You are on page 1of 3

สาระน่ ารู้ ขบวนการทํางานของนํากับต้ นไม้

ขบวนการหายใจของต้ นไม้ เรี ยกว่า "Transpiration" เป็ นการระเหยของนําจากต้ นไม้ เกิดขึนทีใบไม้ ในขณะนันรูปปากใบ
(stomata) ถูกเปิ ดออก เพือให้ มกี ารผ่านเข้ าออกได้ ของ CO2 (คาร์ บอนไดออกไซด์) และ O2 (ออกซิเจน) ในระหว่างทีมีการ
สังเคราะห์แสง รูปปากใบ มีลกั ษณะ เป็ นช่องกลวงบนผิวใบ ทียอมให้ มกี ารแลกเปลียนก๊ าซเข้ า-ออกได้

อากาศนัน ไม่ได้ อิมตัวไปด้ วยไอนําทังหมด จึงทําให้ ผิวของเซลล์ทีสัมผัสอากาศแห้ ง จากขบวนการสังเคราะห์แสงทีใบ จึงมีการ


สูญเสียนําไปจากการระเหยของนํา และจําต้ องมีการดึงนําเข้ ามาชดเชย ซึงมาจากราก แล้ วส่งต่อไปยังใบนันเอง โดยลําเลียง
มาทางท่อของรากและลําต้ น ทีเรียกว่า ท่อลําเลียงนํา Xylem เป็ นระบบท่อหรื อหลอดในต้ นไม้ ทีชักนําเอานําและสารละลาย
แร่ธาตุตา่ งๆ จากรากไปยังส่วนต่างๆ ของต้ นไม้ ส่วนท่อ Phloem เป็ นระบบท่อทีลําเลียงเอาอาหารทีสร้ างขึนจากการ
สังเคราะห์แสงทีใบไปยังราก ยอดอ่อนและดอกไม้

ในตอนกลางคืน ดูเหมือนทุกอย่างเงียบสงบ แต่ต้นไม้ ยงั คงหายใจคายนําออก เมือนําระเหยออกไป ก็จําเป็ นต้ องมีการลําเลียง


นําเข้ ามาแทนที การหายใจนี เป็ นกลไกลทีจะดึงนําจากรากขึนมา แล้ งส่งไป (1) ป้อนขบวนการสังเคราะห์แสง 1%-2% ของนํา
ทังหมดในต้ น (2) ขนธาตุอาหารจากราก เพือนําใช้ ในกิจกรรมต่างๆ ทีใบ และ (3) เพือลดหรื อระบายความร้ อนทีใบด้ วย

ปั จจัยสิงแวดล้ อมทีมีผลต่อขบวนการหายใจ

1. แสง ในทีมีแสงมาก ต้ นไม้ มีการหายใจคายนํามากกว่าในทีแสงน้ อย หรื อมืด เพราะแสงกระตุ้นให้ เกิดกลไกลการเปิ ดปากใบ

ด้ วยพลังงานจากแสง ทําให้ เพิมพลังงานความร้ อนทีใบอีกด้ วย

2. อุณหภูมิ : ต้ นไม้ หายใจคายนําเร็ วมากยิงขึนทีอุณหภูมิทีสูงขึน เพราะนําระเหยออกไปได้ ไวขึนเมืออุณหภูมิสงู ขึน เช่น ที

อุณหภูมิ 30 C ต้ นไม้ หายใจคายนําในอัตราเป็ น 3 เท่าของอัตราที 20 C

3. ความชืน : เมืออากาศแห้ ง การแพร่ กระจายของนํา หรื อนําระเหยเข้ าสูบ


่ รรยากาศ ได้ ไวมากขึน

4. ลม : เมือไม่มีลมพัด อากาศรอบๆ ใบจึงมีความชืนสูงมากขึน ทําให้ ลดอัตราการคายนําลงไปได้ แต่เมือมีลมพัดมา ความชืน

จะถูกพัดไปด้ วย ทําให้ อากาศแห้ งมากขึน

5. นําในดิน : ต้ นไม้ ไม่สามารถคายนําออกไปอย่างรวดเร็ วต่อเนืองตลอดเวลา หากไม่มีนาจากรากเข้


ํ ามาแทนที เมือการดูดซับ
นําจากรากหยุดชะงัก ทําให้ อตั ราการคายนําชะงักไปด้ วย รูปากใบก็จะปิ ดลง อัตราการคายนําจะหยุดชะงักลงทันที

เนืองจาก ท่อ xylem สร้ างขึนจากเนือเยือทีไม่มีชีวิต เหตุใดนําจึงสามารถส่งผ่านจากรากขึนไปยังยอดบนของต้ นไม้ โดยเฉพาะ


Tree Fern ทีสูงได้ ถึง 30 ม. !!!!
การเดินทางของเกลือแร่ (เช่น อิออนของ K+, Ca2+ ) ซึมแพร่ไปในนํา (มักมากับสารอินทรี ย์ตา่ งๆ จากราก) ปริ มาณนําทีไปถึง
ใบ จะถูกนําไปใช้ ในขบวนการสังเคราะห์แสง มีน้อยกว่า 1-2% ส่วนมากจะสูญเสียไปกับการคายนํา นํากับเกลือแร่ทีสะสมค้ าง
อยูใ่ นท่อลําเลียง จึงเคลือนย้ ายเข้ าไปในระบบท่อและผนังเซลล์

อะไรคือแรงดึงนําให้ ผา่ นเข้ าไปในท่อลําเลียงนํา

จากการสังเกตุ

- กลไกลนัน ขึนอยูก่ บ
ั แรงทางฟิ สกิ ส์ล้วนๆ เพราะท่อลําเลียงนํา xylem และ tracheids เป็ นเนือเยือทีไม่มีชีวติ

- ระบบรากไม่มค
ี วามจําเป็ น เรื องนีอธิบายได้ มานานกว่าศตวรรษแล้ ว ดดยนักพฤกษศาสตร์ ชาวเยอรมัน เขาได้ เลือยต้ นโอ๊ กสูง
35 เมตรลง และนําท่อนลําต้ นนันจุ่มลงไปในถังทีมีสารละลายกรดพิคริ ค (piric acid substance เป็ นเชือระเบิดอย่างรุ นแรง)

สารละลายได้ ซมึ แพร่ไปยังส่วนยอดของลําต้ น เมือมันขึนไปถึงส่วนไหนของลําต้ น จะทําให้ สว่ นนันตายลงทันที ตามทางทีมัน


ซึมขึนไป

- แต่ใบไม้ จําเป็ นต้ องมี เมือกรดนันซึมขึนมาจนถึงใบ และทําให้ ใบตาย และสารละลายกรดนันจึงจะหยุดเคลือนทีต่อไป

- การถากหรื อแกะเอาเปลือกไม้ ออกรอบๆ ลําต้ น ไม่ได้ หยุดยังการเคลือนทีขึนไปของนํา เพราะการถางเอาเปลือกไม้ ออก เป็ น

เพียงการเอาท่อลําเลียงอาหาร phloem ออกไป แต่ยงั คงมีทอ่ ลําเลียงนําอยู่ ดังนัน ใบจึงยังไม่เหียวงเฉาลง การถากท่อ


ลําเลียงอาหารออก ทําให้ ต้นไม้ ตาย เพราะส่วนของรากและส่วนอืนๆ ขาดอาหารจากใบส่งมาเลียง แต่ไม่ใช่ตายเพราะขาดนํา

ในปี 1895 นักวิทยาศาสตร์ ด้ านฟิ สกิส์ในพืช H. H. Dixon และ J. Joly ได้ เสนอว่า นําถูกดึงขึนไปยังต้ นไม้ ได้ ด้วยแรงดึงดูด
จากด้ านบน จากการสังเกตุ การสูญเสียนําจากใบโดยการคายนํา Dixon และ Joly เชือว่า การสูญเสียนําทีใบทําให้ เกิดแรง
ดึงดูดนําขึนมาทางท่อลําเลียงนํา xylem แล้ วส่งต่อไปยังใบ ในลักษณะเดียวกันกับปัA มสูญญากาศทีจะช่วยดึงนําให้ ขนไป

ข้ างบนได้ แต่ทฤษฎีนียังไม่สามารถอธิบายในเรื องของความดันนําของนําในท่อลําเลียงนํา และเหตุใดจึงสามารถดึงนําขึนไปได้
สูงมากถึง 100 ม. ในต้ น sequoia หรื อ Douglas fir

การดึงนําให้ ขนไปในที
ึ สูงจะต้ องมีแรงดันอย่างน้ อย 150 ปอนด์/ตารางนิว เหนือแรงดันบรรยากาศทัวไป คําตอบก็คงหนีไม่พ้น
เรื องของ แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของนํา เป็ นสมบัติของนําทียึดเกาะกันด้ วยพันธะไฮโดรเจน

โมเลกุลทีมีขวั เช่น โมเลกุลของนํา มีจดุ อ่อนอยูท่ ี ประจุลบบางส่วนบริ เวณทีเป็ นอะตอมของออกซิเจน และประจุบวกอยูท่ ี


อะตอมของไฮโดรเจน ดังนันเมือโมเลกุลของนํามาอยูใ่ กล้ ชิดกัน โดยสัมผัสกันทีส่วนทีเป็ นประจุบวกและกับส่วนทีเป็ นประจุลบ
คือ ประจุตรงข้ ามกัน แรงดึงดูดนีเรี ยกว่า พันธะไฮโดรเจน
เมือนําถูกบีบเข้ าไปอยูใ่ นท่อเล็กๆ แรงดึงดูดระหว่างดมเลกุลนําทําให้ มนั สามารถมีความแข็งแกร่งพอทีจะปี นขึนไปสูงๆ ได้ แรง
ดึงนีมีมากถึง 3000 ปอนด์/ตารางนิว สูงมากพอๆ กับแรงทีใช้ ในการดึงลวดเหล็กกล้ าในขนาดเท่ากันให้ ขาดออกจากัน หรื อ
อาจกล่าวได้ วา่ แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของนํามีมากพอๆ กับความแข็งแรงของลวดโลหะตันเลยก็วา่ ได้

นําถูกกูดซับเอาไว้ ในดินได้ ด้วยแรงดึง แรงพยุงนําเอาไว้ ในดินนีหมายถึง แรงตึงของความชืนในดิน (Soil Moisture Tension;


SMT) เพือทีจะดึงนําออกจากดิน ต้ องไม้ ต้องออกแรงให้ มากกว่าแรง SMT ดังกล่าว

ต้ นไม้ ไม่สนใจเลยว่า ปริ มาณนําในดินมีมากน้ อยเพียงใด หรื อดินนันจะเป็ นดินชนิดใด ไม่วา่ จะเป็ นดินทรายชายหาด หรื อดิน
เหนีนวสีดํา มันสนใจทีแรงดึงนําออกจากดินต้ องออกแรงมากน้ อยแค่ไหน และดินสามารถดึงนําเก็บเอาไว้ ได้ ยากง่ายเพียงไร ดู
ตัวอย่างจาก ดินเหนียวโคลนกับดินทราย ในกรณีทีมีปริ มาณนําพอๆ กัน ต้ นไม้ อาจรู้สกึ ถึงความพยายามอย่างมากในการดึง
นําออกจากดินเหนียว แลพพยายามมากกว่าในดินทราย ในดินทีเนือละเอียดมากกว่าสามารถเก็บนําเอาไว้ ได้ ดีกว่าในดินเนือ
หยาบกว่า แต่ดินเหล่านันก็เก็บเอาไว้ ได้ เพียงเท่าทีระดับความสูงนําใต้ ดินมีอยูเ่ ท่านัน ดังนัน ต้ นไม้ สนใจแต่แรงดึงความชืนใน
ดินเท่านัน ไม่วา่ ดินนันจะเป็ นดินชนิดใดก็ตาม

เมือต้ นไม้ ดงึ นําออกจากดิน ก๊ าซออกซิเจนถูกดึงเข้ ามาแทนทีในช่องว่าง การให้ นามากเกิ


ํ นไป จึงเป็ นการลดปริ มาณอากาศ
รอบๆ ราก ในดิน ในกรณีทีปริ มาณออกซิเจนลดลงตํามาก จะทําให้ ลดการเจริ ญเติบดตของพืชด้ วย ปั ญหานีพบได้ บอ่ ยได้
เครื องปลูกทีระบายนําไม่ได้ รวมถึงดินทีเหนียวแข็งด้ วย อีกทัง ในสภาพอากาศทีร้ อน จะทําให้ ปริ มาณออกซิเจนทีละลายอยูใ่ น
นําลดลงด้ วย

ปริ มาณออกซิเจนตํา จะทําให้ ต้นไม้ ออ่ นแอ ไม่ทนทานต่อเชือโรค เชือรา ทีเข้ ารุมทําร้ ายทีระบบราก ทําให้ ต้นไม้ ไม่สามารถดูด
นําและธาตุอาหารได้ สังเกตุได้ จากอาการเหียวเฉา เหมือนขาดนํา อย่างไรก็ตาม หากภาชนะทีใช้ ปลูก ระบายนําได้ ดีอยูแ่ ล้ ว
ให้ ลองถอดกระถางออกมาดูระบบรากและเครื องปลูก หากเครื องปลูกชืนดี ไม่เปี ยกแฉะอมนํา แต่ต้นไม้ ยงั ดูไม่สดใส อาจเป็ น
เพาะสาเหตุอืนๆ ทีต้ องพิจารณาต่อ

สิงทีต้ องสังเกตุอกี อย่าง อาการไม้ เนืองจากเกลือแร่ ขอบใบมีอาการเหลืองและเป็ นสีนาตาล


ํ เป็ นสาเหตุจากปริ มาณเกลือแร่ที
ละลายปะปนอยูใ่ นนํามีสงู มาก และสะสมอยูใ่ นเครื องปลูกและระบบราก ทางแก้ ไขโดยการใช้ นําสะอาดในปริ มาณมากๆ เพือ
ชะล้ างเกลือแร่ออกไป

บทความนี แปลถอดความจาก "How Water Works with Plants" เดือน ก.พ. 2545 เขียนโดย Robin Halley จากสมาคม
เฟิ นซานดิเอโก

You might also like