You are on page 1of 5

UNIT 3

กฎหมายในชีวต
ิ ประจาํ วัน

ประเภทของกฎหมาย
- การแบง่ แยกประเภทของกฎหมาย กฎหมายแบง่ แยกตามขอ ้ ความของกฎหมายไดเ้ ป็ น 3 ประเภท
กฎหมายมหาชน (Public Law)
- กฎหมายที่กาํ หมดความสั มพันธร์ ะหวา่ งรัฐหรื อหน่วยงานของรัฐกับราษฎร ในฐานะที่เป็ นฝ่ายปกครองราษฎร
- เชน่ กฎหมายรัฐธรรมนู ญ (ระหวา่ งประเทศ) กฎหมายอาญา (วา่ ดว้ ยที่ทาํ ผิดและคนทาํ ผิด)
กฎหมายของเอกชน (Private Law)
- กฎหมายที่กาํ หนดความสั มพันธร์ ะหวา่ งเอกชนตอ่ เอกชนดว้ ยกันในฐานะเทา่ เทียมกัน
- เชน ่ การทาํ สั ญญา เชา่ จาํ นอง จาํ นํา (ไมม
่ ีการทาํ ร้ายร่างกาย)
กฎหมายระหวา่ งประเทศ (International Law)
- กฎหมายที่กาํ หนดความสั มพันธร์ ะหวา่ งรัฐตอ่ รัฐดว้ ยกัน
- เชน ่ สนธิสัญญา bearing ขอ ้ ตกลงระหวา่ งรัฐกับรัฐ

การแบง่ อายุของเด็กและเยาวชนตามกฎหมาย
พ.ร.บ. ศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.2553 บัญญัติไวใ้ นมาตรา 4 วา่

“เด็ก” หมายความวา่ บุคคลอายุยังไมเ่ กิน 15 ปี บริ บูรณ์


“เยาวชน” หมายความวา่ บุคคลอายุเกิน 15 ปี บริ บูรณ์แตย่ ั งไมถ
่ ึง 18 ปี บริ บูรณ์

การบังคับใชก
้ ฎหมายกับเด็กและเยาวชน
จะมีการลดหยอ่ นโทษ หรื อ การตัดสินโทษในอัตราโทษที่ไมร่ ุ นแรง เด็กที่ตา่ ํ กวา่ 15 ปี ศาลถือวา่ ยังไมม
่ ีวฒ
ิ ภ
ิ าวะมาก
พอ

วิธีการที่ศาลตอ ้ งการพอ่ แมม ่ ารับผิดชอบ ถา้ ลูกติดยาโดยไปขโมยของ แมพ


่ อ่ ตอ
้ งไปดูแลหรื อรับผิดชอบ เด็กและ
เยาวชนไมต อ
่ ้ งเขา้ คุ ก ตอ้ งเข า
้ สถานพิ นิ จและคุ ม
้ ครองเด็

8/1/18
กฎหมายอาญา:
หมายถึง กฎหมายวา่ ดว้ ยกระทาํ ผิดที่กระทบกับสั งคม รัฐบาลออกกฎหมายอาญาเพื่อควบคุมความสงบของสั งคม

บทลงโทษ 5 แบบ:
ประหารชีวต ิ (จาํ คุกตลอดชีวต
ิ )
จาํ คุก : เรื อนจาํ
กักขัง : โรงพัก สถานพินิจ
ปรับ
ยึดทรัพยส์ น ิ

คดีอาญามี 2 ประเภท:
่ ดินคดีท่ีมันกระทบสั งคมการฆาตกรรม อาญาแผน
-ตอ่ แผน ่ ดินยอมความไมไ่ ด้
-ตอ่ บุคคลกระทาํ ผิดระหวา่ งบุคคล ทาํ ร้ายร่างกาย ลักทรัพย ์ ชิงทรัพยต ์ อ
้ งบุคคลตอ่ บุคคลถึงจะยอมความได้ ถา้ ไมม ่ ี
เจตนาก็จะไดล้ ดหยอ่ นโทษถา้ เราเห็นแลว้ เราชว่ ยไดแ ้ ตไ่ มช่ ว่ ยจะโดยกฎหมายตัดสินวา่ จาํ คุกไมเ่ กิน1เดือน ปรับไม่
้ ้
เกิน10,000บาท หรื อทังจาํ ทังปรับ

ลักษณะ:
ระบุชัดเจนวา่ การกระทาํ ใดที่เป็ นความผิดไมม
่ ีผลยอ้ นหลัง อา้ งความ “ไมร่ ู้ ” ไมไ่ ด้

ภาษี ไปไหน?
หมายถึง เงินรายไดท ้ ่ีรัฐเก็บมาจากประชาชนแลว้ เอาไปพัฒนาประเทศ เพื่อประโยชน์ของประชาชน
ภาษี กา้ วหน้า (ถา้ เงินเดือนเยอะ ภาษี กจ็ ะเยอะตาม)

2 ประเภท
-ทางตรงภาษี เงินไดบ ้ ุคคลธรรมดานิ ติบุคคล
้ มภาษี ทีจา่ ยให้รัฐผา่ นการซื้อสินคา้ และบริ การภาษี มูลคา่ เพิม
-ทางออ ่ ่ (VAT)

(รัชดาริ น,2018)

HOMEWORK
่ สร้างอุโมงคส์ ง่ นํา้ และอาคารประกอบพร้อมสว่ นประกอบอื่น
โครงการประกวดราคาจา้ งกอ
อุโมงคส์ ง่ นํา้ ชว่ งแมแ ่ ปริ มาณนํา้ ในอา่ งเก็บนํา้ เขื่อนแมก
่ ตง-แมง่ ั ด สั ญญาที่ 1 โครงการเพิม ่ วง
อุดมธารา จังหวัดเชียงใหม่ โดยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส ์ (e-bidding)

● รายละเอียด

เลขที่โครงการ : 58096037596

ราคากลาง : 4,094,308,145 บาท

วงเงินงบประมาณ : 4,095,000,000 บาท

ราคาที่ตกลงซื้อ/จา้ ง : 2,857,413,450 บาท

โครงการที่ใชเ้ งินจากงบอุดหนุ น โดยจัดสรรให้กับหน่วยงานอิสระตาม

หมายเหตุ : ์ ารมหาชน ซึ่งไมจ่ าํ เป็ นตอ


รัฐธรรมนู ญ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ องคก ้ งมี
ราคากลางและวงเงินงบประมาณ

ประเภทโครงการ : จา้ งกอ


่ สร้าง

วิธีการจัดซื้อจัดจา้ ง : ประกวดราคาอิเล็กทรอนิ กส ์ (e-bidding)


หน่วยจัดซื้อ : กรมชลประทาน

หน่วยงานยอ่ ย : กองพัสดุ กรมชลประทาน กรุ งเทพฯ

ที่อยู ่ : ิ จ.กรุ งเทพมหานคร


แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสต

วันที่ประกาศจัดซื้อจัดจา้ ง : 18 ก.ย. 58

วันที่ลงนามในสั ญญา : 16 มิ.ย. 59

ระหวา่ งดาํ เนิ นการ


สถานะโครงการ :
**รวมระยะเวลาบริ หารสั ญญาและการรับประกันความชาํ รุ ดบกพร่อง

15/1/18
กฎหมายคุม
้ ครองผูบ
้ ริ โภค

หลักการที่ปรากฎในรัฐธรรมนู ล
- ผูบ ้ ริ โภคยอ่ มไดร้ ั บการคุม ้ ครองตามขอ ้ มูลที่เป็ นจริ ง
- ผูบ ้ ริ โภคมีสท ิ ธิร้องเรี ยนถา้ เกิดความเสียหายที่บริ การ เพื่อให้ไดร้ ั บการเยียวยาแกไ้ ข
- ผูบ ้ ริ โภคมีสท ิ ธิท่ีจะรวมตัวกัน เพื่อพิทักษ์สท ่ ถา้ ราคาอาหารขึ้นสูงเกินในรอบ 3เดือน เราใน
ิ ธิของตัวเอง เชน
ฐานะผูบ ่
้ ริ โภคสามารถยืนหนังสือได้

้ โิ ภคตามกฎหมาย 5 ขอ
สิทธิของผูบ ้
- มีสท ิ ธิในการรับขอ ่ ้ งและเพียงพอตอ่ การซื้อสินคา้
้ มูลทีถูกตอ
- มีอสิระในการเลือกซื้อสินคา้ และบริ การ พอใจแลว้ คอ่ ยซื้อ
- มีสท ิ ธิท่ีจะไดร้ ั บความปลอดภัยจากการซื้อสินคา้ และบริ การตา่ งๆ
- มีสท ิ ธิท่ีจะรับความเป็ นธรรมในการซื้อสินคา้ และบริ การ ราคาตอ ้ งสมเหตุสมผล
- มีสท ่ ่
ิ ธิทีจะไดร้ ั บการพิจารณาและชดเชยความเสียหายทีเกิดขึ้น

้ ริ โภคมีหน้าที่หลักอยู ่ 2 อยา่ ง
ผูบ
- กอ ่ นซื้อเรามีหน้าที่พิจราณาสินคา้ ให้รอบคอบกอ่ นตัดสินใจ

- หลักการขายหรื อซือสินคา้ ตอ ้ งเก็บใบเสร็จเอาไว้

16/1/18
ขอ
้ ตกลงระหวา่ งประเทศ
● ้ ตกลงที่ทาํ กันระหวา่ งรัฐหรื อองคก
คือ ขอ ์ ระระหวา่ งประเทศกับรัฐ ภายใตห
้ ลักการกฎหมายระหวา่ งประเทศ
● ขอ้ ตกลงระหวา่ งประเทศมีหลายชื่อเรี ยก อาทิ สนธิสัญญา (Treaty) ขอ ้ ตกลง (Agreement) ปฏิญญาสากล
(Declaration) อยุสัญญา (Convention) และกฎบัตร (Charer) เป็ นตน ้
● กฎหมายระหวา่ งประเทศจะมีความเขม ้ งวดน้อยกวา่ กฎหมายในประเทศ
● สนธิสัญญา ตอ ้ งไดร้ั บการอนุ มั ติ
● การลงนามประเทศชาติไมส ่ ามารถลงเองได้ โดยตัวแทนของรัฐ
● สั นนิ บาตชาติ [องคก ์ รระหวา่ งประเทศ] (WWI) เกิดการกอ ้ ั กจากสงครามโลกครัง้ ที่ 1
่ ตังหล
● ผลของประเทสมี 2 ประเภท
○ ขอ ้ ตกลงระหวา่ งประเทศมีผลโดยตรงเฉพาะกับประเทศที่ลงนามเทา่ นัน ้
○ ผลของสั ญญาทางออ ้ มจะมีผลโดยที่มีคนของ UN เอาไปให้เซน ็ ตแ์ ลว้ มีผลตอ่ เราดว้ ย ถึงแมจ้ ะไมไ่ ด้
เป็ นคนเซน ็ ตโ์ ดยตรง

ระหวา่ งประเทศไทย - ประเทศอิสราเอล


การหารื ออยา่ งเป็ นทางการระหวา่ งกระทรวงการตา่ งประเทศของไทยเเละอิสราเอล
กรุ งเยรู ซาเลม ๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๕

สะทอ
้ นให้เห็นถึงความสั มพันธอ์ ั นเเน่นเเฟ้นเเละอบอุน
่ ระหวา่ งสองประเทศ ในระหวา่ งการประชุมไดม
้ ี
การเเจง้ ให้ทราบถึงขอ ้
้ มูลปัจจุบันใีนระดับทวิภาคี ภูมิภาค เเละพหุภาคี รวมทังการสง่ -
เสริ มความสั มพันธร์ ะหวา่ งสองประเทศในเรื่ องตา่ ง ๆ เชน
่ เเรงงาน การคา้ การเกษตร
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเเละการปฏิบัติการ การเเลกเปลี่ยนวัฒนธรรม เเละความสั ม-
พันธข์ องประชาชนของทัง่ ้ สองประเทศ
http://embassies.gov.il/bangkok/relations/Pages/Bilateral-Treaties-and-Agreements.aspx

หลักสิทธิมนุ ษยชน (Human Right)


● ้ ้ นฐาน ที่มนุ ษยท
คือ หลักการขันพื ์ ุกคนมีอยา่ งเทา่ เทียมกัน (ทุกคนมีเทา่ กัน) เชน
่ ชีวต
ิ แสดงความคิดเห็น
● ปฎิบัติตอ่ มนุ ษยอ์ ยา่ งเทา่ เทียมกัน
● ่ เป็ นหลักจาก สงครามโลกครัง้ ที่ 2 สั นนิ บาตชาติ พัฒนาเป็ น
จากเดิมมีสันนิ บาตชาติ มันไม่ work เลยเปลียน

UN ตังUNเลยเป็ นที่มาของกฎหมายระดับโลก

22 มกราคม 2561
สิทธิมนุ ษยชน (Human Right)
้ ้ีภัย หมายถึงคนที่อยูใ่ นประเทศตัวเองไมไ่ ด้ ตอ
ผูล ้ งอาศั ยความคุม ้ ครองจากประเทศอื่น
ในประเทศไทยมีคา่ ยผูล ้ ้ีภัย 9 แหง่ มีเงินสนับสนุ นจาก UNHCR
แตป ้ งนามในอนุ สัญญาวา่ ดว้ ยสถานภาพผูล
่ ระเทศไทยไมไ่ ดล ้ ้ีภัย
สหรัฐก็ไมไ่ ดล้ งนามวา่ ดว้ ยอุนสั ญญาวา่ ดว้ ยสิทธิเด็ก
กฎหมายมีการปรากฎครัง้ แรกในรัฐธรรมนู ญ 2540 ตังคณะกรรมการสิ ้ ทธิมนุ ษยชนแหง่ ชาติ 2542 เป็ น
หน่วยงานภายใตร้ ั ฐธรรมนู ญ เป็ นองคก ่
์ รอิสระทีไมภ ่ ายใตน ้ ายก

กฎหมายสิทธิมนุ ษยชน วันที่10ธันวาคม 2491


มีการลงนามปฏิญญาสากลวา่ ดว้ ยสิทธิมนุ ษยชน

- สิทธิมนุ ษยชน หมายถึง ศั กดิศ ์ รี ความเป็ นมนุ ษย ์ สิทธิ เสรี ภาพและความเสมอภาคของบุคคลที่ไดร้ ั บการ
รับรองหรื อคุม้ ครองตามกฎหมาย (จากพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุ ษยแหง่ ชาติ พ.ศ.
2542)
- สิทธิมนุ ษยชนเกี่ยวขอ ้ เ่ กิด การไดร้ ั บความรักดูแลรักษาเมื่อเจ็บป่วย การให้การศก
้ งกับเราตังแต ึ ษา การ
ไมถ ้ งกับสิทธิพ้ ืนฐานของการเป็ นมนุ ษยท
่ ูกทอดทิ้ง ลว้ นเกี่ยวขอ ้
้ น
์ ั งสิ
- ่
หลัการสาํ คัญทีสุดของสิทธิมนุ ษยชน คือมนุ ษยท ์ ุกคนมีศักดิศ ์ รี ความเป็ นมนุ ษย ์ นอกจากนี้ ยังมีหลักเรื่ อง
ความเสมอภาค สิทธิ เสรี ภาพ และการไมเ่ ลือกปฏิบัติอีกดว้ ย
- องคก ์ ารสหประชาชาติมีมติรับรองปฏิญญาสากลวา่ ดว้ ยสิทธิมนุ ษยชน หรื อ universal
Declaration of Human Right: UDHR เพื่อใชเ้ ป็ นมาตรฐานขันต ้ า่ ํ ให้สมาชิกปฏิบัติตาม

(Siriyakorn,2018)

23/1/18
UDHR
- ปฏิญญาสากลวา่ ดว้ ยสิทธิมนุ ษยชนมีอยูด ่ ว้ ยกัน 30 ขอ ้ แบง่ เนื้ อหาออกเป็ น 4 หมวดหมูด ่ ั งนี้
- หลักการสาํ คัญของสิทธิมนุ ษยชน (ขอ ้ 1-2)
- มนุ ษยท ้
์ ั งหลายเกิ ดมามีอิสระเสรี เทา่ เทียมกันทังศั ้ กดิศ
์ รี และสิทธิ (ขอ ้ 1)
- บุคคลชอบที่จะมีสท ิ ธิและเสรี ภาพตามที่ระบุไวใ้ นปฏิญญานี้ โดยไมม ่ ีการจาํ แนก
ความแตกตา่ งในเรื่ องใดๆ (ขอ ้ 2)
- สิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (ขอ ้ 3-21)
- บุคคลใดจะถูกบังคับให้เป็ นทาส หรื ออยู ่

You might also like