชัน
้ เรียนทีม
่ ีประสิ
ทธิภาพ

-
เน้นข้อเสนอแนะทีเ่ ป็ นประโยชน์ในการปฏิบตั งิ านของนักเรียนทีถ
่ ูกฝังลงในการเ
รียนรูใ้ นชีวต
ิ ประจาวัน

- การประเมินการใช้เทคโนโลยีให้มีความสมดุล
ความชานาญนักเรียนซึง่ เป็ นการวัดทักษะในศตวรรษที่ 21

-
ช่วยให้การพัฒนาคุณภาพนักเรียนนักศึกษาทีแ
่ สดงให้เห็นการเรียนรูท
้ กั ษะในศ
ตวรรษที่ 21 เพือ
่ การศึกษาและการทางานในอนาคต

-
ช่วยให้มาตรการการประเมินประสิทธิภาพระบบการศึกษาในระดับทีส
่ ูงประเมิน
ถึงสมรรถนะของนักเรียนด้านทักษะในศตวรรษที่ 21

หลักสูตร และการสอนในศตวรรษที่ 21

- สอนทักษะในศตวรรษที่ 21 ซึง่ แยกกัน ในบริบทของวิชาหลักและ


รูปแบบสหวิทยาการในศตวรรษที่ 21

- มุง่ เน้นไปทีก
่ ารให้โอกาสสาหรับการใช้ทกั ษะในศตวรรษที่ 21
ในเนื้อหาและวิธีการตามความสามารถในการเรียนรู ้

-
ช่วยให้วธิ ีการเรียนรูน
้ วัตกรรมทีบ
่ ูรณาการการใช้เทคโนโลยีสนับสนุนแนวทางเ
พิม
่ เติมในการใช้ปญ ั หาเป็ นฐาน และทักษะการคิดขัน้ สูง

- สนับสนุนให้รวมทรัพยากรของชุมชน ภูมป
ิ ญ
ั ญาชาวบ้าน
แหล่งเรียนรูน
้ อกห้องเรียน

การพัฒนามืออาชีพในศตวรรษที่ 21

- ครูมีแนวทางการสอนมีความสามารถสาหรับการบูรณาการทักษะในศตวรรษที่
21 เครือ
่ งมือและกลยุทธ์การเรียนการสอนไปสูก
่ ารปฏิบตั ใิ นชัน
้ เรียนของพวกเขา

- การเรียนการสอนมทีม
่ ุง่ เน้นการทาโครงงาน
-
แสดงให้เห็นว่ามีความรูค ้ วามเข้าใจในเรือ
่ งจริงสามารถเพิม
่ การแก้ปญ
ั หาการคิด
เชิงวิพากษ์ และอืน
่ ๆ ทักษะในศตวรรษที่ 21

- ช่วยให้มืออาชีพในชุมชนเป็ นแหล่งเรียนรู ้ สาหรับครูที่ 21


ว่ารูปแบบชนิดของการเรียนรูใ้ นห้องเรียนทีด
่ ที ส
ี่ ุดส่งเสริมทักษะในศตวรรษที่ 21
สาหรับนักเรียน

- การพัฒนา
ความสามารถในการระบุตวั ตนของนักเรียนโดยครูมีรูปแบบการเรียนโดยเฉพาะอ
ย่างยิง่ รูจ้ ุดแข็งและจุดอ่อนของผูเ้ รียน

- ช่วยให้ครูพฒ ั นาความสามารถในการใช้กลยุทธ์ตา่ งๆ
(เช่นการประเมินผลการเรียนการสอน)
ถึงนักเรียนทีม
่ ีความหลากหลายและสร้างสภาพแวดล้อมทีส ่ นับสนุนความแตกต่าง
การเรียนการสอนและการเรียนรู ้

-
รองรับการประเมินผลอย่างต่อเนื่องของการพัฒนาทักษะของนักเรียนศตวรรษที่
21

-
ส่งเสริมการแลกเปลีย่ นความรูร้ ะหว่างชุมชนของผูป
้ ฏิบตั งิ านโดยการหันหน้าเข้า
หากันการสือ่ สารเสมือนและผสม

- ใช้รูปแบบความเป็ นอันหนึ่งหันเดียวกันและความยั่งยืนของการพัฒนาวิชาชีพ

สภาพแวดล้อมการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21

-
สร้างการเรียนรูว้ ธิ ีปฏิบตั ท
ิ ส
ี่ นับสนุนความต้องการของมนุษย์และสภาพแวดล้อม
ทางกายภาพทีจ่ ะสนับสนุนการเรียนการสอนและการเรียนรูด ้ ว้ ยทักษะในศตวรรษ
ที่ 21

-
สนับสนุนการเรียนรูช ้ ุมชนมืออาชีพทีช
่ ว่ ยให้การศึกษาเพือ
่ การทางานร่วมกันแบ่
งปันแนวทางปฏิบตั ท ิ ีด
่ แี ละบูรณาการทักษะในศตวรรษที่ 21
ในการปฏิบตั ใิ นชัน
้ เรียน
- ช่วยให้นกั เรียนได้เรียนรูใ้ นงานทีเ่ กีย่ วข้องในโลกศตวรรษที่ 21 แวดล้อมจริง
(เช่น ปฏิบตั จิ ริงหรือผ่านการทางานทีใ่ ช้ตามโครงการหรืออืน ่ ๆ)

-
เรียนรูก
้ ารใช้เครือ
่ งมือเทคโนโลยีและทรัพยากรอย่างมีคณ
ุ ภาพ รูจ้ กั การทางาน
สาหรับการเรียนรูเ้ ป็ นกลุม
่ ทีมและรายบุคคล

-
สนับสนุนการติดต่อกับชุมชนและการมีสว่ นระหว่างต่างชาติในการเรียนรูโ้ ดยตร
งและออนไลน์

การเตรียมความพร้อมให้นกั เรียนในศตวรรษที่ 21
อาศัยการทางานอย่างมีประสิทธิภาพ โดยการมีวส ิ ยั ทัศน์
พันธกิจและเป้ าหมายทีช
่ ดั เจน ผูเ้ รียนจะต้องมีความรูท ้ จี่ าเป็ นในการใช้ชีวต
ิ และ
ทางานอย่างมีประสิทธิภาพ มีความรูแ ้ ละทักษะเพือ่ ให้สามารถการใช้ชีวต ิ
การทางาน ดารงชีพอยูไ่ ด้กบ ั ภาวะเศรษฐกิจในสังคมโลกปัจจุบน ั

การเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21

ปัจจัยสนับสนุนการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21

องค์ประกอบทีส ่ าคัญและจาเป็ นเพือ


่ ในการเรียนรูข
้ องนักเรียนทักษะในศตวรรษที่
21 คือ มาตรฐานศตวรรษที่ 21
การประเมินผลหลักสูตรการเรียนการสอนการพัฒนาอาชีพและสภาพแวดล้อมการ
เรียนรูจ้ ะต้องสอดคล้องกับระบบสนับสนุนการผลิตทีก ่ อ
่ ให้เกิดผลลัพธ์ในศตวรรษ
ที่ 21 สาหรับนักเรียนในปัจจุบน ั

มาตรฐานศตวรรษที่ 21

- มุง่ เน้นทักษะในศตวรรษที่ 21 นักเรียนมีความรูใ้ นเนื้อหาและความเชีย่ วชาญ

- สร้างความเข้าใจระหว่างวิชาหลัก เช่นเดียวกับรูปแบบสหวิทยาการศตวรรษที่
21

- เน้นความเข้าใจอย่างลึกซึง้ มากกว่าความรูแ
้ บบผิวเผิน

- การของมีสว่ นร่วมของนักเรียนกับ ข้อมูลและ


เครือ
่ งมือในโลกแห่งความเป็ นจริงและพวกเขาจะพบผู้
เชียวชาญในวิทยาลัยหรือในทีท ่ างานและ
ชีวต
ิ นักเรียนจะเรียนรูไ้ ด้ดท
ี ส
ี่ ุดเมือ
่ ทางานอย่างแข็งขัน
การแก้ปญ ั หาทีม
่ ีความหมาย

- การมีมาตรการหลายๆรูปแบบของการเรียนรู ้

การประเมินด้านทักษะในศตวรรษที่ 21

- รองรับความสมดุลของการประเมินรวมทัง้ มีคณ
ุ ภาพสูง
การทดสอบมาตรฐานทีม่ ีคณ
ุ ภาพสูงพร้อมกับการประเมินผลในชัน
้ เรียนทีม
่ ีประสิ
ทธิภาพ

-
เน้นข้อเสนอแนะทีเ่ ป็ นประโยชน์ในการปฏิบตั งิ านของนักเรียนทีถ
่ ูกฝังลงในการเ
รียนรูใ้ นชีวต
ิ ประจาวัน

- การประเมินการใช้เทคโนโลยีให้มีความสมดุล
ความชานาญนักเรียนซึง่ เป็ นการวัดทักษะในศตวรรษที่ 21

-
ช่วยให้การพัฒนาคุณภาพนักเรียนนักศึกษาทีแ
่ สดงให้เห็นการเรียนรูท
้ กั ษะในศ
ตวรรษที่ 21 เพือ
่ การศึกษาและการทางานในอนาคต

-
ช่วยให้มาตรการการประเมินประสิทธิภาพระบบการศึกษาในระดับทีส
่ ูงประเมิน
ถึงสมรรถนะของนักเรียนด้านทักษะในศตวรรษที่ 21

หลักสูตร และการสอนในศตวรรษที่ 21

- สอนทักษะในศตวรรษที่ 21 ซึง่ แยกกัน ในบริบทของวิชาหลักและ


รูปแบบสหวิทยาการในศตวรรษที่ 21

- มุง่ เน้นไปทีก
่ ารให้โอกาสสาหรับการใช้ทกั ษะในศตวรรษที่ 21
ในเนื้อหาและวิธีการตามความสามารถในการเรียนรู ้

-
ช่วยให้วธิ ีการเรียนรูน
้ วัตกรรมทีบ
่ ูรณาการการใช้เทคโนโลยีสนับสนุนแนวทางเ
พิม
่ เติมในการใช้ปญ ั หาเป็ นฐาน และทักษะการคิดขัน้ สูง

- สนับสนุนให้รวมทรัพยากรของชุมชน ภูมป
ิ ญ
ั ญาชาวบ้าน
แหล่งเรียนรูน
้ อกห้องเรียน
การพัฒนามืออาชีพในศตวรรษที่ 21

- ครูมีแนวทางการสอนมีความสามารถสาหรับการบูรณาการทักษะในศตวรรษที่
21 เครือ
่ งมือและกลยุทธ์การเรียนการสอนไปสูก
่ ารปฏิบตั ใิ นชัน
้ เรียนของพวกเขา

- การเรียนการสอนมทีม
่ ุง่ เน้นการทาโครงงาน

-
แสดงให้เห็นว่ามีความรูค ้ วามเข้าใจในเรือ
่ งจริงสามารถเพิม
่ การแก้ปญ
ั หาการคิด
เชิงวิพากษ์ และอืน
่ ๆ ทักษะในศตวรรษที่ 21

- ช่วยให้มืออาชีพในชุมชนเป็ นแหล่งเรียนรู ้ สาหรับครูที่ 21


ว่ารูปแบบชนิดของการเรียนรูใ้ นห้องเรียนทีด
่ ที ส
ี่ ุดส่งเสริมทักษะในศตวรรษที่ 21
สาหรับนักเรียน

- การพัฒนา
ความสามารถในการระบุตวั ตนของนักเรียนโดยครูมีรูปแบบการเรียนโดยเฉพาะอ
ย่างยิง่ รูจ้ ุดแข็งและจุดอ่อนของผูเ้ รียน

- ช่วยให้ครูพฒ ั นาความสามารถในการใช้กลยุทธ์ตา่ งๆ
(เช่นการประเมินผลการเรียนการสอน)
ถึงนักเรียนทีม
่ ีความหลากหลายและสร้างสภาพแวดล้อมทีส ่ นับสนุนความแตกต่าง
การเรียนการสอนและการเรียนรู ้

-
รองรับการประเมินผลอย่างต่อเนื่องของการพัฒนาทักษะของนักเรียนศตวรรษที่
21

-
ส่งเสริมการแลกเปลีย่ นความรูร้ ะหว่างชุมชนของผูป
้ ฏิบตั งิ านโดยการหันหน้าเข้า
หากันการสือ่ สารเสมือนและผสม

- ใช้รูปแบบความเป็ นอันหนึ่งหันเดียวกันและความยั่งยืนของการพัฒนาวิชาชีพ

สภาพแวดล้อมการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21

-
สร้างการเรียนรูว้ ธิ ีปฏิบตั ท
ิ ส
ี่ นับสนุนความต้องการของมนุษย์และสภาพแวดล้อม
ทางกายภาพทีจ่ ะสนับสนุนการเรียนการสอนและการเรียนรูด
้ ว้ ยทักษะในศตวรรษ
ที่ 21

-
สนับสนุนการเรียนรูช ้ ุมชนมืออาชีพทีช
่ ว่ ยให้การศึกษาเพือ
่ การทางานร่วมกันแบ่
งปันแนวทางปฏิบตั ท ิ ีด
่ แี ละบูรณาการทักษะในศตวรรษที่ 21
ในการปฏิบตั ใิ นชัน
้ เรียน

- ช่วยให้นกั เรียนได้เรียนรูใ้ นงานทีเ่ กีย่ วข้องในโลกศตวรรษที่ 21 แวดล้อมจริง


(เช่น ปฏิบตั จิ ริงหรือผ่านการทางานทีใ่ ช้ตามโครงการหรืออืน ่ ๆ)

-
เรียนรูก
้ ารใช้เครือ
่ งมือเทคโนโลยีและทรัพยากรอย่างมีคณ
ุ ภาพ รูจ้ กั การทางาน
สาหรับการเรียนรูเ้ ป็ นกลุม
่ ทีมและรายบุคคล

-
สนับสนุนการติดต่อกับชุมชนและการมีสว่ นระหว่างต่างชาติในการเรียนรูโ้ ดยตร
งและออนไลน์

การเตรียมความพร้อมให้นกั เรียนในศตวรรษที่ 21
อาศัยการทางานอย่างมีประสิทธิภาพ โดยการมีวส ิ ยั ทัศน์
พันธกิจและเป้ าหมายทีช
่ ดั เจน ผูเ้ รียนจะต้องมีความรูท ้ จี่ าเป็ นในการใช้ชีวต
ิ และ
ทางานอย่างมีประสิทธิภาพ มีความรูแ ้ ละทักษะเพือ่ ให้สามารถการใช้ชีวต ิ
การทางาน ดารงชีพอยูไ่ ด้กบ ั ภาวะเศรษฐกิจในสังคมโลกปัจจุบน ั

ขอขอบ
คุณขัอมูลจาก www.route21.org.com

การให้การศึกษาสาหรับศตวรรษที่ 21 จะมีความยืดหยุน ่ สร้างสรรค์ ท้าทาย


และซับซ้อน
เป็ นการศึกษาทีจ่ ะทาให้โลกเกิดการเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วอย่างเต็มไปด้วยสิง่ ท้
าทาย และปัญหา รวมทัง้ โอกาสและสิง่ ทีเ่ ป็ นไปได้ใหม่ๆ
ทีน
่ ่ าตืน
่ เต้น โรงเรียนในศตวรรษที่ 21
จะเป็ นโรงเรียนทีม ่ ีหลักสูตรแบบยึดโครงงานเป็ นฐาน (project -based
curriculum) เป็ นหลักสูตรทีใ่ ห้นกั เรียนเกีย่ วข้องกับปัญหาในโลกทีเ่ ป็ นจริง
เป็ นประเด็นทีเ่ กีย่ วข้องกับความเป็ นมนุษย์
และคาถามเกีย่ วกับอนาคตเชิงวัฒนธรรม สังคม และสากล
ภาพของโรงเรียนจะเปลีย่ นจากการเป็ นสิง่ ก่อสร้างเป็ นภาพของการเป็ นศูนย์รวมป
ระสาท (nerve centers) ทีไ่ ม่จากัดอยูแ ่ ต่ในห้องเรียน แต่จะเชือ
่ มโยงครู
นักเรียนและชุมชน เข้าสูข ่ ม
ุ คลังแห่งความรูท ้ ่วั โลก
ครูเองจะเปลีย่ นจากการเป็ นผูถ ้ า่ ยทอดความรูไ้ ปเป็ นผูส
้ นับสนุนช่วยเหลือให้นกั เรี
ยนสามารถเปลีย่ นสารสนเทศเป็ นความรู ้
และนาความรูเ้ ป็ นเครือ ่ งมือสูก
่ ารปฏิบตั แ
ิ ละให้เป็ นประโยชน์
เป็ นการเรียนรูเ้ พือ
่ สร้างความรู ้ และต้องมีการสร้างวัฒนธรรมการสืบค้น (create
a culture of inquiry)

ในศตวรรษที่ 21 การให้การศึกษาตามทฤษฎีการเรียนรูข ้ องบลูม (Bloom´s


Taxonomy of Learning) จะเปลีย่ นไป เน้นทักษะการเรียนรูข ้ น ้ ั ทีส
่ ูงขึน้
(higher order learning skills) โดยเฉพาะทักษะการประเมินค่า (evaluating
skills) จะถูกแทนทีโ่ ดยทักษะการนาเอาความรูใ้ หม่ไปใช้อย่างสร้างสรรค์
(ability to use new knowledge in a creative way) ในอดีตทีผ ่ า่ นมา
นักเรียนไปโรงเรียนเพือ ่ ใช้เวลาในการเรียนรายวิชาต่างๆ เพือ ่ รับเกรด
และเพือ่ ให้จบการศึกษา แต่ในปัจจุบน ั จะพบปรากฏการณ์ ใหม่ทแ ี่ ตกต่างไป เช่น
การเรียนการสอนทีช ่ ่วยให้นกั เรียนได้เตรียมตัวเพือ
่ ใช้ชีวติ ในโลกทีเ่ ป็ นจริง (life
in the real world) เน้นการศึกษาตลอดชีวต ิ (lifelong learning)
ด้วยวิธีการสอนทีม่ ีความยืดหยุน ่ (flexible in how we teach)
มีการกระตุน ้ และจูงใจให้ผเู้ รียนมีความเป็ นคนเจ้าความคิดเจ้าปัญญา
(resourceful) ทีย่ งั คงแสวงหาการเรียนรูแ ้ ม้จะจบการศึกษาออกไป

ลักษณะของหลักสูตรในศตวรรษที่ 21
จะเป็ นหลักสูตรทีเ่ น้นคุณลักษณะเชิงวิพากษ์ (critical attributes)
เชิงสหวิทยาการ (interdisciplinary) ยึดโครงงานเป็ นฐาน (project-based)
และขับเคลือ ่ นด้วยการวิจยั (research-driven)
เชือ
่ มโยงท้องถิน ่ ชุมชนเข้ากับภาค ประเทศ และโลก
ในบางโอกาสนักเรียนสามารถร่วมมือ (collaboration) กับโครงงานต่าง
ๆได้ท่วั โลก เป็ นหลักสูตรทีเ่ น้นทักษะการคิดขัน้ สูง พหุปญ
ั ญา
เทคโนโลยีและมัลติมีเดีย ความรูพ ้ ื้นฐานเชิงพหุสาหรับศตวรรษที่ 21
และการประเมินผลตามสภาพจริง รวมทัง้ การเรียนรูจ้ ากการให้บริการ (service)
ก็เป็ นองค์ประกอบทีส ่ าคัญ

ภาพของห้องเรียน จะขยายกลายเป็ นชุมชนทีใ่ หญ่ขน ึ้ (greater community)


นักเรียนมีคุณลักษณะเป็ นผูช ้ ี้นาตนเองได้ (self-directed)
มีการทางานทัง้ อย่างเป็ นอิสระและอย่างร่วมมือกันคนอืน ่
หลักสูตรและการสอนจะมีลกั ษณะท้าทายสาหรับนักเรียนทุกคน
และคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
หลักสูตรจะไม่เน้นการยึดตาราเป็ นตัวขับเคลือ ่ น (textbook-driven)
หรือแบบแยกส่วน (fragmented) เช่นในอดีต
แต่จะเป็ นหลักสูตรแบบยึดโครงงานและการบูรณาการ
การสอนทักษะและเนื้อหาจะไม่เป็ นจุดหมายปลายทาง (as an end)
เช่นทีเ่ คยเป็ นมา
แต่นกั เรียนจะต้องมีการเรียนรูผ ้ า่ นการวิจยั และการปฏิบตั ใิ นโครงงาน
การเรียนรูจ้ ากตาราจะเป็ นเพียงส่วนหนึ่งเท่านัน ้ ความรู ้ (knowledge)
จะไม่หมายถึงการจดจาข้อเท็จจริงหรือตัวเลข
แต่จะเป็ นสิง่ ทีเ่ กิดขึน ้ จากการวิจยั และการปฏิบตั โิ ดยเชือ ่ มโยงกับความรูแ
้ ละประส
บการณ์ เก่าทีม ่ ีอยู่
ทักษะและเนื้อหาทีไ่ ด้รบ ั จะเกีย่ วข้องและมีความจาเป็ นต่อการปฏิบตั ใิ นโครงงาน
จะไม่จบลงตรงทีก ่ ารได้รบ ั ทักษะและเนื้อหาแล้วเท่านัน ้
การประเมินผลจะเปลีย่ นจากการประเมินความจาและความไม่เกีย่ วโยงกับความเข้
าใจต่อการนาไปปฏิบตั ไิ ด้จริง
ไปเป็ นการประเมินทีผ ่ ถ
ู้ ูกประเมินมีสว่ นร่วมในการประเมินตนเองด้วย (self-
assessment) ทักษะทีค ่ าดหวังสาหรับศตวรรษที่ 21
ทีเ่ รียนรูผ
้ า่ นหลักสูตรทีเ่ ป็ นสหวิทยาการ บูรณาการ ยึดโครงงานเป็ นฐาน และอืน ่ ๆ
ดังกล่าวจะเน้นเรือ ่ ง 1) ทักษะการเรียนรูแ ้ ละนวัตกรรม (learning and
innovation skills) 2) ทักษะชีวต ิ และอาชีพ (life and career skills)
ทักษะสารสนเทศ สือ ่ และเทคโนโลยี (information, media and technology
skills) ทีค ่ าดหวังว่าจะเกิดขึน ้ ได้จากความร่วมมือ (collaboration)
ในการทางานเป็ นทีม การคิดเชิงวิพากษ์ (critical thinking) ในปัญหาทีซ ่ บ
ั ซ้อน
การนาเสนอด้วยวาจาและด้วยการเขียน การใช้เทคโนโลยี ความเป็ นพลเมืองดี
การฝึ กปฏิบตั อ ิ าชีพ การวิจยั และการปฏิบตั ส ิ งิ่ ต่างๆ ทีก
่ ล่าวมาข้างต้น

ดังนัน ้ การให้การศึกษาสาหรับศตวรรษที่ 21 ต้องเปลีย่ นแปลงทัศนะ


(perspectives) จากกระบวนทัศน์แบบดัง้ เดิม (tradition paradigm)
ไปสูก ่ ระบวนทัศน์ใหม่ (new paradigm)
ทีใ่ ห้โลกของนักเรียนและโลกความเป็ นจริงเป็ นศูนย์กลางของกระบวนการเรียนรู ้
เป็ นการเรียนรูท ้ ีไ่ ปไกลกว่าการได้รบ
ั ความรูแ้ บบง่ายๆ
ไปสูก ่ ารเน้นพัฒนาทักษะและทัศนคติ — ทักษะการคิด ทักษะการแก้ปญ ั หา
ทักษะองค์การ ทัศนคติเชิงบวก ความเคารพตนเอง นวัตกรรม ความสร้างสรรค์
ทักษะการสือ ่ สาร ทักษะและค่านิยมทางเทคโนโลยี ความเชือ ่ มั่นตนเอง
ความยืดหยุน ่ การจูงใจตนเอง
และความตระหนักในสภาพแวดล้อม และเหนืออืน ่ ใด คือ
ความสามารถใช้ความรูอ้ ย่างสร้างสรรค์ (the ability to handle knowledge
effectively in order to use it creatively)
ถือเป็ นทักษะทีส ่ าคัญจาเป็ นสาหรับการเป็ นนักเรียนในศตวรรษที่ 21
ถือเป็ นสิง่ ทีท
่ า้ ทายในการทีจ่ ะพัฒนาเรียนเพือ ่ อนาคต ให้นกั เรียนมีทกั ษะ
ทัศนคติ ค่านิยม และบุคลิกภาพส่วนบุคคล
เพือ่ เผชิญกับอนาคตด้วยภาพในทางบวก (optimism)
ทีม
่ ีทง้ ั ความสาเร็จและมีความสุข

You might also like