You are on page 1of 2

หลักการเขียนบทคัดย่อ (Abstract) 2.6 ไม่ มี ก ารอ้ า งอิ ง ตั ว เลข แผนภาพ ตาราง 4.

หัวข้อ
โครงสร้ า ง สู ต รสถิ ติ หรื อ สมการใน 4.1 ควรครอบคลุมเนื้อหาได้อย่างถูกต้อง
Abstract หมายถึง ข้อความที่สามารถบอก บทคัดย่อ นอกจากจาเป็นต้องแสดงผลการ 4.2 ควรครอบคลุมวัตถุประสงค์ของงานวิจัยได้
ส่วนประกอบพื้ น ฐานของงานได้ อ ย่างถู กต้อ งและ วิเคราะห์ อย่างชัดเจน
รวดเร็ว ทาให้ผู้อ่านทราบความน่าสนใจของงานเพื่อ 2.7 ในการเขียนบทคัดย่ออาจมีหลายย่อหน้าได้ 4.3 ควรมีคาประมาณ 10–12 คา
ตัดสินใจให้อ่านงานหลัก (Paper) เพื่อเพิ่มความเข้าใจให้ผู้อ่านในแต่ละตอน 4.4 ควรสื่อความหมายถึงสิ่งที่ต้องการศึกษาได้
2.8 หลีกเลี่ยงการอ้างอิงงานวิจัยงานของผู้อื่นใน ชั ด เจนมากกว่ า ให้ ค วามส าคั ญ กั บ ผลและ
1. การเตรียมตัวก่อนเขียนบทคัดย่อ บทคัดย่อ สรุปผลงานวิจัย
ก่อนการเขียนบทคัดย่อควรศึกษา เรียนรู้ 2.9 ท าตามขั้ น ตอนตามโครงสร้ า งการเขี ย น 4.5 สื่ อ ความหมายที่ เ ข้ า ใจง่ า ยโดยไม่ ค วรใช้
และท าความเข้ า ใจกั บ งานวิ จั ย ฉบั บ สมบู ร ณ์ ข อง บทคั ด ย่ อ โดยต้ อ งระมั ด ระวั ง ให้ ม าก ศัพท์ยาก หรือตัวย่อ
ตนเองเพื่อหาประเด็นต่างๆ ที่น่าสนใจ และดึงดูดให้ รวมถึ ง ลั ก ษณะแบ บตั ว อั ก ษร ขนา ด 4.6 หัวข้อไม่ควรพิมพ์ด้วยตัวพิมพ์ใหญ่
ผู้อ่านทั่วไปอยากอ่านรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ ตั ว อั ก ษร การก าหนดขอบหน้ า กระดาษ
เคร่งครัด ต่อหลั กการพิม พ์ และรูป แบบที่ 5. ชื่อผู้แต่ง
2. บทคัดย่อที่ดี เป็ น ที่ ย อมรั บ ควรระมั ด ระวั ง ในการ 5.1 จะต้องเป็นผู้ที่ต้องดาเนินงานวิจัยนั้น
2.1 ควรคั ด เฉพาะส่ ว นส าคัญ เป็ น ประเด็ น ที่ ตรวจสอบการเขี ยนโดยอ่ านหลายๆ รอบ 5.2 ชื่ อ ผู้ แ ต่ ง ชื่ อ แรกต้ อ งเป็ น คนที่ น าเสนอ
น่าสนใจ เน้นถ่ายทอดจุดเด่นของการศึกษา จะเป็นการเพิ่มคุณภาพของบทคัดย่อให้เป็น บทคั ด ย่ อ และผู้ แ ต่ ง ทุ ก คนต้ อ งอ่ า นและ
โดยงานวิจัยมีความชัดเจน สั้น กระทัดรัด ที่ยอมรับในการเสนองานวิจัย ยอมรับบทคัดย่อนี้ก่อนส่งตีพิมพ์
2.2 จานวนคาต้องอยู่ระหว่าง 200–250 คา
หรือประมาณ 1–1.5 หน้ากระดาษ A4 3. ส่วนประกอบของบทคัดย่อ 6. ข้อแนะนาในการเขียนบทคัดย่อ
2.3 ไม่มีการตีความหรือวิพากษ์ วิจารณ์โดยใช้ 3.1 วัตถุประสงค์หลัก และกรอบของการศึกษา 6.1 Why did you start? – Introduction
ความคิดของตนเอง 3.2 อธิบายถึงวิธีทาการวิจัย เริ่ ม ต้ น บทน าควรสรุ ป เรื่ อ งและที่ ม าของ
2.4 ไม่ควรเขียนประโยคที่เข้าใจยาก และไม่ใช้ 3.3 สรุปผลจากการวิจัย ความสาคัญที่เกี่ยวข้องของงานวิจัยให้อยู่ในประโยค
คาศัพท์เฉพาะท้องถิ่น 3.4 ระบุบทสรุปที่สาคัญ เดียว โดยเฉพาะอย่างยิ่งสิ่งที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย
2.5 ไม่ ใ ช้ ตั ว ย่ อ หรื อ สั ญ ลั ก ษณ์ โ ดยไม่ จ าเป็ น ความสาคัญของบทสรุปมักจะมีการเขียนถึง มากที่สุด
เพราะอาจสร้างความไม่เข้าใจให้กับผู้อ่านได้ 3 ครั้ง คือ ในบทคัดย่อ ในบทนา และส่วนของ 6.2 Why did you try to do? – Aims and
วิจารณ์ผล objectives
การระบุ วัต ถุ ป ระสงค์จ ะต้ อ งชัด เจน และ จ ากั ด เช่ น กลุ่ ม ตั ว อย่ า ง วิ ธี ก ารเฉพาะ หรื อ 25CA%25D2%25C3%25BB%25C3%
ควรเป็นประโยคสั้นๆ ที่เกี่ยวข้องกับ สมมติฐานของ เครื่องมือเฉพาะ การเขียนสรุปจะต้องไม่ออกนอก 25D0%25A1%25CD%25BA%25A1%
ง า น ที่ ท า ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ก า ร ศึ ก ษ า ท า ง ด้ า น ขอบเขตนั้น 25D2%25C3%25CA%25CD%25B9%
วิทยาศาสตร์ สิ่ งที่ส าคัญในงานวิจั ยคือ “วิ ธีการ” 25E0%25C3%25D7%25E8%25CD%
พิสูจน์ว่าผลเป็นจริงมีความสาคัญมากกว่าแสดงผล เอกสารอ้างอิง 25A7%25A1%25D2%25C3%25E0%
ว่ า เป็ น จริ ง เพี ย งอย่ า งเดี ย ว ซึ่ ง แม้ ว่ า จะมี ค วาม 1. European Respiratory Society. (บท 25A2%25D5%25C2%25B9%2BAbstr
แตกต่างกันเพียงเล็กน้อยแต่ ก็เป็นเรื่องสาคัญมาก เผยแพร่สารสนเทศบนอินเตอร์เนต). How act&ei=j17MT6isDsnNrQejtpicDg&usg
และการยื น ยั น ด้ ว ยสมมติ ฐ านจะพิ สู จ น์ ไ ด้ ว่ า to write a good Abstract, 29 =AFQjCNFAExtn1nneLz2lHMmg7MWm
งานวิจัยตรงตามวัตถุประสงค์ได้อย่างไร พฤษภาคม 2555. สืบค้นจาก eBgoEg&sig2=qRrIrrNbhw_PYkjaaRr6
6.3 What did you do? – Method http://www.scribd.com/Mnithin/d/1009 UQ
วิ ธี ก ารด าเนิ น งานควรกระชั บ ไม่ ค วรใส่ 3347-How-to-Write-a-Good-Abstract 3. ผศ.สุภาพร ทินประภา. (บทเผยแพร่
รายละเอี ย ดของการด าเนิ น งานให้ ม ากเกิ น ไป ใน 2. Dr.Phayom Sookaneknun. (บทเผยแพร่ สารสนเทศบนอินเตอร์เนต). หลักการเขียน
ประโยคอาจเป็ น การบอกวิ ธี ก ารวิ จั ย ที่ ดี ส าหรั บ สารสนเทศบนอินเตอร์เนต). How to บทคัดย่อ, 29 พฤษภาคม 2555. สืบค้น
งานวิ จั ยชิ้ น นี้ และต้ อ งบอกชนิ ด ของกลุ่ ม ตั วอย่า ง prepare abstract, จาก
และวิธีการวัดให้ชัดเจน acknowledgement and cite http://203.158.98.25/new-
6.4 What did you find? – Results reference, 29 พฤษภาคม 2555. สืบค้น mba/document/abstract.pdf
สิ่ ง ส าคั ญ ในการรายงานผลการวิ จั ย ต้ อ ง จาก 4. ผศ.ดร. ประสาท โพธิ์นิ่มแดง. (เอกสาร
บ อ ก ถึ ง สิ่ ง ที่ เ ป็ น ข้ อ มู ล จ ริ ง ไ ม่ ใ ช่ เ พี ย ง แ ค่ http://www.google.co.th/url?sa=t&rct=j ประกอบการอบรม). หลักการเขียน
เปรี ย บเที ย บว่ า สิ่ ง ใดดี ก ว่ า กั น ต้ อ งเลื อ กข้ อ มู ล ที่ &q=&esrc=s&source=web&cd=8&ved บทคัดย่อภาษาอังกฤษ, 23 กุมภาพันธ์
สาคัญมากที่สุดที่จะสรุปอยู่ในงานวิจัย และอย่าลง =0CGQQFjAH&url=http%3A%2F%2Fc 2555.
ภาพหรือตารางในบทคัดย่อ yberclass.msu.ac.th%2Fcyberclass%2
6.5 What does it mean? – Conclusions Flibrary%2Fdocument%2Fview-
การสรุปเป็นการบอกสิ่งที่ต้องการศึกษาใน document.php%3Fcourseid%3DM2E7
งานวิ จั ย นี้ ส าคั ญ อย่ า งไร โดยการสรุ ป จะอยู่ บ น MDM8ZmI%3D%26library_id%3D452
พื้น ฐานของเหตุ แ ละผล และมี ข้ อ มู ล ประกอบการ 97%26lang%3Dth%26pid%3D33224
สรุปงานวิจัย และหากงานวิจัยประเภทที่มีขอบเขต %26title%3D%25E0%25CD%25A1%

You might also like