You are on page 1of 24

พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

รายละเอียดทั่วไป รายละเอียดทั่วไป
ในเครื่องยนตแกสโซลีน สวนผสมน้าํ มัน
และอากาศถูกทําใหระเบิดในเครื่องยนต
และแรงที่เกิดขึ้นนี้จะถูกเปลี่ยนใหอยูใน
รูปของการหมุน ซึ่งจะทําใหรถยนต
เคลื่อนที่ได
ในการทํางานของเครื่องยนตมีระบบตางๆ
มากมายที่ถูกเพิ่มเติมใหเหมาะสมกับ
เครื่องยนต

1. การทํางานของเครื่องยนต

2. ระบบไอดี

- 1 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

3. ระบบเชื้อเพลิง

4. ระบบหลอลืน่

5. ระบบระบายความรอน

- 2 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

6. ระบบไอเสีย

(1/1)

การทํางาน
เพื่อจะสรางพลังงานที่ใชในการขับเคลื่อน
รถยนตเครื่องยนตแกสโซลีนตองทํางานซ้าํ
เปนวัฏจักร 4 จังหวะ:
• จังหวะดูด
• จังหวะอัด
• จังหวะระเบิด
• จังหวะคาย
เครื่องยนตจะทําการดูดสวนผสมระหวาง
อากาศ-เชื้อเพลิงเขาไปในกระบอกสูบ
จากนั้นทําการอัด, จุดระเบิดและเผาไหม
จนขั้นสุดทายคายไอเสียทิ้ง วัฏจักรทั้ง 4
จังหวะนี้จะทําใหเครือ่ งยนตแกสโซลีน
สามารถผลิตกําลังได เครื่องยนตชนิดนี้
เรียกวา เครื่องยนต 4 จังหวะ

1 วาลวไอดี
2 หัวเทียน
3 วาลวไอเสีย
4 หองเผาไหม
5 ลูกสูบ

- 3 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

จังหวะดูด
วาลวไอเสียจะปดและวาลวไอดีจะเปด
เปนจังหวะที่ลกู สูบเคลื่อนที่ลงจะทําให
สวนผสมของเชื้อเพลิงกับอากาศถูกดูดเขา
ไปในกระบอกสูบผานทางวาลวไอดี

จังหวะอัด
เปนจังหวะที่ลกู สูบเลื่อนลงสุดและวาลว
ไอดีและวาลวไอดีเสียจะปด สวนผสมของ
เชื้อเพลิงกับอากาศที่ถูกดูดเขาไปใน
กระบอกสูบจะถูกอัดอยางแรงจนทําให
อุณหภูมสิ ูง ในจังหวะที่ลูกสูบเลื่อนขึ้น

จังหวะระเบิด
เมื่อลูกสูบขึ้นจนสุดแลว จะมีกระแสไฟไหล
ไปที่หวั เทียน ซึ่งจะทําใหเกิดประกายไฟ
จากนั้น สวนผสมของเชื้อเพลิงกับอากาศ
จะเกิดการเผาไหมและระเบิด การระเบิดนี้
จะดันใหลูกสูบเลื่อนลงทําใหเพลาขอเหวี่ยง
หมุน

- 4 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

จังหวะคาย
วาลวไอเสียจะเปดในจังหวะที่ลกู สูบลงสุด
จากนั้น แกสไอเสียที่เกิดจากการเผาไหม
จะถูกปลอยออกจากกระบอกสูบทางวาลว
ไอเสีย

(1/2)

กลไกวาลว
วาลวไอดีและวาลวไอเสียจะเปดและ
ปดสอดคลองการหมุนของเพลาลูกเบี้ยว

เพลาลูกเบี้ยวหมุน 1 รอบ
(จะทําการเปดและปดวาลว 1 ครั้ง)
เพลาขอเหวี่ยงจะหมุน 2 รอบ
(ลูกสูบจะเคลื่อนที่ขึ้นลง 2 ครั้ง)

- 5 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

(2/2)

คุณสมบัติเครื่องยนต สวนประกอบ
เครื่องยนตเปนสวนสําคัญที่สุดที่จะทําให
รถวิ่งได ดวยเหตุนี้ แตละสวนที่ประกอบขึ้น
เปนเครื่องยนตตองทํามาจากชิ้นสวนที่
พิถีพิถัน

- 6 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

1. ฝาสูบ

2. เสื้อสูบ

3. ลูกสูบ

- 7 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

4. เพลาขอเหวี่ยง

5. ลอชวยแรง

6. กลไกวาลว

- 8 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

7. สายพานขับ

8. อางน้าํ มันเครื่อง

(1/1)

ฝาสูบและเสื้อสูบ
ฝาสูบ
เปนสวนหนึ่งของหองเผาไหมโดยมีลักษณะ
เปนหลุมเวาของแตละสูบดานลางฝาสูบ
เสื้อสูบ
เปนสวนที่เปนโครงรางของเครื่องยนต
เพื่อใหเครื่องยนตทาํ งานอยางราบเรียบ
เครื่องยนตแบบหลายกระบอกสูบถูกนํามา
ใชในรถยนตปจจุบัน

1 ฝาสูบ
2 ปะเก็น
3 เสื้อสูบ
(1/1)

- 9 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

ขอมูลอางอิง:
การจัดวางกระบอกสูบ
การจัดวางกระบอกสูบที่ใชกันโดยทั่วไป
ดังนี้:

1 แบบแถวเรียง
แบบนี้เปนแบบที่ใชกันมากที่สุด
ซึ่งกระบอกสูบจะถูกจัดใหเปนแนวเสนตรง
2 แบบรูปตัววี

กระบอกสูบจะถูกจัดวางเปนรูปตัววี
เครื่องยนตจะสั้นกวาแบบแถวเรียงดวย
จํานวนสูบที่เทากัน
3 แบบสูบนอนตรงขาม

กระบอกสูบจะถูกจัดวางในแนวนอนใน
ทิศทางตรงกันขาม มีเพลาขอเหวี่ยง
อยูตรงกลาง ถึงแมวาเครือ่ งยนตจะมี
ขนาดกวางกวา แตความสูงโดยรวม
จะลดลง
(1/1)

- 10 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

จํานวนกระบอกสูบ
เพื่อที่จะลดการสั่นสะเทือนจากการ
เคลื่อนที่ของลูกสูบในแนวตั้ง และใหการ
ขับขี่ที่นุมนวล เครื่องยนตจึงตองมีหลายสูบ

โดยทั่วไป จํานวนกระบอกสูบที่มีมากกวา
เครื่องยนตจะหมุนไดราบเรียบกวา และ
สั่นสะเทือนนอย
เครื่องยนตแบบแถวเรียงโดยทั่วไปจะมี 4
หรือ 6 สูบและแบบรูปตัววีจะมี 6 หรือ 8
สูบ

1 แถวเรียง 4 สูบ 1 - 2 - 4 - 3
เครื่องยนตแกสโซลีน 4 จังหวะ:
2 แถวเรียง 6 สูบ 1 - 5 - 3 - 6 - 2 - 4
ในเครื่องยนต 4 สูบ การระเบิด 4
3 รูปตัววี 6 สูบ 1 - 2 - 3 - 4 - 5 - 6
ครั้งจะเกิดขึ้นกับการหมุนของเพลา
4 รูปตัววี 8 สูบ 1 - 8 - 4 - 3 - 6 - 5 - 7 - 2 ขอเหวี่ยง 2 รอบ
ในเครื่องยนต 8 สูบ การระเบิดจะเกิดขึ้น
8 ครั้ง
ทําใหเครื่องยนตสามารถเดินไดอยาง
ราบเรียบ
ลําดับขั้นการจุดระเบิดพื้นฐานไดถูก
กําหนดใหขึ้นอยูกับจํานวนกระบอกสูบ

(1/1)

- 11 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

ลูกสูบ, เพลาขอเหวี่ยง, ลอชวยแรง


ลูกสูบ
ลูกสูบจะเคลื่อนที่เปนแนวตั้งในกระบอก
สูบ จากผลที่ไดจากแรงดันที่เกิดขึ้นโดย
การเผาไหมของสวนผสมอากาศกับ
เชื้อเพลิง
เพลาขอเหวี่ยง
เพลาขอเหวี่ยงจะเปลี่ยนการเคลื่อนที่ของ
ลูกสูบในแนวตัง้ ใหเปนการหมุนโดยผาน
ทางกานสูบ
ลอชวยแรง
ลอชวยแรงทํามาจากเหล็กกลาที่หนัก และ
เปลี่ยนแปลงการหมุนของเพลาขอเหวี่ยงให
เปนแรงเฉื่อย ดังนั้น มันสามารถใหแรง
ที่ไดจากการหมุนออกมาเปนแรงการหมุน
คงที่

1 ลูกสูบ
2 สลักลูกสูบ
3 กานสูบ
4 เพลาขอเหวี่ยง
5 ลอชวยแรง

(1/1)

- 12 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

สายพานขับ
สายพานขับจะสงผานกําลังงานที่ไดจาก
การหมุนของเพลาขอเหวี่ยงไปยัง
อัลเทอรเนเตอร, ปมพวงมาลัยเพาเวอร
และคอมเพรสเซอรแอรโดยผานพูลเลย
โดยทั่วไป รถยนตจะมีสายพาน 2-3 เสน
สายพานขับจะตองมีการตรวจสอบความตึง
และการใชงานอยางเหมาะสม และเปลี่ยน
ตามขอแนะนําในเวลาที่กาํ หนด

1 พูลเลยเพลาขอเหวี่ยง
2 พูลเลยปมพวงมาลัยเพาเวอร
3 พูลเลยอัลเทอรเนเตอร
4 พูลเลยปมน้าํ
5 พูลเลยคอมเพรสเซอรแอร

A สายพานรูปตัววี
สายพานนี้มีรูปรางคลายตัววีเพื่อคง
ประสิทธิภาพการขับเคลื่อน

B สายพานรองตัววี
สายพานนี้จะมีรองเปนรูปตัววีอยูตรง
พื้นผิวที่สัมผัสกับพูลเลย ซึ่งจะทําให
มีนา้ํ หนักเบาและสึกหรอนอย
(1/1)

- 13 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

ขอมูลอางอิง:
ระบบสายพานขับเสนเดียว
ระบบขับดวยสายพานเสนเดียวจะใช
สายพานเดี่ยวรองตัววี เพื่อใชกับ
อัลเทอรเนเตอร, ปมน้าํ , ปมพวงมาลัย
เพาเวอรหรือคอมเพรสเซอรแอร
เปรียบเทียบกับสายพานธรรมดาจะมี
ลักษณะเดนดังตอไปนี้:
ความยาวโดยรวมของเครื่องยนตจะสั้นกวา
ลดจํานวนชิ้นสวนลง ลดน้าํ หนัก

1 สายพานเดี่ยวรองตัววี
2 พูลเลยเพลาขอเหวี่ยง
3 พูลเลยลูกรอก (ปรับอัตโนมัต)ิ
4 พูลเลยปมพวงมาลัยเพาเวอร
5 พูลเลยอัลเทอรเนเตอร
6 พูลเลยปมน้าํ
7 พูลเลยคอมเพรสเซอรแอร
(1/1)

อางน้ํามันเครื่อง
อางน้าํ มันเครื่องเปนภาชนะรองรับน้าํ มัน
เครื่องที่ทาํ จากเหล็กหรืออลูมิเนียม โดยจะ
ประกอบดวยสวนที่มีความลึกและแผนกั้น
เพื่อวาแมในขณะรถเอียง ก็จะยังมีปริมาณ
น้าํ มันเครื่องอยูเพียงพอที่กนอาง
1 อางน้า ํ มันเครื่องหมายเลข 1
2 อางน้า ํ มันเครื่องหมายเลข 2

A อางน้าํ มันเครื่องที่ไมมีแผนกั้น
B อางน้าํ มันเครื่องที่มแี ผนกั้น

- 14 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

(1/1)

กลไกวาลว
กลไกวาลวเปนสวนประกอบที่ทาํ หนาที่
เปดและปดวาลวไอดีและวาลวไอเสียใน
ฝาสูบตามเวลาที่เหมาะสม

1 เพลาขอเหวี่ยง
2 เฟองโซไทมมิ่ง
3 โซไทมมงิ่
4 เพลาลูกเบี้ยวไอดี
5 วาลวไอดี
6 เพลาลูกเบี้ยวไอเสีย
7 วาลวไอเสีย

* ภาพแสดงระบบกลไกวาลวแบบ VVT-i
(1/3)

- 15 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

กลไกวาลว
ประเภทของกลไกวาลว
กลไกวาลว มีดวยกันหลายประเภท
ขึ้นอยูกับตําแหนงการจัดวางและจํานวน
ของเพลาลูกเบี้ยว
A DOHC (เพลาลูกเบี้ยวคูเหนือฝาสูบ)

กลไกวาลวประเภทนี้จะประกอบไปดวย
เพลาลูกเบี้ยว 2 อัน และแตละอันจะ
ขับวาลวโดยตรง ทําใหการเคลื่อนตัวของ
วาลวเปนไปอยางแมนยํา

B COMPACT DOHC
(เพลาลูกเบี้ยวคูเหนือฝาสูบ
แบบแคบ)
กลไลวาลวประเภทนี้จะประกอบไปดวย
เพลาลูกเบี้ยว 2 อัน ซึง่ อันหนึ่งจะถูกขับ
โดยชุดเฟองเกียร โครงสรางของฝาสูบ
ทําแบบเรียบงายและกะทัดรัดกวาแบบ
DOHC ธรรมดา

1 สายพานไทมมิ่ง
2 เฟองสะพาน
3 เพลาลูกเบี้ยว
(1/2)

C OHC (Overhead Camshaft)


กลไกวาลวชนิดนี้ จะใชเพลาลูกเบี้ยวเพียง
เพลาเดียว เพื่อไปควบคุมการทํางานของ
วาลวทั้งหมดผานกระเดื่องวาลว

D OHV (Overhead Valve)


กลไกวาลวชนิดนี้ จะใชเพลาลูกเบี้ยวอยู
ภายในเสื้อสูบ และตองใชกานกระทุงวาลว
และกระเดือ่ งวาลวในการเปดและปดวาลว

1 สายพานไทมมิ่ง
2 เพลาลูกเบี้ยว
3 กานกระทุงวาลว
4 กระเดื่องวาลว
(2/2)

- 16 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

โซไทมมิ่ง
โซนี้ทาํ หนาที่ผานการหมุนของเพลา
ขอเหวี่ยงไปยังเพลาลูกเบี้ยว

1 โซไทมมงิ่
2 เฟองขับเพลาลูกเบี้ยว
3 เฟองเพลาขอเหวี่ยง

(2/3)

ขอมูลอางอิง:
สายพานไทมมิ่ง
ลักษณะคลายกับเฟองเกียร สายพานชนิด
นี้จะมีฟนซึ่งขบกับฟนของพูลเลย
สําหรับการใชในเครือ่ งยนต สายพานชนิด
นี้ทาํ มาจากวัสดุที่มีพื้นฐานมาจากยาง
สายพานไทมมิ่งจะตองมีการตรวจสอบการ
ใชงานและความตึงอยางเหมาะสม และ
การเปลีย่ นตามขอแนะนําในเวลาที่กาํ หนด

1 สายพานไทมมิ่ง
2 เฟองขับเพลาลูกเบี้ยว
3 เฟองขับเพลาขอเหวี่ยง
(1/1)

- 17 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

ระบบ VVT-i (Variable Valve Timing-


intelligent)
ระบบ VVT-i ใชคอมพิวเตอรในการควบคุม
จังหวะการเปดและปดวาลวไอดีให
เหมาะสมกับสภาพเครือ่ งยนต

ระบบนี้ใชแรงดันไฮดรอลิคผันแปรจังหวะ
เวลาในการเปดและปดของวาลวไอดี
เปนผลใหการประจุไอดีมีประสิทธิภาพ,
แรงบิด, กําลังงานที่ได, ประหยัดน้าํ มัน
เชื้อเพลิงและแกสไอเสียที่สะอาด

1 µÑǤǺ¤ØÁ VVT-i 2 à«ç¹à«ÍÃìµÓá˹è§à¾ÅÒÅÙ¡àºÕéÂÇ


นอกจากระบบ VVT- i แลวยังมีระบบ
3 เซ็นเซอรอณ
ุ หภูมินา้ํ 4 วาลวควบคุมแรงดันน้า
ํ มัน VVTL- i (Variable Valve Timing and Lift-
5 เซ็นเซอรตาํ แหนงเพลาขอเหวี่ยง Intelligent) อีกดวย ซึ่งระบบนี้จะเพิ่ม
ระยะยกของวาลวและปรับปรุง
ประสิทธิภาพการประจุอากาศในระหวาง
ความเร็วรอบสูง

(3/3)

ระบบไอดี รายละเอียดทั่วไป
ระบบไอดีจัดเตรียมไวเพื่อประจุปริมาณ
อากาศที่สะอาดเขาเครื่องยนต

1 กรองอากาศ
2 เรือนลิน้ เรง
3 ทอรวมไอดี

- 18 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

ขอมูลอางอิง:
เทอรโบชารจเจอร
เทอรโบชารจเจอรเปนอุปกรณที่ชวยในการ
อัดอากาศ โดยใชพลังงานจากแกสไอเสีย
เพื่อทําการสงอากาศที่มีความหนาแนนสูง
เขาไปในหองเผาไหมเพื่อเพิ่มกําลังงาน

เมื่อลอเทอรไบนหมุนเนื่องมาจากกําลัง
งานที่ไดมาจากแกสไอเสีย ลออัดอากาศจะ
หมุนดวยเนื่องจากเพลาที่ตอกับลอ
เทอรไบน โดยลออากาศจะทําหนาที่อัด
อากาศเขาไปในเครื่องยนต
A เทอรโบชารจ B ซุปเปอรชารจ
1 ลอเทอรไบน 2 ลออัดอากาศ อุปกรณอีกอยางเรียกวา "ซุปเปอรชารจ"
เปนอุปกรณที่ใชในการอัดอากาศเชนเดียว
กับเทอรโบชารจ แตชุดอัดอากาศจะรับ
กําลังงานจากเครื่องยนตโดยผานสายพาน
เพื่อทําการอัดอากาศเขาเครื่องยนต

(1/1)

กรองอากาศ
กรองอากาศประกอบไปดวยไสกรอง
อากาศเพื่อทีจ่ ะดักจับฝุนและเศษผงเล็กๆ
จากอากาศขณะที่เครื่องยนตนาํ อากาศจาก
ภายนอกเขามา

ไสกรองอากาศจะตองสะอาดหรือเปลี่ยน
ตามระยะเวลาที่กาํ หนด

1 ไสกรองอากาศ
2 กลองดักอากาศ

(1/1)

- 19 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

ขอมูลอางอิง:
ชนิดของไสกรองอากาศ
1 แบบกระดาษ

แบบนี้ใชกันอยางกวางขวางทั่วไปใน
รถยนต
2 แบบใยสังเคราะห

แบบนี้จะมีสวนประกอบของใยสังเคราะห
ที่สามารถถอดลางได
3 แบบน้ํามัน

แบบเปยกนี้จะประกอบไปดวยอางน้าํ มัน

(1/1)

ชนิดของกรองอากาศ
1. กรองอากาศแบบมีตัวแยกฝุนละออง
ใชแรงเหวี่ยงหนีศูนยที่ไดมาจากการหมุน
ของใบพัดเพื่อแยกฝุน ละอองออกจาก
อากาศ ฝุนละอองนี้จะสงไปที่ถวยรับฝุน
และอากาศจะถูกสงไปทีก่ รองอากาศ

(1/3)

2. กรองอากาศแบบอางน้ํามัน
กรองอากาศแบบนี้จะกรองอากาศที่ผาน
เขามาทีก่ รองอากาศที่ทาํ มาจากใยโลหะ
ซึ่งชุมอยูในอางน้าํ มันดานลางของหมอ
กรองอากาศ

(2/3)

- 20 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

3. กรองอากาศแบบลมหมุนวน
จะใชกาํ จัดฝุนขนาดใหญ เชน กรวดทราย
โดยใชแรงเหวี่ยงหนีศูนยกลางของอากาศ
ซึ่งถูกสรางโดยครีบ และจะดักจับฝุน ขนาด
เล็กโดยไสกรองอากาศที่ทาํ มาจาก
กระดาษ

(3/3)

เรือนลิ้นเรง
ลิ้นเรงจะใชสายในการทํางานซึ่งจะ
สอดคลองกับแปนเหยียบ ลิ้นเรงที่ติดตั้ง
ภายในรถยนต เพื่อที่จะควบคุมปริมาณ
สวนผสมน้าํ มันกับอากาศซึ่งจะถูกดูดเขาไป
ในกระบอกสูบ
เมื่อแปนเหยียบคันเรงถูกกดลง ลิน้ เรงจะ
เปดใหปริมาณอากาศและน้าํ มันผานเขาไป
เผาไหมมากขึ้น ซึ่งเปนผลใหเพิ่มกําลังงาน
ของเครื่องยนต
ISCV (ลิ้นควบคุมรอบเดินเบา) จะถูกจัด
เตรียมไวเพื่อที่จะกําหนดปริมาณอากาศ
ขณะรอบเดินเบาหรือขณะเครื่องเย็น

1 แปนเหยียบคันเรง
2 สายลิ้นเรง
3 ลิ้นเรง
4 ISCV
(1/1)

- 21 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

ขอมูลอางอิง:
ETCS-i (ระบบควบคุมลิ้นเรง
อิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ)

ETCS-i จะเปลี่ยนการทํางานของแปน
เหยียบคันเรงเปนสัญญาณทางไฟฟา
โดยใช ECU (Electronic Control Unit)
เปนตัวควบคุมการเปดปดของลิ้นเรงโดย
มอเตอร ซึ่งจะสอดคลองกับสภาพการขับขี่

ดังนั้น จะไมมีสายลิ้นเรงเชื่อมตอแปน
เหยียบคันเรงกับลิ้นเรง

1 มอเตอรควบคุมลิ้นเรง
2 ลิ้นเรง
3 ตัวตรวจจับตําแหนงแปนเหยียบคันเรง
4 ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง
(1/1)

ISCV (วาลวควบคุมรอบเดินเบา)
ISCV จะกําหนดปริมาณของอากาศที่ไหล
ผานทอบายพาสที่อยูบริเวณลิ้นเรง เพื่อ
ควบคุมรอบเดินเบาใหคงที่และอยูในระดับ
ที่เหมาะสม

1 ISCV
2 เรือนลิน้ เรง
3 ลิ้นเรง
4 ทอบายพาส

(1/1)

- 22 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

ขอมูลอางอิง:
ชนิดของวาลวควบคุมรอบเดินเบา
A ชนิดมอเตอรเปนจังหวะ (Step motor

type)
วาลวจะปรับปริมาณของอากาศที่ไหลผาน
ทอบายพาสไดโดยวาลวที่ติดอยูทปี่ ลาย
โรเตอร โดยการเคลื่อนทีถ่ อยหลังและ
ดันไปขางหนาของโรเตอร

B ชนิดวาลวโซลินอยดโรตารี่ (Rotary
solenoid valve type)
วาลวปรับปริมาณของอากาศโดยการ
เปลี่ยนแปลงการเปดของวาลว โดยใชการ
ปรับแรงดันไฟฟาจายใหกับโซลินอยด 2
ตัว (ขดลวด)

1 วาลว
2 โรเตอร
3 ขดลวด
4 แมเหล็ก
5 ไบเมทอล
(1/1)

ทอรวมไอดี
ทอรวมไอดีประกอบไปดวยทอหลายทอ ซึ่ง
จะใหอากาศไหลผานไปแตละสูบ

1 ทอรวมไอดี

(1/1)

- 23 -
พืน้ ฐานรถยนต-พื้นฐานรถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน

ขอมูลอางอิง:
ACIS (ระบบประจุอากาศเขา)
ACIS จะใชกลอง ECU (Electronic Control
Unit) ในการควบคุมการปด - เปดของ
วาลว ซึ่งจะมีผลทําใหความยาวของทอ
รวมไอดีเปลี่ยนไป
ในการเปลี่ยนแปลงความยาวของทอรวมไอ
ดี ระบบนี้จะทําใหเพิ่มประสิทธิภาพของ
ไอดีทุกยานความเร็วรอบของเครื่องยนต

A วาลวเปด
B วาลวปด

1 วาลวควบคุม
2 หองไอดี
(1/1)

ระบบน้ํามันเชื้อเพลิง ระบบน้ํามันเชื้อเพลิง
ระบบน้าํ มันเชื้อเพลิงทําหนาที่จายน้าํ มัน
เชื้อเพลิงใหกับเครื่องยนต นอกจากนี้ยัง
ทําหนาทีข่ จัดเศษผงหรือฝุน และควบคุม
ปริมาณของน้าํ มันทีใ่ ชดวย

1 ถังน้าํ มันเชื้อเพลิง
2 ปมน้าํ มันเชื้อเพลิง
3 กรองน้าํ มันเชื้อเพลิง
4 ตัวควบคุมแรงดันน้าํ มันเชื้อเพลิง
5 หัวฉีด
6 ฝาปดถังน้าํ มัน
(1/1)

- 24 -

You might also like