You are on page 1of 30

ครูอาชีวะ

แห่งศตวรรษที่ 21
V E R S I O N 2

การศึกษาในศตวรรษที่ 21
(21st CENTURY EDUCATION)

การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
(21st CENTURY LEARNING)

สะเต็มศึกษา
(STEM EDUCATION)

$
ครูอาชีวะแห่งศตวรรษที่ 21
V E R S I O N 2

สงวนลิขสิทธิ์ : พฤษภาคม 2560


สงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมาย ห้ามลอกเลียน
ไม่ว่าจะเป็นส่วนหนึ่งส่วนใดของเอกสารนี้ $
นอกจากจะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร

จัดพิมพ์และเผยแพร่เพื่อประโยชน์ทางการศึกษา

ผู้ออกแบบ : ชลัช กลิ่นแก่นจันทร์

บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จำ�กัด


เลขที่ 9/99 อาคารแม็ค ซอยลาดพร้าว 38 ถนนลาดพร้าว
แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900
โทร 0-2938-2022-7 โทรสาร 0-2938-2028
www.MACeducation.com

พิมพ์ที่ : บริษัท กรีนแอปเปิ้ล พริ้นติ้ง จำ�กัด

2
THE
21
st
CENTURY
TEACHER

การปฏิรูปการศึกษา
เพื่อพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
และการก้าวสู่การศึกษา 4.0 (Education 4.0)

ประเทศไทยมีการปฏิรูปการศึกษาครั้งใหญ่ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 ประเทศไทยเริ่มเมื่อปี พ.ศ. 2551 โดย หน่วยงานภาครัฐได้ก�ำหนด


และเรามีกฎหมายการศึกษาเป็นครั้งแรก คือ พระราชบัญญัติ ให้มีการปฏิรูปการศึกษาอย่างต่อเนื่อง เรียกว่า การปฏิรูปการศึกษา
การศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542. ต่อมาปี พ.ศ. 2544 ซึ่งเป็น ในทศวรรษที่สอง (ปี พ.ศ. 2552-2561). การปฏิรูปครั้งนี้มีเป้าหมาย
ปีที่ก้าวสู่ศตวรรษที่ 21 (ค.ศ. 2001) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ส�ำคัญประการหนึ่งคือ การเพิ่มสัดส่วนของผู้ที่จะศึกษาต่อสายอาชีพ
เราก็มีหลักสูตรใหม่ คือ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช เมื่อส�ำเร็จการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาให้มากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะ
2544 ทีม่ าแทนทุกหลักสูตรทีม่ อี ยูต่ อนนัน้ และถัดมาในปี พ.ศ. 2556- อย่างยิง่ ในหลักสูตรระดับอาชีวศึกษา เพือ่ ให้สอดคล้องกับทิศทางการ
2557 ก็มีการพัฒนาหลักสูตรใหม่ในระดับอาชีวศึกษา คือ หลักสูตร ปฏิรูปการศึกษาในระดับโลก ที่มุ่งเน้นปฏิรูปการเรียนรู้อีกครั้งโดย
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 และหลักสูตรประกาศนียบัตร เน้นสอนให้นอ้ ยลง แต่ให้ผเู้ รียนเรียนรูม้ ากขึน้ (Teach Less, Learn More).
วิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2557 ที่ได้บรรจุทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จึงเน้นการจัดการเรียนรูค้ วบคูก่ บั การท�ำงาน (Work-based Learning)
ไว้อย่างครบถ้วน. และการเรียนรู้จากการท�ำโครงงาน (Project-based Learning)
ผลจากการปฏิรูปการศึกษาในระดับโลก โดยเฉพาะทางซีกโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในหลักสูตรระดับอาชีวศึกษา. ทั้งนี้การออกแบบ
ตะวันตกซึ่งมีประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นแกนหลัก ค�ำว่า “ทักษะแห่ง การเรียนรูแ้ ละการวัดและประเมินผลในชัน้ เรียนยังคงมุง่ เน้นการเรียนรู้
ศตวรรษที่ 21” หรือ “21st Century Skills” ได้ก่อให้เกิดผลกระทบ ที่เป็นสภาพจริง (Authentic Learning) และการประเมินผลที่เป็น
อย่างยิง่ ต่อการจัดการศึกษาทัว่ โลก. สิง่ ทีป่ รากฏอย่างเป็นรูปธรรมคือ สภาพจริง (Authentic Assessment) และให้ความส�ำคัญกับการสอบ
การก�ำหนดให้เป็นระเบียบวาระแห่งชาติของหลายประเทศในการ วัดมาตรฐานคุณภาพการศึกษาในทุกระดับ โดยก�ำหนดให้น�ำผลการ
ปฏิรูปการศึกษา เช่น “การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21” (21st Century สอบมาใช้ในการเลื่อนวิทยฐานะของครูผู้สอน, การประกันคุณภาพ
Learning), “การศึกษาในศตวรรษที่ 21” (21st Century Education), การศึกษา ได้แก่ การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน และ
“ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21” (21st Century Learnner) ฯลฯ ส�ำหรับ การประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอก.
3
THE
21
st
CENTURY
TEACHER

และในปี พ.ศ. 2557 ประเทศไทยมีการเปลีย่ นแปลงทางการเมือง พัฒนาแล้ว มีรายได้ระดับสูง ซึ่งสิ่งหนึ่งที่จะเป็นแรงผลักที่ส�ำคัญคือ


อีกครั้งหนึ่ง เมื่อคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ได้เข้ามา การจัดการศึกษาที่จะต้องเป็น การศึกษา 4.0 (Education 4.0) ด้วย
ควบคุมอ�ำนาจการปกครองประเทศ และต่อมาได้มีการจัดตั้งรัฐบาล คือต้องจัดการศึกษาทีส่ ร้างคนให้มคี วามสามารถในการคิดสร้างสรรค์
ใหม่ โดยรัฐบาลใหม่ทมี่ พี ลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรี เพือ่ พัฒนานวัตกรรมการเรียนรูจ้ ากแหล่งเรียนรูต้ า่ งๆ และน�ำความรู้
ได้ก�ำหนดนโยบายให้มกี ารปฏิรปู การศึกษาอีกครัง้ หนึง่ ซึ่งการปฏิรูป มาสังเคราะห์เพื่อน�ำไปสู่การประดิษฐ์สิ่งใหม่ๆ ที่มีประโยชน์และ
การศึกษาเริม่ เป็นรูปธรรมและชัดเจนมากขึน้ ในปี พ.ศ. 2559 โดยล่าสุด มีมูลค่าทางเศรษฐกิจ ลดการน�ำเข้าเทคโนโลยีและนวัตกรรมจาก
กระทรวงศึกษาธิการก็ได้ประกาศนโยบายที่จะปฏิรูปการศึกษา โดย ต่างประเทศ.
มีเป้าหมายเพือ่ เพิม่ โอกาสการเข้าถึงการศึกษา โดยเฉพาะต้องการให้ ดังนัน้ เพือ่ ให้ผสู้ อนได้มแี นวทางในการปฏิรปู การเรียนรูท้ ชี่ ดั เจน
ผู้เรียนมีทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (3R และ 8C) ทัง้ นีใ้ นปีการศึกษา สอดคล้องกับนโยบายและทิศทางการปฏิรปู การศึกษาดังกล่าวข้างต้น
2558-2559 มีโครงการส�ำคัญของกระทรวงศึกษาธิการ เช่น โครงการ บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จ�ำกัด จึงได้จัดท�ำเอกสาร “ครูอาชีวะแห่ง
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้, โครงการบูรณาการการสอนและการเรียนรู้ ศตวรรษที่ 21” และการก้าวสู่การศึกษา 4.0 เพื่อใช้เป็นแนวทางใน
โดยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ (STEM การจัดการเรียนรู้ในปัจจุบัน
Education), โครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ, โครงการโรงเรียน
ประชารัฐ ทีร่ ว่ มกันระหว่างรัฐ เอกชน และประชาสังคม 69 หน่วยงาน.
นอกจากนีร้ ฐั บาลยังมีนโยบายส�ำคัญในการขับเคลือ่ นประเทศไป ด้วยความปรารถนาดี
สู่ยุคประเทศไทย 4.0 (Thailand 4.0) ที่ประเทศไทยจะเป็นประเทศที่

4
THE
21
st
CENTURY
TEACHER

1 การศึกษาในศตวรรษที่ 21
(21st CENTURY EDUCATION)
การศึกษาในศตวรรษที่ 21 ให้ความส�ำคัญ 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 ผลลัพธ์ต่อผู้เรียน (Student Outcomes) และ ส่วนที่ 2 ระบบสนับสนุน
การจัดการศึกษา (Support Systems) หรือการสนับสนุนจากกระทรวงศึกษาธิการ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม

ส่วนที่ 1 STUDENT OUTCOMES


ผลลัพธ์ต่อผู้เรียน (Student Outcomes) ส�ำหรับการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่
1. สาระวิชาหลัก-ความสามารถพื้นฐาน 3 รู้ (Core Subjects-3Rs) สาระวิชาหลักเป็นสิ่งที่เปรียบดังสิ่งจ�ำเป็น
ที่ผู้เรียนต้องได้รับการเรียนรู้และพัฒนา เพื่อการน�ำไปใช้ในการด�ำเนินชีวิต และเป็นพื้นฐานส�ำคัญของการศึกษาต่อและการท�ำงานในอนาคต
ประกอบด้วย
ก. การศึกษาในศตวรรษที่ 21 ผู้เรียนควรได้เรียนสาระวิชาหลัก (Core Subjects) 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้
1. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
2. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
3. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
4. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
5. กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
6. กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
7. กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
8. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
5
THE
21
st
CENTURY
TEACHER

ข. ความสามารถพื้นฐาน 3 รู้ การจัดการเรียนรู้ตาม 8 กลุ่ม รู้จักป้องกันตนเองให้ปลอดภัย


สาระวิชาหลักข้างต้น จะต้องให้ผเู้ รียนฝึกฝนจนเกิดผลลัพธ์ทเี่ ป็นความ 4. ความเข้าใจและปฏิบัติเป็นในด้านสิ่งแวดล้อม (Environ-
สามารถพื้นฐาน 3 ประการ เรียกว่า ความสามารถ 3Rs หรือ 3 รู้ ซึ่ง mental Literacy) หมายถึง การมีจิตส�ำนึกที่จะให้ความร่วมมือและ
เมื่อย้อนกลับไปเมื่อ 200 ปีที่แล้ว Sir William Curtis ได้เสนอไว้เช่น ปฏิบตั ิตนในการดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม โดยท�ำให้อยู่
เดียวกันว่าผู้เรียนที่เรียนรู้ตามหลักสูตรจะต้องเกิดผลการเรียนรู้ 3Rs ในสภาพทีด่ ี เหมาะสมต่อการด�ำรงชีวิตของทุกคน
เหมือนกัน ได้แก่ 5. ความเข้าใจและปฏิบตั ติ นเป็นพลเมืองทีด่ ี (Civic Literacy)
• Reading หมายถึง อ่านหนังสือออก หมายถึง การรู้จักท�ำหน้าที่ และรับผิดชอบในฐานะสมาชิกหนึ่งของ
• Writing หมายถึง เขียนหนังสือได้ สังคมที่จะช่วยกันท�ำให้บ้านเมืองสงบสุขและเข้มแข็ง
• Arithmetic หมายถึง คิดเลขเป็น 2. ทักษะของศตวรรษที่ 21 ผลการเรียนรูท้ จี่ ะเกิดขึน้ กับ
แต่ 3Rs ส�ำหรับศตวรรษที่ 21 นีค้ วามหมายเปลีย่ นไปตามยุคสมัย ผูเ้ รียนส�ำหรับศตวรรษที่ 21 ด้านทักษะ ประกอบด้วยกลุม่ ทักษะต่างๆ
ซึ่งต่อไปนี้จะเขียนว่า 3 รู้ ได้แก่ 3 กลุม่ ได้แก่ 1) ทักษะด้านการเรียนรูแ้ ละนวัตกรรม (Learning and
รู้ที่หนึ่ง คือ รู้ภาษา (Literacy) ซึ่งมิใช่แค่อ่านออกเขียน Innovation Skills) 2) ทักษะด้านข้อมูลสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี
ได้ (Reading & Writing) แต่ต้องอ่านเข้าใจ เขียนรู้เรื่อง คือ เข้าใจ (Information, Media and Technology Skills) และ 3) ทักษะด้านชีวติ
ความหมายของเรือ่ งราวต่างๆ และสามารถสือ่ สารไปยังผูอ้ นื่ ได้อย่าง และอาชีพ (Life and Career Skills) ซึง่ รายละเอียดของแต่ละกลุม่ ทักษะ
ถูกต้องเหมาะสม แบบรู้ศัพท์รู้ภาษา ขออธิบายเพิ่มเติมดังนี้
รูท้ สี่ อง คือ รูค้ ณิต (Numeracy) ซึง่ มิใช่แค่คดิ เลขเป็น 1. ทักษะด้านการเรียนรูแ้ ละนวัตกรรม (Learning and
(Arithmetic) แต่ต้องสามารถตีความหมายและเข้าใจความคิดต่างๆ Innovation Skills) ประกอบด้วยความสามารถในการปฏิบตั ิ 4 ทักษะ
ที่สื่อสารออกมาในรูปของคณิตศาสตร์ เช่น เลขคณิต พีชคณิต หรือ 4Cs หรืออาจเรียกว่า 4 การ ได้แก่
เรขาคณิต ตรีโกณมิติ ฯลฯ 1) การคิดแบบมีวิจารณญาณ (Critical Thinking)
รู้ที่สาม คือ รู้ ICT (Information and Communications พฤติกรรมบ่งชี้
Technology Literacy) คือเข้าใจ และสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ • รู้จักใช้เหตุผลในการท�ำความเข้าใจเรื่องราวต่างๆ
และการสือ่ สาร เพือ่ หาความรู้ สร้างความรู้ และน�ำเสนอความรู้ อัน • ตัดสินใจโดยใช้ทางเลือกที่หลากหลาย
เป็นทักษะจ�ำเป็นอย่างยิ่งในโลกปัจจุบัน • มองเห็นความเชื่อมโยงของสิ่งต่างๆ
ค. คุณลักษณะพืน้ ฐานของศตวรรษที่ 21 นอกจากนีย้ งั มีคณุ ลักษณะ • วิเคราะห์ สังเคราะห์ขอ้ มูลเพือ่ น�ำไปใช้ในการแก้ปญั หา
หรืออาจจะเรียกว่าเป็นแนวคิดหลักในศตวรรษที่ 21 นี้ (21st Century หรือตอบค�ำถาม
Themes) ที่ควรได้รับการปลูกฝัง และสร้างให้เกิดในตัวผู้เรียน ซึ่งจะ
มีส่วนส�ำคัญในการสนับสนุนให้ประเทศไทยก้าวสู่ประเทศไทย 4.0
(Thailand 4.0) ได้ โดยเฉพาะการมีความรู้ ความเข้าใจและปฏิบัติ
เป็นในด้านการเงิน เศรษฐกิจ ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ จน
สามารถน�ำมาประยุกต์ใช้ในการด�ำรงชีวติ ได้ คุณลักษณะพืน้ ฐานของ
ศตวรรษที่ 21 ได้แก่
1. ความตระหนักเกี่ยวกับโลก (Global Awareness)
หมายถึง การคิดเชื่อมโยงตนเองกับสิ่งต่างๆ รอบตัวบนโลกใบนี้ว่า
มีความสัมพันธ์กนั มิได้แยกจากกัน การกระท�ำใดๆ ก็ตามไม่วา่ เรือ่ งเล็ก
เรื่องน้อย หรือเรื่องใหญ่ๆ ต่างก็เกิดผลกระทบต่อความเป็นไปในโลก 2) การสื่อสาร (Communication)
2. ความเข้าใจและปฏิบตั เิ ป็นในด้านการเงิน เศรษฐกิจ ธุรกิจ พฤติกรรมบ่งชี้
และการเป็นผู้ประกอบการ (Financial, Economic, Business and • พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นได้อย่างชัดเจน
Entrepreneurial Literacy) จนสามารถน�ำมาประยุกต์ใช้ในการด�ำรงชีวติ ได้ • ใช้ ICT และจิตวิทยาเพื่อให้การสื่อสารบรรลุเป้าหมาย
3. ความเข้าใจและสามารถด�ำเนินชีวิตให้เป็นผู้มีสุขภาพดี 3) การท�ำงานร่วมกัน (Collaboration)
(Health Literacy) หมายถึง การด�ำรงตนให้เป็นผู้มีสุขภาพที่ดีด้วย พฤติกรรมบ่งชี้
ตนเอง เช่น การรูจ้ กั รับประทานอาหารทีม่ ปี ระโยชน์ รูจ้ กั ออกก�ำลังกาย • ท�ำงานร่วมกับผู้อื่นได้
6
THE
21
st
CENTURY
TEACHER

• ปรับตัวได้ดแี ละตัง้ ใจทีจ่ ะให้ความร่วมมือในการท�ำงาน 3. ทักษะด้านชีวติ และการงานอาชีพ (Life and Career Skills)
เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ประกอบด้วยความสามารถในการปฏิบัติดังนี้
4) การสร้างสรรค์ (Creativity) 1) ความยืดหยุน่ และการปรับตัว (Flexibility and Adaptability)
พฤติกรรมบ่งชี้ พฤติกรรมบ่งชี้
• ใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการท�ำงาน • ปรับตัวเข้ากับบทบาทและความรับผิดชอบทีแ่ ตกต่างกันได้
• พัฒนาแนวคิดใหม่อยู่เสมอๆ • ท�ำงานภายใต้สถานการณ์ที่ไม่แน่นอน ตลอดจนการ
• เปิดรับมุมมองที่แตกต่าง ปรับความเร่งด่วนในการท�ำงานได้
ใน 4 ทักษะนี้ ผู้สอนต้องเน้นการสร้างสรรค์เป็นพิเศษ 2) การริเริ่มและการก�ำกับตนเอง (Initiative and Self-
จึงจะเรียกว่าท่านก�ำลังจัดการศึกษา 4.0 เพราะทักษะนี้จะช่วยให้ direction)
ผู้เรียนได้คิดนอกกรอบจนเกิดสิ่งใหม่ๆ อันจะน�ำไปสู่การเกิด พฤติกรรมบ่งชี้
นวัตกรรม • ก�ำหนดเป้าหมายในการเรียนรู้ของตนเองได้
2. ทักษะด้านข้อมูลสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี • พัฒนาตนเองเพื่อยกระดับความรู้ความช�ำนาญ
(Information, Media and Technology Skills) ประกอบด้วย เพือ่ ขยายขอบเขตการเรียนรู้ และโอกาสทีจ่ ะท�ำให้เกิดความเชีย่ วชาญ
ความสามารถในการปฏิบตั ดิ งั นี้ • แสดงให้เห็นถึงความตั้งใจที่จะมีกระบวนการเรียนรู้
1) ความเข้าใจและใช้เป็นในด้านข้อมูลข่าวสาร (Information ต่อเนื่องตลอดชีวิต
Literacy) 3) ทักษะด้านสังคมและทักษะข้ามวัฒนธรรม (Social and
พฤติกรรมบ่งชี้ Cross-cultural Skills)
• แสวงหาและเข้าถึงสารสนเทศอย่างเหมาะสม สามารถ พฤติกรรมบ่งชี้
ประเมินสารสนเทศ และน�ำไปใช้ได้อย่างถูกต้องและสร้างสรรค์ • ท�ำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม มีประสิทธิภาพ
• มีจริยธรรมในการใช้และการเข้าถึงสารสนเทศ • ยกระดับความรู้ความคิดของกลุ่มได้อย่างเหมาะสม
• สามารถรับสารทีแ่ ตกต่างกันออกไปตามความแตกต่าง • อยู่ร่วมกับวัฒนธรรมที่แตกต่างได้ และสามารถ
ของแต่ละบุคคล ค่านิยม และความเชื่อ ใช้ความแตกต่างมาช่วยสร้างนวัตกรรมและคุณภาพของงาน
4) การมีผลงานและความรับผิดชอบ (Productivity and
2) ความเข้ า ใจและใช้ เ ป็ น ในด้ า นสื อ
่ (Media Literacy) Accountability)
พฤติกรรมบ่งชี้ พฤติกรรมบ่งชี้
• ผลิตหรือเลือกสื่อได้อย่างเหมาะสม สอดคล้องกับ • วางแผนงานอย่างมีคณุ ภาพสูงโดยมีเป้าหมายเพือ่ สร้าง
วั
ตถุประสงค์ เป้าหมาย คุณลักษณะ และหลักการใช้งาน คุณภาพของงานภายในเวลาที่เหมาะสม
3) ความเข้าใจและใช้เป็นในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ • มีความรับผิดชอบทีด่ ใี นการท�ำงาน เช่น การตรงต่อเวลา
การสือ่ สาร (Information and Communications Technology การท�ำงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จตามก�ำหนด ฯลฯ
Literacy) 5) ความเป็นผู้น�ำและหน้าที่รับผิดชอบ (Leadership and
พฤติกรรมบ่งชี้ Responsibility)
• ใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เครือ่ งมือสือ่ สาร หรือระบบเครือข่าย พฤติกรรมบ่งชี้
อย่างเหมาะสม • มีมนุษยสัมพันธ์ สามารถโน้มน้าวและชีน้ �ำให้งานบรรลุ
• ใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือในการค้นคว้า จัดเตรียม เป้ าหมาย
• กระตุน้ ความสามารถของผูร้ ว่ มงานให้ท�ำงานตามเป้าหมาย
จัดการ ประเมิน และสื่อสาร
• มีจริยธรรมในการใช้และการเข้าถึงสารสนเทศ • แสดงออกถึงความรับผิดชอบที่มีต่อส่วนรวมมากกว่า
ส่วนตน
ส�ำหรับทักษะกลุม่ นี้ หากผูส้ อนสอนแค่ให้ผเู้ รียนหาความรูไ้ ด้ดว้ ย ทักษะกลุ่มนี้จะเกิดขึ้นได้ ผู้สอนต้องวางแผนออกแบบกิจกรรม
ตนเอง หรือค้นพบความรูด้ ว้ ยตนเอง ก็ถอื ว่ายังอยูใ่ นยุคการศึกษา 3.0 การเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้มีโอกาส ได้อ่าน พูด ฟัง คิด ถกเถียง ลงมือ
อยูแ่ ต่ถา้ ผูส้ อนให้ผเู้ รียนสังเคราะห์ความรูห้ รือข้อมูลทีห่ าได้แล้วน�ำไป ปฏิบัติจริงกับเพื่อน กับผู้สอน ในสถานการณ์จริงอยู่บ่อยๆ เท่านั้นจึง
ประยุกต์ใช้ จึงจะถือว่าผูส้ อนก�ำลังน�ำพาผูเ้ รียนได้กา้ วสูก่ ารศึกษา 4.0 แล้ว จะเกิดอย่างยั่งยืน
7
THE
21
st
CENTURY
TEACHER

ส่วนที่ 2 SUPPORT SYSTEMS

ระบบสนับสนุนการจัดการศึกษา (Support Systems) หรือการ สิง่ นีเ้ ป็นจุดเน้นส�ำคัญของการประเมินผล คือการน�ำผลการประเมิน


สนับสนุนจากกระทรวงศึกษาธิการ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ไปให้ข้อชี้แนะเพื่อแก้ไข (Feedback) อย่างทันการณ์ ซึ่งจะส่งผลดี
การทีผ่ เู้ รียนจะบรรลุผลการเรียนรูด้ งั กล่าวมาทัง้ หมดจะต้องอาศัยการ อย่างยิ่งและช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้บรรลุตามมาตรฐานที่ก�ำหนด
สนับสนุนจากกระทรวงศึกษาธิการ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ทุกคน
4 ระบบ ซึ่งเปรียบดังวงแหวน 4 วง ที่รองรับการจัดการศึกษาใน B. ด้านหลักสูตรและวิธีการสอน (Curriculum
ศตวรรษที่ 21 ระบบสนับสนุนประกอบด้วย and Instruction)
A. ด้านมาตรฐานและการประเมินผล (Standards หลักสูตรและวิธกี ารสอนในศตวรรษที่ 21 แตกต่างจากยุคศตวรรษ
and Assessments) ที่ 20 โดยสิ้นเชิง ศตวรรษที่ 21 มวลประสบการณ์ที่หลักสูตรก�ำหนด
1. มาตรฐานการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 มุ่งเน้นในสิ่งต่อไปนี้ ควรจัดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ จะมิใช่การจดจ�ำเนื้อหาวิชาอีกแล้ว แต่จะ
1) ตัวชี้วัดด้านความรู้ เป็นการเรียนรู้และลงมือปฏิบัติ เพื่อให้เกิดความรู้และต่อยอดความรู้
2) ตัวชี้วัดด้านทักษะ นั้นได้ด้วยตนเอง
3) ตัวชี้วัดด้านคุณลักษณะ 1. หลักสูตร เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญและมีความยืดหยุ่น เช่น
โดยเน้นความรู้ ทักษะ และความเชี่ยวชาญ การสร้างความรู้ หลักสูตรสถานศึกษา และหลักสูตรท้องถิ่น ฯลฯ
ในเชิงสหวิทยาการระหว่างสาระวิชาหลัก การสร้างความรู้ที่ลึกซึ้ง 2. วิธกี ารสอน เน้นให้ผเู้ รียนมีสว่ นร่วมและได้ลงมือปฏิบตั ิ และ
และการยกระดับความสามารถของผู้เรียนด้วยการใช้ข้อมูลจริง เน้นพัฒนาคุณลักษณะและทักษะทีเ่ กิดกับผูเ้ รียน ซึง่ การจัดการเรียนรู้
การใช้เครือ่ งมือทีท่ นั สมัยและการน�ำไปประยุกต์ใช้ ซึง่ ขณะนีก้ ระทรวง ในศตวรรษที่ 21 มีลักษณะที่ส�ำคัญดังนี้
ศึกษาธิการก�ำลังด�ำเนินการทบทวนและปรับปรุงให้เหมาะสม 1) การเรียนรู้แบบท�ำโครงงาน (Project-based Learning)
โดยเฉพาะด้านความรู้ ได้มีการก�ำหนดมาแล้วว่า สิ่งไหนต้องรู้ 2) การเรียนรู้แบบตามความประสงค์ (On-demand
สิง่ ไหนควรรู้ ซึง่ ผูส้ อนควรจะไปตรวจสอบอีกครัง้ กับผูเ้ รียนของตนเอง Learning)
เพราะบางเรื่องที่กระทรวงบอกควรรู้ ส�ำหรับผู้เรียนของเราอาจจะ 3) การเรียนรู้แบบรายบุคคล (Personalized Learning)
จ�ำเป็นต้องรู้ก็ได้ 4) การเรียนรูแ้ บบท�ำงานร่วมกัน (Collaborative Learning)
5) การเรียนรู้แบบสู่ชุมชนโลก (Global Community
2. การประเมินผล ในศตวรรษที่ 21 มุ่งเน้นการใช้เทคโนโลยี Learning)
ในการวัดผล การสร้างความสมดุลในการประเมินผล ดังนี้ 6) การเรียนรู้แบบใช้เว็บไซต์ (Web-based Learning)
1) เน้นการประเมินผลในด้านทักษะและคุณลักษณะ (Performance 7) การประเมินเป็นระยะ (Formative Assessment)
Assessment) ซึ่งผู้เรียนได้แสดงออกมาให้เห็นเป็นที่ประจักษ์ 8) การเรียนรู้เพื่อชีวิต (Learning for Life)
2) ประเมินผลตามสภาพจริง (Authentic Assessment) การเรียนรู้ข้างต้น ผู้สอนอาจจะน�ำมาผสมผสานใช้ร่วมกันได้ แต่
3) ประเมินการเรียนรู้ (Assessment for Learning) เพื่อน�ำ ที่จ�ำเป็นมากส�ำหรับการน�ำไปสู่การศึกษา 4.0 คือการเรียนรู้แบบ
ผลการประเมินมาพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน โครงงานบูรณาการหลายสาระวิชาหลัก เพราะจะน�ำไปสู่การคิดเชิง
4) เน้นการประเมินผลเป็นระยะๆ (Formative Assessment) สังเคราะห์ และการคิดสร้างสรรค์

8
THE
21
st
CENTURY
TEACHER

C. ด้ า นการพั ฒ นาวิ ช าชี พ (Professional 2. การสร้างครูตน้ แบบ ส�ำหรับเป็นตัวอย่างในการแลกเปลีย่ น


Development) เรียนรู้ เพื่อการพัฒนาวิชาชีพครู
ในศตวรรษที่ 21 การพัฒนาวิชาชีพให้แก่ครูและผู้บริหารต้อง 3. การสร้างชุมชนการเรียนรู้ ระหว่างครูที่ปฏิบัติในวิชาชีพ
ด�ำเนินการอย่างเป็นระบบ ดังนี้ เดียวกัน เช่น PLC (Professional Learning Community) DLIT
1. การพัฒนาครู ให้มที กั ษะ ความรู้ ความสามารถเชิงบูรณาการ (Distance Learning Information Technology) ฯลฯ
สามารถท�ำแผนเชิงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติในชั้นเรียน และจัดการ D. ด้านสภาพแวดล้อมในการเรียนรู้ (Learning
เรียนการสอนโดยวิธีการสอนที่หลากหลาย ดังนี้ Environments)
1) ทักษะและคุณลักษณะของศตวรรษที่ 21 มีความรู้ความ สภาพแวดล้อมในการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 ควรจัดสภาพแวดล้อม
สามารถเชิงลึกในการแก้ปญั หา การมีทกั ษะการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ ทางกายภาพให้เหมาะสม โดยได้รบั การสนับสนุนจากบุคลากรทุกฝ่าย
2) เทคนิคการสอนตามธรรมชาติของแต่ละกลุ่มสาระการ สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ โดยเชือ่ มโยงความรู้ หรือแลกเปลีย่ นความรู้
เรียนรู้ เช่น CEFR ฯลฯ กับชุมชนเพื่อเกื้อหนุนให้การเรียนการสอนบรรลุเป้าหมาย จัดการ
3) เทคนิคการสอนแบบบูรณาการ เช่น การพัฒนาครูให้ เรียนรูจ้ ากบรรยากาศและบริบททีเ่ ป็นโลกแห่งความเป็นจริง และสร้าง
สามารถจัดการเรียนการสอนตามแนวทางบูรณาการ STEM โดยปัจจุบนั โอกาสให้ผู้เรียนได้เข้าถึงสื่อเทคโนโลยี เครื่องมือและแหล่งเรียนรู้ที่มี
ได้มกี ารจัดตัง้ ศูนย์สะเต็มศึกษาในมหาวิทยาลัยหลายแห่ง ครูควรเข้า คุณภาพ ควรใช้แนวทางดังนี้
รับการฝึกฝนให้ได้รับประสบการณ์ ความรู้ที่ถูกต้องก่อน แล้วจึงน�ำ 1. ห้องปฏิบตั กิ าร เช่น ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์, STEM,
มาใช้สอนจริง จึงจะส่งผลต่อการพัฒนานักเรียน หากครูไม่เข้าใจจริง ภาษา, ศิลปะ ฯลฯ
อาจจะท�ำให้เป็นการสร้างภาระให้กับนักเรียนมากขึ้น แต่ไม่เกิดการ 2. ห้องเพือ่ การเรียนรูท้ กุ มิติ ทัง้ การฟังบรรยาย การระดมสมอง
เรียนรู้ หรือพัฒนาทักษะการคิดเชิงนวัตกรรม การท�ำงาน การสืบค้นข้อมูล การน�ำเสนอข้อมูล หรือทีเ่ รียกว่าห้องเรียน
4) เทคนิคการจัดการชั้นเรียนยุคใหม่ ที่เรียกว่า ห้องเรียน อัจฉริยะ (SMART Classrooom)
อัจฉริยะ (SMART Classroom) ซึ่งมุ่งเน้นให้ชั้นเรียนมีชีวิตชีวา 3. ห้องสมุดดิจทิ ลั ต้องสนับสนุนให้ครบทั้ง Hardware, Soft-
เปิดพื้นที่ทางกายภาพ มิตรภาพ ให้นักเรียนได้ใช้ความคิดใน ware, Peopleware และ Networking
การสร้างสรรค์ผลงานกับเพื่อนในบรรยากาศที่ตื่นตัวอยู่ตลอดเวลา 4. สือ่ และเทคโนโลยีเพือ่ การศึกษา มีเพียงพอและหลากหลาย
และมีความพร้อมด้านสื่อ สิ่งอ�ำนวยความสะดวกในการท�ำงานและ 5. พิพธิ ภัณฑ์และอุทยานการเรียนรู้ ทัง้ ในระดับชุมชนและ
การสืบค้นข้อมูล ระดับชาติ

WiFi

9
THE
21
st
CENTURY
TEACHER

2
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
(21st CENTURY LEARNING)
2.1 การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มีความแตกต่างจากการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 20 ดังที่แสดงไว้ในตารางต่อไปนี้

st th
21 Century (ศตวรรษที่ 21) 20 Century (ศตวรรษที่ 20)

1. Projects เรียนรู้จากการทำ�โครงงาน 1. Curriculum เรียนรู้ตามหลักสูตร


2. On-demand จัดการเรียนการสอน 2. Time-slotted จัดการเรียนการสอน
ตามความต้องการ ตามตารางเรียนตายตัว
3. One-size-fits-all แบบเดียวกัน
3. Personalized เหมาะสมรายบุคคล ทั้งห้อง
4. Collaborative ทำ�งานร่วมกัน 4. Competitive แข่งขัน
5. Global Community ห้องเรียนสู่ 5. Classroom เรียนในห้องเรียน
ชุมชนโลก
6. Web-based เรียนรู้ผ่านเว็บไซต์ 6. Text-based เรียนรู้ตามหนังสือเรียน
7. Formative Assessment 7. Summative Tests สอบเพื่อตัดสินผล
ประเมินเป็นระยะเพื่อปรับปรุงการเรียนรู้ การเรียนรู้
8. Learning for School เรียนรู้เพื่อให้
8. Learning for Life เรียนรู้เพื่อชีวิต จบจากโรงเรียน
Source : 21st Century Skills : Learning for Life in Our Times.

จากตารางข้างต้น การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เปลี่ยนแปลงไปจากศตวรรษที่ 20 ดังนี้


1. Projects ศตวรรษที่ 21 ผู้เรียนจะได้เรียนรู้จากการท�ำงานโครงงาน ซึ่งบางครั้งจะคาดเดาได้ยากว่าจะค้นพบความรู้ใด อาจเป็น
ความรูใ้ หม่ทอี่ าจไม่ได้ก�ำหนดไว้ในหลักสูตรก็ได้ แต่ในศตวรรษที่ 20 ผูเ้ รียนจะได้เรียนรูเ้ นือ้ หาสาระครบถ้วนตามทีก่ �ำหนดไว้ชดั เจนในหลักสูตร
เท่านั้น
2. On-demand ศตวรรษที่ 21 การเรียนการสอนสามารถก�ำหนดเวลาการเรียนรู้ที่ยืดหยุ่นเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้เรียน และ
เป้าหมายการเรียนรูท้ ปี่ รับเปลีย่ นได้ตามความเหมาะสม แต่ในศตวรรษที่ 20 การเรียนการสอนจะมีการก�ำหนดตารางเรียน ตารางสอนที่แน่นอน
ตายตัว
10
THE
21
st
CENTURY
TEACHER

3. Personalized ศตวรรษที่ 21 ด้วยความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี การเรียนรู้มุ่งเรียนให้ส�ำเร็จ เพื่อให้ได้ชื่อว่าได้เรียนจนส�ำเร็จ


การจัดการเรียนการสอน ครูผสู้ อนสามารถออกแบบการสอนซึง่ ประกอบ การศึกษาแล้ว เช่น เรียนจบโรงเรียนแล้ว (ส�ำหรับการศึกษาภาคบังคับ)
ด้วย วิธีสอน วิธีวัดผล การใช้สื่อการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับผู้เรียน ท�ำให้การเรียนที่โรงเรียนน�ำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตจริงได้น้อย
รายบุคคลหรือกลุ่มย่อยได้ ซึ่งจะช่วยท�ำให้ผู้เรียนมีโอกาสได้ใช้วิธี ในเมือ่ การเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 แตกต่างอย่างมากจากศตวรรษ
การเรียนรู้ที่ตรงกับรูปแบบการเรียนรู้ของตนเอง แต่ในศตวรรษที่ 20 ที่ 20 ดังนั้น ครูผู้สอนจึงมีความจ�ำเป็นต้องเปลี่ยนบทบาทด้วยเช่นกัน
การจัดการเรียนการสอนมักจะคิดว่าผูเ้ รียนสามารถเรียนรูไ้ ด้เหมือนกัน 2.2 บทบาทของครูผู้สอนส�ำหรับการจัดการ
ครูผู้สอนจึงออกแบบการสอนไว้แบบเดียวแล้วน�ำไปใช้กับผู้เรียน เรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 (Teach Less, Learn More)
ทุกกลุ่ม บทบาทของครูผสู้ อนควรเปลีย่ นเป็นผูจ้ ดั การเรียนรู้ คือ สอนหรือ
4. Collaborative ศตวรรษที่ 21 ผู้เรียนทุกคนต้องมาร่วมแรง ถ่ายทอดความรู้ ข้อมูล ข่าวสารให้น้อยลง (Teach Less) แต่ให้ผู้เรียน
ร่วมใจกันในการเรียนรู้ โดยน�ำความสามารถหรือความรูท้ ตี่ นเองมีอยู่ เรียนรูแ้ ละปฏิบตั ดิ ว้ ยตนเอง ในการแสวงหาข้อมูล ความรู้ ท�ำกิจกรรม
มาช่วยกันท�ำงานตามบทบาทที่ได้รับมอบหมายจนประสบผลส�ำเร็จ ต่างๆ เพือ่ ค้นพบองค์ความรูใ้ ห้มากขึน้ (Learn More) ซึง่ หลายประเทศ
แต่ในศตวรรษที่ 20 ผู้เรียนมุ่งเน้นการแข่งขันกันเรียนเพื่อความเป็น ในกลุ่มอาเซียน เช่น สิงคโปร์ มาเลเซีย ท�ำมาแล้ว 5 ปี เริ่มปรากฏ
เลิศ มีการจัดอันดับที่ภายหลังการวัดผล ท�ำให้ผู้เรียนขาดความ ผลที่ดีและเป็นค�ำตอบให้แก่วงการการศึกษาว่ามาถูกทาง ส�ำหรับ
ร่วมมือ เอื้อเฟื้อ แบ่งปันซึ่งกันและกัน ประเทศไทยตอนนี้ก็คือนโยบายลดเวลาเรียน (เรียนจาการบรรยาย
5. Global Community ศตวรรษที่ 21 ด้วยเทคโนโลยีการ หรือบอกความรู)้ เพิม่ เวลารู้ (เพิม่ เวลาให้กบั การเรียนรูจ้ ากการสืบค้น
สือ่ สารที่ทันสมัย สะดวกต่อการเข้าถึง และการใช้งานที่ไม่จ�ำกัดเวลา ถกเถียงกันให้ได้ขอ้ สรุป ลงมือปฏิบตั ิ รับผิดชอบ มีวนิ ยั ในการท�ำงาน)
และสถานที่ การจัดการเรียนรูจ้ งึ ไม่ควรจ�ำกัดอยูแ่ ค่ความรูใ้ นชัน้ เรียน คือท�ำให้ครบทั้ง Head (ความรู้ ความคิด) Hand (ลงมือท�ำ) Heart
ผูเ้ รียนสามารถเชือ่ มโยงห้องเรียนไปสูโ่ ลกภายนอกได้อย่างไร้ขดี จ�ำกัด (ตั้งใจท�ำ) และ Health (สุขภาพดีทั้งกายและใจ) ซึ่งครูผู้สอนควร
แต่ในศตวรรษที่ 20 สือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศและการติดต่อสือ่ สารยัง ปฏิบัติดังนี้
ไม่สะดวกรวดเร็ว การเรียนรูจ้ ึงจ�ำกัดอยู่เฉพาะการเรียนรู้ในชั้นเรียน 1. จัดเนื้อหาที่สัมพันธ์กับชีวิตจริงของผู้เรียน
จากครูผู้สอนเท่านั้น 2. เชื่อมโยงโลกเข้าสู่ห้องเรียนด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและ
6. Web-based ศตวรรษที่ 21 การเรียนรู้ของผู้เรียนโดย การสื่อสาร
ผูเ้ รียนสามารถเข้าไปสืบค้นความรูจ้ ากต�ำราต่างๆ หรือแหล่งเรียนรูอ้ นื่ ๆ 3. น�ำพาผู้เรียนสู่โลกนอกห้องเรียนด้วยการปฏิบัติในพื้นที่จริง
หรือจากเว็บไซต์ตา่ งๆ ได้อย่างกว้างขวาง ซึง่ ครูผสู้ อนต้องจัดกิจกรรม 4. สร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์เพื่อการเรียนรู้กับผู้อื่น
ให้ผู้เรียนได้สืบค้นเป็นประจ�ำ แต่ในศตวรรษที่ 20 เน้นการเรียนรู้ ให้มากที่สุด ทั้งโลกที่เป็นจริง คือ การพบปะเจอหน้าผู้คน และ
จากหนังสือเรียนแบบเรียนทีถ่ กู ก�ำหนดให้เรียนรูเ้ ฉพาะทีม่ อี ยูใ่ นหนังสือ โลกเสมือนจริงทาง Social Media ต่างๆ ให้พอเหมาะพอดี
เรียนแบบเรียนเท่านั้น 5. ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงด้วยการน�ำเอา
7. Formative Assessment ศตวรรษที่ 21 การทดสอบควร ประสบการณ์เดิมของผู้เรียนมาบูรณาการเพื่อสร้างการเรียนรู้ใหม่ๆ
มุ่งให้น�้ำหนักการทดสอบระหว่างเรียนให้มากขึ้น เพื่อจะได้แก้ไข ขึ้นมา
ข้อบกพร่องของผูเ้ รียนตัง้ แต่แรก แต่ในศตวรรษที่ 20 การทดสอบมุง่ เน้น ครูผู้สอนต้องเพิ่มบทบาทการเป็นโค้ช เป็นครูฝึก และที่ส�ำคัญ
การทดสอบเพือ่ ตัดสินผล ดังนัน้ จึงให้นำ�้ หนักกับการวัดผลโดยรวมเมือ่ ต้องคอยสร้างแรงบันดาลใจ (Inspiration) ให้ผเู้ รียน โดยการเป็นต้นแบบ
สิน้ สุดการเรียนมากกว่าการวัดผลระหว่างเรียน ซึง่ บางครัง้ พบว่าผู้เรียน หรือหาต้นแบบตัวอย่างที่ดีๆ ให้ผู้เรียนได้เกิดแรงบันดาลใจที่จะ
ถูกละเลยไม่ได้รบั การแก้ไขข้อบกพร่องทางการเรียนแต่เนิน่ ๆ การมา เรียนรู้ ฝึกฝนตนเองอยู่ตลอดเวลา
วัดผลเมื่อสิ้นสุดการเรียนจึงไม่มีประโยชน์ในการน�ำไปปรับปรุงและ จากที่กล่าวมาข้างต้น ครูผู้สอนควรปรับเปลี่ยนวิธีการจัด
พัฒนาผู้เรียน การเรียนการสอนโดยน�ำการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (8 หัวข้อ
8. Learning for Life ศตวรรษที่ 21 การเรียนรู้มุ่งเน้นให้ ข้างต้น) มาออกแบบการเรียนรู้ให้เหมาะสม ซึ่งพบว่าการออกแบบ
การเรียนรู้ที่โรงเรียนเป็นการเรียนรู้ที่มีความหมายต่อการใช้ชีวิต โดย การจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา (STEM Education) เป็นวิธีการ
ต้องเชื่อมโยงความรู้นั้นไปใช้ในชีวิตประจ�ำวัน แต่ในศตวรรษที่ 20 ที่น่าสนใจ

11
THE
21
st
CENTURY
TEACHER

3
สะเต็มศึกษา
(STEM Education)
ประเทศทีพ่ ฒั นาแล้วได้รบั การจัดการศึกษาในระดับแนวหน้าของ สอดคล้องกับแนวคิดอุตสาหกรรม 4.0 และการจัดการศึกษาในลักษณะ
โลก จัดการศึกษาในลักษณะบูรณาการศาสตร์ตา่ งๆ เข้าด้วยกัน โดย การศึกษา 4.0 อันเป็นแนวทางที่จะพัฒนาประเทศไปสู่เป้าหมายที่จะ
อาศัยวิชาพืน้ ฐานทีเ่ ป็นหลักในการสอนของทุกสถานศึกษา นัน่ คือ วิชา เป็นประเทศพัฒนาแล้วในที่สุด
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ประกอบเข้าด้วยกันกับเทคโนโลยีในยุค
สมัยเข้ามาเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ ผนวกวิธีการทางวิศวกรรมเข้า ประเทศไทย 4.0
เสริมทางด้านทักษะ กลายเป็นแนวคิดการจัดการศึกษาที่เรียกว่า แนวคิดประเทศไทยยุคที่ 4 ไม่ใช่สงิ่ ใหม่แต่เป็นสิง่ ทีม่ รี ากฐานและ
สะเต็มศึกษา (STEM Education) ความต่อเนื่องมาอย่างยาวนาน หลายสิบปีก่อนประเทศไทยเป็นหนึ่ง
ในประเทศอุตสาหกรรมใหม่ที่เรียกสั้นๆ ว่านิคส์ (NICs : Newly
บทน�ำ Industry Country) เป็นหนึง่ ในห้าเสือแห่งเอเชียทีค่ าดการณ์วา่ จะก้าว
สะเต็มไม่ใช่การให้ผู้เรียนต้องเรียนวิชาวิทยาศาสตร์อย่างเดียว จากประเทศก�ำลังพัฒนาไปเป็นประเทศพัฒนาแล้วในอนาคต สี่เสือ
ไม่ใช่การเรียนวิชาคณิตศาสตร์อย่างเดียว ไม่ใช่การเรียนรู้เทคโนโลยี แห่งเอเชียในยุคนั้นทุกประเทศก้าวสู่ความเป็นประเทศพัฒนาแล้ว
หรือวิศวกรรม รวมแล้ว 4 วิชา แล้วจะหมายความว่าเป็นสะเต็มศึกษา ขณะที่ประเทศไทยยังติดอยู่กับประเทศรายได้ปานกลางและยังเป็น
ความหมายของสะเต็ม มาจากตัวย่อของค�ำภาษาอังกฤษ 4 ค�ำคือ ประเทศอุตสาหกรรมแบบเดิมๆ ที่รอรับการลงทุนจากต่างประเทศ
รับจ้างผลิตสินค้าส่งออก เป็นประเทศที่มีผลิตภัณฑ์ชั้นน�ำต่างๆ จาก
Science : S ทั่วโลกมาจ้างให้ผลิตสินค้า แต่ประเทศไทยไม่มีสินค้าหรือนวัตกรรม
Technology : T ใดๆ ที่ผลิตออกจ�ำหน่ายในนามของตนเอง
ประเทศไทย 4.0 หรือไทยแลนด์ 4.0 (Thailand 4.0) หมายถึง
Engineering : E ประเทศไทยที่จะก้าวสู่การเป็นประเทศผู้ผลิตนวัตกรรมและความคิด
Mathematics : M สร้างสรรค์ เพือ่ การเป็นประเทศทีส่ ง่ ออกสินค้าและผลิตภัณฑ์ทพี่ ฒั นา
ขึน้ เอง ข้ามพ้นกับดักประเทศทีป่ ระชาชนมีรายได้ปานกลางไปสูป่ ระเทศ
ประเทศทีพ่ ฒั นาแล้วเกือบทัง้ หมดจัดการศึกษาแบบสะเต็ม ประเทศ ที่ประชาชนมีรายได้สูงและเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วในที่สุด ขณะที่
สหรัฐอเมริกาให้ความส�ำคัญอย่างยิ่งกับการจัดสะเต็มศึกษา โดยจัด ในอดีตประเทศไทยพึ่งพาเกษตรกรรมเป็นหลัก เกษตรกรผลิตสินค้า
ให้มคี ณะกรรมการสะเต็มศึกษา ภายใต้สภาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เกษตรกรรมเพือ่ การบริโภคและการส่งออก ผลิตได้มากใช้คนจ�ำนวนมาก
แห่งชาติ จัดให้มีแผนกลยุทธ์ 5 ปีในการพัฒนาสะเต็มศึกษา โดย แต่รายได้น้อย จนเปลี่ยนมาเป็นยุคที่ประชากรเพิ่มมากขึ้น มีการใช้
ก�ำหนดเป้าหมายและวิธีการต่างๆ ในการพัฒนาผู้เรียนและผู้สอนให้ แรงงานจ�ำนวนมากด้วยต้นทุนที่ถูก ผลิตสินค้าที่มีราคาถูกได้จ�ำนวน
สามารถจัดการเรียนการสอนแบบสะเต็มได้อย่างเต็มรูปแบบ (Holdren, มากๆ ส่งออกด้วยต้นทุนราคาถูก (สุวิทย์ เมษินทรีย์, 2559) ต่อมาก็
2013) หลังจากที่ผลการประกาศการจัดอันดับทางการศึกษาในระดับ มีการลงทุนขนาดใหญ่จ�ำนวนมาก ผลิตสินค้าอุตสาหกรรมส่งออกที่
นานาชาติพบว่า สหรัฐอเมริกาไม่ได้อยู่ในประเทศอันดับต้นๆ ของ มีมูลค่าสูงต้นทุนสูงและคุณภาพสูง จนได้ชื่อว่าสินค้าและบริการจาก
การจัดการศึกษาของโลก ท�ำให้ต้องมีการน�ำการเรียนการสอนแบบ ประเทศไทยเป็นสินค้าคุณภาพ มีการลงทุนเพื่อการผลิตได้ปริมาณ
สะเต็มเข้ามาพัฒนาการศึกษาของประเทศ (Gonzales and Kuenzi, มาก แต่เมื่อเกิดวิกฤตทางเศรษฐกิจก็จะได้รับผลกระทบอย่างรุนแรง
2012) ซึง่ ประเทศไทยก็ได้น�ำแนวคิดดังกล่าวมาใช้ในการจัดการศึกษา เนือ่ งจากเป็นเศรษฐกิจพึง่ พาการส่งออกและการลงทุนจากต่างประเทศ
ของประเทศโดยก�ำหนดไว้เป็นนโยบาย (สิรินภา กิจเกื้อกูล, 2558) ตลอดจนน�ำเข้าเทคโนโลยีและพึง่ พาความรูจ้ ากต่างชาติเพื่อการผลิต
ความเกี่ยวข้องในเชิงนโยบายของการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา โดยทีป่ ระเทศไทยไม่มอี งค์ความรูข้ องตนเองทีจ่ ะใช้ในการผลิตสินค้า
สอดคล้องกับนโยบายหลักของชาติในเรื่องของประเทศไทย 4.0 ของตนเอง เป็นการพัฒนาที่ขาดความมั่นคงและไม่ยั่งยืน

12
THE
21
st
CENTURY
TEACHER

ประเทศไทย 1.0 คือประเทศไทยในยุคเกษตรกรรม หลายสิบ ประเทศผู้ผลิตสินค้าเพื่อการส่งออก ด้วยแรงงานฝีมือดี ต้นทุน


ปีก่อนเกษตรกรคือกระดูกสันหลังของชาติ ประเทศไทยอุดมสมบูรณ์ การผลิตตำ �่ ค่าแรงถูก และได้รบั การลดหย่อนภาษีเพือ่ ส่งเสริมการลงทุน
ในน�้ำมีปลาในนามีข้าว รายได้ส่วนใหญ่ของประเทศมาจากสินค้า สินค้าทีส่ ง่ ออกไปทัว่ โลก ได้แก่ รถยนต์ เครือ่ งจักรกล เครือ่ งใช้ไฟฟ้า
เกษตรกรรม แรงงานส่วนใหญ่ของประเทศอยู่ในภาคเกษตรกรรม อิเล็กทรอนิกส์ ชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์ ฯลฯ กลายเป็นประเทศผู้ผลิต
ปลูกข้าว ยางพารา อ้อย ข้าวโพด มันส�ำปะหลัง ประเทศไทยมี รายใหญ่ของโลก รับจ้างผลิตสินค้าโดยไม่มเี ทคโนโลยีเป็นของตนเอง
ป่าไม้สมบูรณ์และตัดไม้ขาย ท�ำผลิตภัณฑ์ต่างๆ จากเกษตรกรรม เมื่อต่างประเทศประสบปัญหาถอนการลงทุนหรือย้ายฐานการผลิต
เป็นหลัก แม้สภาพในปัจจุบนั สินค้าทางการเกษตรจะล้นตลาด มีราคาถูก ประเทศก็สญู เสียรายได้ และไม่สามารถผลิตสินค้าขึน้ มาได้เองเพราะ
ยังใช้แรงงานมาก และยังถือเป็นหนึง่ ในรายได้หลักของประเทศแต่ไม่ ลิขสิทธิแ์ ละภูมปิ ญั ญาเป็นของต่างชาติ ไม่สามารถผลิตสินค้าได้ดว้ ย
สามารถแข่งขันได้ในระดับโลกอีกต่อไป ตนเองและไม่สามารถส่งออกไปขายเพื่อท�ำรายได้ให้กับประเทศอีก
ประเทศไทย 2.0 เป็นยุคที่ประชากรมีจ�ำนวนมากขึ้น มีการท�ำ ต่อไป
ธุรกิจและสร้างโรงงานผลิตสินค้าที่มีราคาถูก ต้นทุนต�่ำ ใช้แรงงาน ประเทศไทย 4.0 จึงเป็นยุคที่ประเทศไทยต้องพึ่งพาตนเอง
ค่าจ้างต�่ำจ�ำนวนมากมาย เป็นสินค้าคุณภาพดีที่ส่งขายทั่วโลก เป็น โดยอาศัยภูมิปัญญาของคนไทยในการสร้างสรรค์นวัตกรรมและ
ยุคที่แรงงานฝีมือใช้เครื่องจักรขนาดเล็ก ผลิตสินค้าประเภทเครื่อง สิ่งประดิษฐ์ต่างๆ เป็นยุคของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ที่ใช้เทคโนโลยี
นุง่ ห่ม เครือ่ งใช้ อาหารแปรรูป ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร หลายธุรกิจ เข้ามาช่วยในการผลิต สร้างผลิตภัณฑ์ด้วยมันสมอง ใช้ต้นทุนต�่ำแต่
ยังคงด�ำเนินกิจการต่อมา แต่ปัจจุบันต้นทุนการผลิตสูงขึ้น แรงงาน มีมูลค่าสูง สินค้าที่ผลิตเป็นลิขสิทธิ์ของตนเอง สร้างให้คนไทยได้ใช้
มีค่าจ้างสูง สินค้าประเภทเดียวกันมีประเทศอื่นๆ ที่ผลิตได้ในราคา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นเครื่องมือในการติดต่อ
ต�่ำกว่า จึงไม่สามารถแข่งขันในตลาดโลกได้อีกต่อไป สื่อสาร คิดค้นผลิตภัณฑ์ขึ้นมาจ�ำหน่าย ใช้แรงงานที่มีคุณภาพสูง
ประเทศไทย 3.0 เป็นยุคที่มีการลงทุนจากต่างประเทศเข้ามา จ�ำนวนไม่มาก แต่ให้ผลิตผลที่มีมูลค่ามาก ขับเคลื่อนประเทศโดย
เป็นจ�ำนวนมาก ได้รับการส่งเสริมการลงทุน ประเทศไทยกลายเป็น อาศัยนวัตกรรม

Thailand 1.0 Thailand 2.0 Thailand 3.0 Thailand 4.0


ยุคเกษตรกรรมคือกระดูก ยุคแรงงานราคาถูกและ ยุคอุตสาหกรรมรับจ้างผลิต ยุคผลิตภัณฑ์ของตนเอง
สันหลังของชาติ ผลิตเพื่อ อุ ต สาหกรรมส่ ง ออก สินค้าเพื่อการส่งออก ด้วยนวัตกรรมและความคิด
การส่งออก ด้วยแรงงานต้นทุนต�่ำ สร้างสรรค์

Thailand 4.0
(Smart Industry + Smart City + Smart People)

Thailand 1.0 Thailand 2.0 Thailand 3.0 Thailand 4.0


Light Heavy
Agriculture Industry Industry Creativity+Innovation
Low wages Advanced Smart Thailand
Machine

13
THE
21
st
CENTURY
TEACHER

อุตสาหกรรม 4.0 (Industrial 4.0)


การเปลีย่ นแปลงทีต่ อ่ เนือ่ งจากการทีป่ ระเทศไทยจะเข้าสูป่ ระเทศไทย จ�ำนวนมาก ค่าแรงถูก และเน้นการผลิตสินค้าเพือ่ การส่งออก ก�ำลงั การผลิต
4.0 ก็จะต้องปรับเปลี่ยนอุตสาหกรรมของประเทศให้เป็นอุตสาหกรรม ไม่มาก แบ่งออกเป็นกลุม่ อุตสาหกรรมต่างๆ มากมาย แรงงานส่วนใหญ่
4.0 เป็นการเปลี่ยนแปลงที่สอดคล้องกันเพื่อรองรับการปรับตัวของ ไร้ฝีมือหรือกึ่งฝีมือ
ประเทศที่จะไม่พึ่งพิงอุตสาหกรรมประเภทใดประเภทหนึ่งแต่เพียง อุตสาหกรรม 3.0 เป็นอุตสาหกรรมเพื่อการส่งออก ใช้แรงงาน
อย่างเดียว แต่จะปรับเปลีย่ นให้เป็นอุตสาหกรรมทีใ่ ช้ภมู ปิ ญั ญาสร้างสรรค์ ช่างฝีมือจ�ำนวนมาก ได้รับการส่งเสริมการลงทุนในการลดภาษีและ
ใช้เครื่องจักรกลเข้ามาท�ำงานแทนคนในกระบวนการผลิตให้มากขึ้น ค่าใช้จา่ ยต่างๆ เป็นอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ที่เข้ามาลงทุนในประเทศ
ล�ำดับขั้นพัฒนาการประกอบด้วย อุตสาหกรรมเคมี ปิโตรเลียม ยานยนต์ และไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ ท�ำให้
อุตสาหกรรม 1.0 เป็นยุคที่ประเทศไทยเน้นการผลิตสินค้าและ ประเทศไทยเป็นฐานการผลิตสินค้าเพือ่ การส่งออกทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ แห่งหนึง่
อุตสาหกรรมทางด้านการเกษตรเป็นหลัก สินค้าทางการเกษตรเป็น ของโลก ด้วยแรงงานคุณภาพ ราคาถูก ต้นทุนการผลิตต�่ำ แต่กลาย
สินค้าน�ำในการส่งออกและแปรรูปผลิตภัณฑ์ เป็นยุคทีใ่ ช้แรงงานคนใน เป็นประเทศทีร่ บั จ้างผลิตสินค้า โดยไม่มนี วัตกรรมหรือผลิตภัณฑ์ของ
การผลิตสินค้าทางการเกษตร เกษตรกรและชาวนาเป็นกระดูกสันหลัง ตนเอง
ของชาติ อุตสาหกรรมทางการเกษตรยังคงเป็นหนึ่งในอุตสาหกรรม อุตสาหกรรม 4.0 เป็นอุตสาหกรรมทีจ่ ะปรับเปลีย่ นน�ำเอาเทคโนโลยี
หลักของประเทศตราบเท่าทุกวันนี้ จนประสบปัญหาสินค้าล้นตลาด ราคาถูก เข้ามาใช้แทนคน น�ำเครื่องจักรมาใช้ในการผลิต โดยคนจะท�ำหน้าที่
และใช้แรงงานจ�ำนวนมากในการผลิตอุตสาหกรรมทางการเกษตร ในการควบคุมเครื่องจักรกล เน้นอุตสาหกรรมการออกแบบและความ
อุตสาหกรรม 2.0 เป็นอุตสาหกรรมเบาทีใ่ ช้แรงงานคนจ�ำนวน คิดสร้างสรรค์ที่ให้มูลค่าสูง ใช้แรงงานน้อย ต้นทุนต�่ำ ปรับเปลี่ยนเป็น
มากและแรงงานราคาถูก เป็นอุตสาหกรรมทีใ่ ช้ฝมี อื เป็นหลัก สินค้า ผลิตภัณฑ์ที่เน้นเทคโนโลยีและนวัตกรรม ผลิตสินค้าคุณภาพสูงและ
ประเภทเครือ่ งนุง่ ห่ม สิง่ ทอ งานจักรสานและงานฝีมอื เป็นสินค้าทีผ่ ลิต มีมูลค่าทางเศรษฐกิจสูง ก่อให้เกิดรายได้สูงกว่าการลงทุนในระบบ
โดยโรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็ก ใช้กรรมกรและแรงงานที่มีฝีมือ อุตสาหกรรมเดิมๆ จึงต้องผลิตคนเพื่อรองรับเทคโนโลยีขั้นสูง

แนวคิ
(SmartดIndustry
การขับ+เคลื ่อนอุ
Smart Cityต+สาหกรรมไปสู
Smart People) ่

“ประเทศไทย 4.0”
ปรับโครงสร้างจากกลุ่มอุตสาหกรรมดั้งเดิมสู่กลุ่มอุตสาหกรรม
ที่ขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี นวัตกรรม และความคิดสร้างสรรค์

ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย


Agriculture 1.0 Light Industry 2.0 Heavy Industry 3.0 Innovation-driven 4.0
Economy
อุตสาหกรรมไทย 1.0 อุตสาหกรรมไทย 2.0 อุตสาหกรรมไทย 3.0 อุตสาหกรรมไทย 4.0
Agro-base Electric appliances Petrochemical Innovation-driven
Textile & Apparel Automotive Industry
Electronics

14
THE
21
st
CENTURY
TEACHER

อาชีวศึกษาจึงต้องเปลี่ยนวิธีคิดที่จะผลิตคนเพื่อรับจ้างในสถาน การศึกษายุค 1.0 เป็นยุคการจัดการศึกษาในอดีตทีเ่ น้นการสอน


ประกอบการ โดยเสริมแนวคิดที่นักเรียนนักศึกษาสามารถสร้างสรรค์ เนื้อหาและความรู้ ครูเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ ครูเป็นผู้บริหาร
นวัตกรรม คิดเป็นท�ำเป็น สร้างสิ่งประดิษฐ์ และมีแนวคิดที่จะเป็น จัดการชั้นเรียน ผู้เรียนท�ำตามขั้นตอนและการจัดการเรียนการสอนที่
ผูป้ ระกอบการทีม่ ผี ลิตภัณฑ์ของตนเอง ไม่ใช่เพียงการเรียนรูแ้ ละทักษะ ครูเป็นผู้ก�ำหนด การเรียนรู้เป็นการท่องจ�ำและเรียนรู้เนื้อหาให้มาก
ฝีมอื ทีจ่ ะไปเป็นลูกจ้างเท่านัน้ จึงเป็นโจทย์ส�ำคัญทีท่ า้ ทายการจัดการ ที่สุด หลักสูตรก�ำหนดให้สอนเนื้อหาที่เป็นความรู้ความจ�ำและเนื้อหา
อาชีวศึกษาในยุคสมัยใหม่ เพื่อการสอบแข่งขัน ผลิตคนเพื่อออกไปรับราชการและท�ำงานเป็น
ลูกจ้างในหน่วยงานต่างๆ
การศึกษายุค 2.0 เป็นยุคทีจ่ ดั การศึกษาโดยการน�ำเอาเทคโนโลยี
การศึกษา 4.0 (Education 4.0) เข้ามาช่วยในการเรียนรู้ มีสื่ออิเล็กทรอนิกส์และสื่อการเรียนการสอน
ประเทศไทยมีนโยบายทีช่ ดั เจนทีจ่ ะมุง่ สูก่ ารเป็นประเทศพัฒนาแล้ว สมัยใหม่ เพือ่ ให้ผเู้ รียนได้เรียนรูด้ ว้ ยตนเองมากขึน้ ผูเ้ รียนเป็นศูนย์กลาง
เพื่อให้หลุดพ้นจากกับดักรายได้ปานกลางและประเทศที่เป็นผู้ผลิต แห่งการเรียนรู้ ครูเป็นผู้อ�ำนวยความสะดวก ผลิตและจัดหาสื่อและ
สินค้าเพื่อการส่งออกโดยไม่มีเทคโนโลยีของตนเอง นโยบายที่จะน�ำ เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ของผู้เรียน สื่อและเทคโนโลยีเข้า
ประเทศไปสูจ่ ดุ ทีเ่ รียกว่าไทยแลนด์ 4.0 หรือดิจทิ ลั ไทยแลนด์ เป็นการ มาเป็นตัวช่วยเสริมการเรียนรู้ สามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา เป็น
พัฒนาประเทศโดยอาศัยนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศในการ ยุคแห่งสังคมสารสนเทศ ผลิตคนเพื่อรองรับเทคโนโลยี
ขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคม เพื่อให้คนไทยสามารถแข่งขันกับ การศึกษายุค 3.0 เป็นการศึกษาทีผ่ เู้ รียนสามารถเรียนรูไ้ ด้อย่าง
นานาชาติได้โดยอาศัยความคิดสร้างสรรค์ในการท�ำงานและการผลิต อิสระ เป็นยุคทีค่ วามรูม้ อี ยูม่ ากมายสามารถแสวงหาความรูไ้ ด้จากสือ่
สินค้า การพัฒนาบุคลากรของประเทศทีต่ อ้ งปรับเปลีย่ นให้สอดคล้อง ทุกประเภท ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้ ครูท�ำหน้าที่เป็น
กับยุคสมัย โดยปรับระบบการศึกษาเป็นการศึกษา 4.0 มุ่งสร้างคน ผู้คอยให้ค�ำแนะน�ำ ให้ค�ำปรึกษา ให้ข้อเสนอแนะ จัดหาแหล่งเรียนรู้
ไทยให้เป็นนักผลิตสินค้าโดยอาศัยนวัตกรรมใหม่ๆ ปรับเปลีย่ นวิธคี ดิ ให้กับผู้เรียน เป็นยุคที่องค์ความรู้มีอยู่มากมายมหาศาลโดยไม่ต้อง
ทีจ่ ะสร้างคนเพือ่ เป็นเจ้าคนนายคนไปสูค่ วามคิดทีท่ กุ คนสามารถเป็น พึ่งพาการเรียนรู้ในชั้นเรียนแต่เพียงอย่างเดียว ผลิตคนเข้าสู่สังคมที่
ผูป้ ระกอบการได้ สามารถสร้างฐานะและกิจการเป็นของตนเองได้ ไม่ แข่งขันกันโดยอาศัยความรู้เป็นฐาน
จ�ำเป็นต้องเป็นลูกจ้างแต่เพียงอย่างเดียว ครูผสู้ อนทางด้านอาชีวศึกษา การศึกษายุค 4.0 เป็นการศึกษาที่ผู้เรียนจะเรียนรู้วิธีการเรียน
จึงจ�ำเป็นต้องปรับวิธเี รียน เปลีย่ นวิธสี อน และปฏิรปู การวัดและประเมิน เน้นการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา ความคิดสร้างสรรค์ และการ
ผลให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงนี้ ครูผู้สอนต้องจัดการเรียนรู้ ท�ำงานร่วมกับผูอ้ นื่ ผูเ้ รียนจะต้องลงมือปฏิบตั แิ ละน�ำความรูม้ าประยุกต์ใช้
ที่เน้นทักษะในศตวรรษที่ 21 เน้นให้ผู้เรียนได้มคี วามคิดสร้างสรรค์ เพือ่ ให้เกิดนวัตกรรม ครูท�ำหน้าทีเ่ ป็นผูส้ ง่ เสริมและสนับสนุนให้ผเู้ รียน
คิดประดิษฐ์ผลงาน คิดทีจ่ ะเป็นผูป้ ระกอบการใหม่ (Start up) มากกว่า ได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์น�ำไปสู่ผลงาน ครูจัดกระบวนการให้ผู้เรียน
ที่จะเป็นลูกจ้างรับเงินเดือน ครูผู้สอนจึงเป็นจุดเปลี่ยนที่ส�ำคัญของ ได้สร้างผลิตภัณฑ์และพัฒนาผู้เรียนให้มุ่งสู่การเป็นผู้ประกอบการ
การปฏิรูปการศึกษาน�ำประเทศสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ผลิตคนเข้าสู่สังคมยุคดิจิทัล
การเปลีย่ นแปลงสูย่ คุ การศึกษา 4.0 เป็นการเปลีย่ นแปลงทีพ่ ยายาม หัวใจส�ำคัญที่สุดของการศึกษายุค 4.0 คือครู ครูคือผู้ที่จะขับ
ท�ำมาหลายสิบปี ถูกก�ำหนดเอาไว้ในการปฏิรปู การศึกษาตัง้ แต่ปี พ.ศ. เคลือ่ นการศึกษาให้เกิดการเปลีย่ นแปลง ครูเป็นผูท้ ผี่ เู้ รียนรักและศรัทธา
2542 พยายามที่จะจัดการศึกษาให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ พร้อมทีจ่ ะเรียนรูแ้ ละท�ำตาม ครูคือแม่แบบของผู้เรียน เป็นพ่อแม่ที่
พัฒนาการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ พัฒนาการ สองของเด็ก การเปลีย่ นแปลงและการปฏิรปู การศึกษาจึงต้องผลักดัน
ของการจัดการศึกษาเรียงตามล�ำดับดังนี้ และขับเคลื่อนที่ครูที่เป็นแม่ทัพหน้าของการศึกษา

15
THE
21
st
CENTURY
TEACHER

“เราเชือ่ ว่า การพัฒนาประเทศไทย


ไปสู่ไทยแลนด์ 4.0 การศึกษาเป็น
รากฐานส�ำคัญทีส่ ดุ หากต้องการ
ให้เด็กเป็นอย่างไร ครูต้องเป็น
เช่ น นั้ น ให้ ไ ด้ ฉะนั้ น เราต้ อ งมี
การสนั บ สนุ น ครู อ ย่ า งเต็ ม ที่
เพราะการปฏิ รู ป การเรี ย นรู ้ ...
ครูคือหัวใจ...”
นายคมพิชญ์ พนาสุภน
กรรมการ บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จ�ำกัด

ตารางที่ 1 แสดงลำ�ดับการพัฒนาประเทศไทย 4.0 อุตสาหกรรม 4.0 และการศึกษา 4.0


ลำ�ดับการพัฒนา Thailand 4.0 Industrial 4.0 Education 4.0

ระดับ 1.0 ยุคเกษตรกรรม อุตสาหกรรมเกษตร การสอนเนื้อหาและความรู้

การเรียนรู้ผ่าน
ระดับ 2.0 ยุคแรงงานราคาถูก อุตสาหกรรมเบา
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
การจัดการศึกษา
ระดับ 3.0 ยุครับจ้างผลิตสินค้า อุตสาหกรรมหนัก
โดยอาศัยความรู้เป็นฐาน
ยุคนวัตกรรม อุตสาหกรรมเครื่องจักร การจัดการศึกษาสู่การผลิต
ระดับ 4.0 และความคิดสร้างสรรค์ แทนคน นวัตกรรมบนฐานเทคโนโลยี

16
THE
21
st
CENTURY
TEACHER

มาตรฐานการจัดสะเต็มศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการของประเทศไทยให้ความส�ำคัญในการจัด
สะเต็มศึกษา ก�ำหนดให้เป็นหนึ่งในนโยบายปฏิรูปการศึกษา โดย
ภายใน 5 ปี ระหว่างปี พ.ศ. 2559-2564 จะท�ำให้มีการเรียนการสอน ขัน้ ที่ 1 ระบุปญ
ั หาในชีวติ จริง/นวัตกรรมทีต่ อ้ งการพัฒนา
ครบทุกโรงเรียน (ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ, 2559) โดยกระทรวงศึกษาธิการ ขัน ้ ที่ 2 รวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง
จั ด ตั้ ง คณะกรรมการพั ฒ นาหลั ก สู ต รการจั ด การเรี ย นการสอน ขัน $
้ ที่ 3 ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา (Science+Math &
สะเต็มศึกษาในสถานศึกษา ซึ่งได้ก�ำหนดนิยามของ “สะเต็มศึกษา” Technology)
ว่า เป็นแนวทางการจัดการศึกษาให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรูแ้ ละสามารถ ้ ที่ 4 วางแผนและด�ำเนินการแก้ปญ
ขัน ั หา (Engineering)
บูรณาการความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี กระบวนการทาง ขัน ้ ที่ 5 ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุง (Engineering)
วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ไปใช้ในการเชือ่ มโยงและแก้ปญั หา ขัน้ ที่ 6 น�ำเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลของการแก้ปัญหา
ในชีวติ จริง รวมทัง้ การพัฒนากระบวนการหรือผลผลิตใหม่ ควบคู่ไปกับ หรือผลการพัฒนานวัตกรรม
การพัฒนาทักษะการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 อีกทั้งคณะกรรมการฯ
ได้มีการก�ำหนดขั้นตอนของกิจกรรมการเรียนรู้ 6 ขั้นตอน ในรูปแบบ
ของสะเต็มศึกษา ได้แก่

ตัวชี้วัดที่ 1 ระบุปัญหาที่พบ

ตัวชี้วัดที่ 2 รวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา

ตัวชี้วัดที่ 3 ออกแบบวิธีการแก้ปัญหาโดยเชื่อมโยงความรู้และกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์

ตัวชี้วัดที่ 4 วางแผนและดำ�เนินการแก้ปัญหา

ตัวชี้วัดที่ 5 ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไขวิธีการแก้ปัญหา

ตัวชี้วัดที่ 6 นำ�เสนอวิธีการแก้ปัญหาและผลของการแก้ปัญหา

รูปแสดงมาตรฐานสะเต็มศึกษา (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2558)


17
THE
21
st
CENTURY
TEACHER

ตารางที่ 2 แสดงตัวชี้วัดมาตรฐานสะเต็มด้านอาชีวศึกษา
ด้านอาชีวศึกษา
ตัวชี้วัดมาตรฐานสะเต็ม
ขั้นตอน ผลงาน หลักฐาน ร่องรอย
การแสดงออก

ตัวชีว้ ดั ที่ 1 ระบุปัญหาที่พบ ระบุปัญหาที่พบจากการรวบรวมข้อมูล การตอบข้อซักถาม


ด้วยวิธีต่างๆ โดยใช้การคิดอย่างมี การเสนอความคิดเห็น
วิจารณญาณได้ การอธิบาย
การอภิปรายกลุ่ม
แบบบันทึกการสังเกต
แบบบันทึกการสัมภาษณ์
ใบงาน
แบบบันทึกกิจกรรม
รายงาน
ผังความคิด
บันทึกการศึกษาค้นคว้า
ก�ำหนดขอบเขตของปัญหาได้ การตอบข้อซักถาม
การเสนอความคิดเห็น
การอธิบาย
การอภิปรายกลุ่ม
แบบบันทึกการสังเกต
แบบบันทึกการสัมภาษณ์
ใบงาน
แบบบันทึกกิจกรรม
รายงาน
ผังความคิด
หัวข้อโครงงานและจุดประสงค์
ตัวชีว้ ดั ที่ 2 รวบรวมข้อมูลและ รวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับ การตอบข้อซักถาม
แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา ปัญหาได้ การเสนอความคิดเห็น
การอธิบาย
การอภิปรายกลุ่ม
แบบบันทึกการสังเกต
แบบบันทึกการสัมภาษณ์
$ ใบงาน
แบบบันทึกกิจกรรม
รายงาน
ผังความคิด กราฟ รูปภาพ
อินโฟกราฟิกส์
18
THE
21
st
CENTURY
TEACHER

ด้านอาชีวศึกษา
ตัวชี้วัดมาตรฐานสะเต็ม
ขั้นตอน ผลงาน หลักฐาน ร่องรอย
การแสดงออก

วิเคราะห์และเลือกข้อมูลที่เหมาะสม การตอบข้อซักถาม $
เพื่อใช้แก้ปัญหาได้ การเสนอความคิดเห็น
การอธิบาย
การอภิปรายกลุ่ม
แบบบันทึกการสังเกต
แบบบันทึกการสัมภาษณ์
ใบงาน
แบบบันทึกกิจกรรม
รายงาน
ผังความคิด กราฟ รูปภาพ
น�ำเสนอด้วยวาจาได้
ประเมินความเป็นไปได้ของวิธีการ การตอบข้อซักถาม
แก้ปัญหาได้ การเสนอความคิดเห็น
การอธิบาย
การอภิปรายกลุ่ม
แบบบันทึกการสังเกต
แบบบันทึกการสัมภาษณ์
ใบงาน
แบบบันทึกกิจกรรม
รายงาน
ผังความคิด กราฟ รูปภาพ
รับฟังความคิดเห็นและสรุปได้
ออกแบบวิธีการ
ตัวชีว้ ดั ที่ 3 ออกแบบวิธีการแก้ปัญหาโดยเชื่อมโยง การตอบข้อซักถาม
แก้ปัญหาโดยเชื่อมโยงความรู้ ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การเสนอความคิดเห็น
และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ การอธิบาย
เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ได้ การอภิปรายกลุ่ม
และคณิตศาสตร์ แบบบันทึกการสังเกต
แบบบันทึกการสัมภาษณ์
ใบงาน
แบบบันทึกกิจกรรม
รายงาน
ผังความคิด กราฟ รูปภาพ
อินโฟกราฟิกส์

19
THE
21
st
CENTURY
TEACHER

ด้านอาชีวศึกษา
ตัวชี้วัดมาตรฐานสะเต็ม
ขั้นตอน ผลงาน หลักฐาน ร่องรอย
การแสดงออก

เลือกวิธีการแก้ปัญหาที่เหมาะสมภายใต้ การตอบข้อซักถาม
เงื่อนไขที่ก�ำหนดได้ การเสนอความคิดเห็น
การอธิบาย
การอภิปรายกลุ่ม
แบบบันทึกการสังเกต
แบบบันทึกการสัมภาษณ์
ใบงาน
แบบบันทึกกิจกรรม
รายงาน
ผังความคิด กราฟ รูปภาพ
อินโฟกราฟิกส์
อธิบายแนวคิดที่ใช้ในการออกแบบ การตอบข้อซักถาม
วิธีการแก้ปัญหาได้ การเสนอความคิดเห็น
การอธิบาย
การอภิปรายกลุ่ม
แบบบันทึกการสังเกต
แบบบันทึกการสัมภาษณ์
ใบงาน
แบบบันทึกกิจกรรม
รายงาน
ผังความคิด กราฟ รูปภาพ
อินโฟกราฟิกส์
น�ำเสนอแนวคิดและการออกแบบ
ตัวชีว้ ดั ที่ 4 วางแผนและดำ�เนิน วางแผนการแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอนได้ แบบบันทึกแผนการปฏิบัติงาน
การแก้ปัญหา ใบกิจกรรม
แผนผังแสดงขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน
ด�ำเนินการแก้ปัญหาโดยใช้เครื่องมือและ แบบบันทึกการสังเกตการปฏิบัติงาน
อุปกรณ์ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย ชิ้นงานและวิธีปฏิบัติงาน
$ บันทึกขั้นตอนการแก้ปัญหาและผลของการ แบบบันทึกขั้นตอนกิจกรรมการปฏิบัติงาน
แก้ปัญหาอย่างเป็นระบบตามความเป็นจริง
และสอดคล้องกับปัญหา

20
THE
21
st
CENTURY
TEACHER

ด้านอาชีวศึกษา
ตัวชี้วัดมาตรฐานสะเต็ม
ขั้นตอน ผลงาน หลักฐาน ร่องรอย
การแสดงออก

ตัวชี้วัดที่ 5 ทดสอบ ประเมินผล ทดสอบ ประเมินผลและปรับปรุงแก้ไข เพื่อ แบบบันทึกผลการทดสอบ


และปรับปรุงแก้ไขวิธกี ารแก้ปญั หา เพิ่มประสิทธิภาพของวิธีการแก้ปัญหา หรือ แบบบันทึกกิจกรรม
เพิ่มประสิทธิภาพของผลผลิต แบบบันทึกผลการทดลอง
แบบประเมินผลงาน ชิน้ งาน /รายงานวิธกี าร

ตัวชีว้ ดั ที่ 6 นำ�เสนอวิธีการ น�ำเสนอวิธีการแก้ปัญหา และผลของการ รายงานผลงาน


แก้ปัญหาและผลของการ แก้ปญั หาให้ผอู้ นื่ เข้าใจ โดยใช้ทกั ษะการสือ่ สาร รายงานการแก้ปัญหา
แก้ปัญหา อย่างมีประสิทธิภาพ การน�ำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
การจัดนิทรรศการ
การประกวดผลงาน
การแสดงโปสเตอร์
การท�ำแผ่นพับ
การน�ำเสนอผ่านเทคโนโลยีต่างๆ
อธิบายประเด็นหรือปัญหาที่เกิดขึ้นจากการ แบบบันทึกการปรับปรุงแก้ไข
แก้ปัญหา และเสนอแนะแนวทางการ แนวทางการปรับปรุงแก้ไขกระบวนการ
ปรับปรุงกระบวนการแก้ปัญหาได้ แก้ปัญหา
เสนอแนวทางที่ใช้ในการแก้ปัญหาใน รายงานผลการด�ำเนินการ
สถานการณ์อื่นที่ใกล้เคียงสถานการณ์เดิม การตอบข้อซักถาม

21
THE
21
st
CENTURY
TEACHER

ก า ร บ ร
ู ณ า ก าร

่ ิ ข น
้ ึ ข อ ง ร ะ ดับ
การเพ ข้ามสาขาวิชา
สหวิทยาการ (Transdisciplinary)
พหุวิทยาการ (Interdisciplinary)
สาขาวิชา (Multidisciplinary)
(Disciplinary)

ผูเ้ รียนน�ำความรูแ้ ละทักษะ


ผู้เรียนเรียนรู้เนื้อหาและ จาก 2 วิ ช าขึ้ น ไปมา
ผู ้ เ รี ย นเรี ย นรู ้ เ นื้ อ หา ทักษะจาก 2 วิชาขึ้นไป ประยุกต์ใช้แก้ปัญหาหรือ
ผู ้ เ รี ย นเรี ย นรู ้ เ นื้ อ หา และทักษะของวิชาต่างๆ ในลักษณะเชื่อมโยงกัน ท�ำโครงงานที่ เ หมื อ น
และทักษะของวิชาต่างๆ แยกส่วนกันแต่อยู่ภายใต้ เพื่ อ การเรี ย นรู ้ ที่ ลึ ก ซึ้ ง สถานการณ์ ใ นโลกจริ ง
แยกส่วนออกจากกัน หัวข้อใหญ่หัวข้อเดียวกัน ยิ่งขึ้น เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์
การเรียนรู้

http://physics.ipst.ac.th/?page_id=2481

รูปแสดงการเพิ่มขึ้นของระดับการบูรณาการ (สาขาฟิสิกส์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)

่ การบูรณาการของสะเต็มศึกษา และคณิตศาสตร์เรียนเรือ่ ง การค�ำนวณค่าไฟฟ้า ผูเ้ รียนแต่ละวิชาก็เรียนรู้


การจัดการเรียนรูแ้ บบสะเต็มศึกษามีจดุ ประสงค์หลักเพือ่ การบูรณาการ เฉพาะเนือ้ หาในรายวิชาของตนแต่เป็นการน�ำความรูจ้ ากวิชาอืน่ ๆ มา
(Integration) เอาความรูจ้ ากวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ เรียนในวิชาของตน เป็นการเรียนรู้แบบสะเต็มเฉพาะในวิชาเท่านั้น
และคณิตศาสตร์ มาใช้งานร่วมกับวิชาของตน จึงมีระดับขัน้ การบูรณาการ การบูรณาการแบบพหุวทิ ยาการ คือ การจัดการเรียนรูแ้ บบสะเต็ม
ของแต่ละวิชาแตกต่างกันไปตามเงือ่ นไขและขอบเขตในการจัดการเรียนรู้ ทีค่ รูผสู้ อนทุกรายวิชาจัดการเรียนรูเ้ นือ้ หาและทักษะปฏิบตั ริ ว่ มกัน โดย
ของครูผสู้ อนจะด�ำเนินการ โดยมีระดับขัน้ ตอนการบูรณาการแยกเป็น ครูผสู้ อนทุกรายวิชาก�ำหนดหัวข้อหลักเรือ่ งเดียวกัน แต่ละรายวิชาเรียน
4 ระดับคือ การบูรณาการภายในสาขาวิชา (disciplinary), การบูรณาการ เนื้อหาย่อยที่จะสอนแยกกันออกไป แต่เนื้อหาทั้งหมดเชื่อมโยงกัน
แบบพหุวิทยาการ (multidisciplinary integration), การบูรณาการ และอ้างอิงความรู้ของแต่ละรายวิชาเข้ามาบูรณาการร่วมกัน ผู้เรียน
แบบสหวิทยาการ (interdisciplinary integration) และการบูรณาการ จะได้น�ำความรู้ในแต่ละรายวิชามาเชื่อมโยงกันกับวิชาอื่นๆ ได้เห็น
แบบข้ามสาขาวิชา (transdisciplinary integration) สามารถอธิบาย ความสัมพันธ์ของแต่ละรายวิชา เช่น ครู 4 วิชา สอนเรื่องไฟฟ้า
กระบวนการได้ดังนี้ เป็นเรื่องหลักเหมือนกัน ครูวิทยาศาสตร์สอนเรื่องแหล่งจ่ายไฟฟ้า
การบูรณาการภายในสาขาวิชา คือ การจัดการเรียนรูแ้ บบสะเต็ม ครูเทคโนโลยีสอนเรื่องการต่อวงจรไฟฟ้า ครูวิศวกรรมศาสตร์
ที่แยกกันเรียนรู้เฉพาะเนื้อหาและทักษะปฏิบัติของรายวิชาตนเอง สอนเรื่องการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า และครูคณิตศาสตร์สอนเรื่อง
เช่น วิชาวิทยาศาสตร์เรียนเรื่องไฟฟ้าเบื้องต้น วิชาเทคโนโลยีเรียน การค�ำนวณค่าไฟฟ้า ผูเ้ รียนก็จะคิดต่อไปว่าจะน�ำไปใช้ในชีวติ ประจ�ำวัน
เรื่อง ไฟฟ้าเบื้องต้น วิศวกรรมศาสตร์เรียนเรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น ได้อย่างไร
22
THE
21
st
CENTURY
TEACHER

การบูรณาการแบบสหวิทยาการ คือ การจัดการเรียนรู้แบบ เหล่านัน้ เป็นหลัก ความล�ำบากของการจัดสะเต็มในรายวิชาทีไ่ ม่เหมาะสม


สะเต็มทีค่ รูผสู้ อนอย่างน้อย 2 วิชา มาจัดกิจกรรมร่วมกันโดยน�ำความรู้ ก็ตอ้ งมีการปรับเปลีย่ น จึงมีพฒั นาการของการจัดการศึกษาแบบสะเต็ม
ของอีกวิชาหนึง่ มาใช้รว่ มกับอีกวิชาหนึง่ ซึง่ ไม่ใช่หวั ข้อหลักทีเ่ หมือนกัน มาเป็นแบบสตรีม (STEAM) โดยการเพิม่ ในส่วนของสายศิลปศาสตร์ (Arts)
แต่เป็นหัวข้อที่สามารถน�ำไปใช้ประโยชน์กับอีกวิชาหนึ่งได้ เช่น เข้ามาเกีย่ วข้อง จึงมีการปรับเพิม่ องค์ประกอบการบูรณาการทีน่ อกเหนือ
ครูวิทยาศาสตร์สอนเรื่องการเคลื่อนที่ของอะตอม ครูเทคโนโลยีก็สอน จากการบูรณาการศาสตร์ เป็นการบูรณาการทัง้ ศาสตร์และศิลป์เข้าด้วยกัน
ให้ผู้เรียนท�ำสไลด์เรื่องอะตอม ครูวิศวกรรมศาสตร์ก็สอนให้สร้างแบบ
จ�ำลองอะตอม ครูคณิตศาสตร์ก็สอนค�ำนวณว่าแบบจ�ำลองอะตอม สะเต็ ม ศึ ก ษากั บ การเรี ย นรู ้ แ บบ
ควรมีขนาดเท่าไร ผู้เรียนก็จะได้ใช้ความรู้จากรายวิชาหนึ่งน�ำไปใช้ใน โครงงานเป็นฐาน
อีกรายวิชาหนึ่งที่ไม่ใช่เรื่องเดียวกัน สะเต็มศึกษาเป็นแนวคิดทีจ่ ะต้องอาศัยวิธกี ารเรียนรูแ้ บบโครงงาน
การบูรณาการแบบข้ามสาขาวิชา คือ การจัดการเรียนรู้ เป็นฐานเข้ามาช่วย เนือ่ งจากการก�ำหนดกิจกรรมการเรียนรูส้ ว่ นใหญ่จะ
แบบสะเต็มที่ให้ผู้เรียนได้น�ำความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี พยายามให้ผเู้ รียนได้ท�ำกิจกรรมเป็นชิน้ เป็นกระบวนการ ซึง่ ต้องอาศัย
วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ไปใช้ในชีวิตประจ�ำวัน เป็นการ เทคนิคและกระบวนการเรียนรูแ้ บบโครงงานเป็นฐาน (Project-based
ถ่ายโอนความรู้ที่ได้เล่าเรียนมาไปสู่ชีวิตจริง น�ำไปใช้ประโยชน์ใน Learning : PjBL) การจัดการเรียนรูแ้ บบสะเต็มศึกษาเป็นวิธกี ารทีเ่ หมาะสม
วิชาต่างๆ ได้โดยประยุกต์เข้ากับวิชาต่างๆ โดยน�ำสิ่งที่เรียนรู้ไปใช้ใน กับการจัดการอาชีวศึกษา เนือ่ งจากการจัดการอาชีวศึกษาเน้นการฝึก
การแก้ปญั หา การท�ำโครงการ ประยุกต์ความรูไ้ ปใช้ในสังคมและชุมชน ปฏิบตั ิ เน้นการเรียนรูแ้ บบทักษะฝีมอื ในขณะทีว่ ชิ าพืน้ ฐานทีจ่ ะส่งเสริม
เช่น วิชาสังคมศึกษาต้องการให้ผเู้ รียนท�ำประโยชน์กบั สังคม ก็อาจน�ำ วิชาชีพก็ต้องอาศัยสะเต็มศึกษามาเป็นวิธีการเสริม หรือแม้แต่วิชาชีพ
ความรูส้ ะเต็มไปใช้ท�ำประโยชน์ได้ หรือชุมชนต้องการให้ชว่ ยแก้ปญั หา ก็สามารถใช้วิธีการแบบสะเต็มศึกษาได้
น�้ำเสีย ผู้เรียนก็สามารถท�ำโครงการโดยใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์และคณิตศาสตร์เข้าไปช่วยได้ โดยไม่ตอ้ งเรียนรู้ แนวคิดการจัดกิจกรรมสะเต็ม
เฉพาะในเรื่องนั้นๆ อีกต่อไป 1. ให้วสั ดุมาจ�ำนวนหนึง่ แล้วให้ไปออกแบบตามโจทย์ สร้างเครือ่ งมือ
หรืออุปกรณ์ตามแต่จะท�ำได้จากวัสดุดังกล่าว
่ การรู้สะเต็ม (STEM Literacy) 2. การเริ่ม STEM ต้องเกริ่นน�ำและสร้างเหตุการณ์ น�ำเสนอ
การรู้ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเป็นความสามารถในการให้ความหมาย เรื่องราวให้ผู้เรียนได้เห็นตัวอย่าง จากนั้นตั้งโจทย์ให้คิดและสร้าง
ความเข้าใจ การแปลความ การสร้าง การสื่อสารและการค�ำนวณ 3. เรียนรู้เรื่องราวต่างๆ ในมุมมองวิทยาศาสตร์ + คณิตศาสตร์
น�ำไปใช้ในการพิมพ์และการเขียนทีค่ รอบคลุมในบริบทของเรือ่ งนัน้ ๆ การรู้ + เทคโนโลยี + และต้องสร้างเชิงวิศวกรรมศาสตร์
ในศาสตร์ใดจะน�ำไปสูก่ ารเรียนรูไ้ ด้ดใี นศาสตร์นนั้ เป็นสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ เฉพาะ 4. สิ่งต่างๆ ที่สร้างขึ้นไม่จ�ำเป็นต้องเหมือนกัน ทดสอบเงื่อนไข
ในตัวบุคคล (UNESCO, 2005) การรู้สะเต็มไม่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา เอาเอง
ของวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ 5. แนวคิด STEM ควรเน้นวิทยาศาสตร์ เพราะจะท�ำให้เกิด
แต่เป็นความหมายของตรรกะทีจ่ ะน�ำไปสูก่ ารเรียนรู้ ได้แก่องค์ประกอบ กระบวนการ ไม่ควรใช้เทคโนโลยีหรือคณิตศาสตร์น�ำ เทคโนโลยีควร
ของทักษะ ความสามารถ การรู้จริง กระบวนการ แนวคิด และความ เป็นเครือ่ งมือ คณิตศาสตร์ควรเป็นแค่ตรรกะ วิศวกรรมศาสตร์คอื การ
สามารถทางปัญญาขัน้ สูง (Zollman, 2012) ซึง่ การประเมินความสนใจ ลงมือกระท�ำหรือวิธีการเพื่อแก้ปัญหา
ในการศึกษาสะเต็ม สามารถตั้งข้อค�ำถามในลักษณะแตกต่างกันใน
แต่ละประเด็นเช่น วิทยาศาสตร์เป็นสิ่งที่น่าตื่นเต้น เทคโนโลยีเป็นสิ่ง
ที่น่าหลงใหล วิศวกรรมศาสตร์เป็นสิ่งที่เร้าใจ หรือคณิตศาสตร์เป็น
สิ่งที่ท้าทาย (Tyler-Wood, Knezek, and Christensen, 2010)

่ สะตรีมศึกษา (STEAM Education) $


แม้วา่ การจัดการศึกษาแบบสะเต็มจะประสบความส�ำเร็จในการบูรณาการ
ศาสตร์ อาจจะเหมาะกับรายวิชาในกลุม่ วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
แต่กลับเป็นปัญหากับรายวิชาในกลุม่ ภาษาและสังคมศาสตร์ ทัง้ ทีส่ ามารถ
ใช้ในการเรียนการสอนได้ในทุกวิชาเพราะไม่ได้ค�ำนึงถึงเนือ้ หาของรายวิชา
23
THE
21
st
CENTURY
TEACHER

กิจกรรมการสอนแบบสะเต็มศึกษา
วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ เทคโนโลยี คณิตศาสตร์
(Science) (Engineering) (Technology) (Mathematics)
ตั้งค�ำถาม (เพื่อเข้าใจธรรมชาติ) นิ(เพืยามปั ญหา ท�ำความเข้าใจและพยายาม
่อพัฒนาคุณภาพชีวิต) ตระหนักถึงบทบาทของ แก้ปัญหา
เทคโนโลยีต่อสังคม
พัฒนาและใช้โมเดล พัฒนาและใช้โมเดล ใช้คณิตศาสตร์ในการสร้างโมเดล
ออกแบบและลงมือท�ำการ ออกแบบและลงมือท�ำการ ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม
ค้นคว้า วิจัย ทดลอง ค้นคว้า วิจัย ทดลอง เรียนรู้วิธีการใช้งาน ในการแก้ปัญหา
เทคโนโลยีใหม่ๆ
วิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล ให้ความส�ำคัญกับความแม่นย�ำ
ใช้คณิตศาสตร์ชว่ ยในการค�ำนวณ ใช้คณิตศาสตร์ชว่ ยในการค�ำนวณ เข้าใจบทบาทของเทคโนโลยี ใช้ตัวเลขในการให้ความหมาย
หรือเหตุผล
ในการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์
สร้างค�ำอธิบาย ออกแบบวิธีแก้ปัญหา และวิศวกรรมศาสตร์ พยายามหาและใช้โครงการ
ในการแก้ปัญหา
ใช้หลักฐานในการยืนยันแนวคิด ใช้หลักฐานในการยืนยันแนวคิด ตัดสินใจเลือกใช้เทคโนโลยีโดย สร้ างข้อโต้แย้งและสามารถ
วิพากษ์การให้เหตุผลของผู้อื่น
พิจารณาถึงผลกระทบต่อสังคม
ประเมินและสื่อสารแนวคิด ประเมินและสื่อสารแนวคิด และสิ่งแวดล้อม มองหาและน�ำเสนอระเบียบวิธี
ในการให้เหตุผลซ�้ำๆ

ตัวอย่าง กิจกรรมการประดิษฐ์คิดแบบสะเต็ม สอนให้เกิดการบูรณาการ


กิจกรรมนีส้ ามารถน�ำไปเป็นจุดเริม่ ต้นการสอนแบบสะเต็มศึกษาในทุกรายวิชา โดยครูผสู้ อนจัดหาวัสดุทหี่ าได้งา่ ยภายในสถานศึกษา 4 อย่าง
เป็นตัวแทนของแนวคิด 4 ประการคือ ตัวแทนความเป็นวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ เทคโนโลยีและคณิตศาสตร์ ให้นกั เรียนแบ่งกลุม่ ประมาณ
3-4 คน โดยก�ำหนดโจทย์ที่เหมือนกันทุกกลุ่มคือ
“ก�ำหนดให้ผู้เรียนร่วมกันคิดว่าจะประดิษฐ์สิ่งที่แสดงออกมาเป็นรูปธรรมได้จากรายวิชาที่เรียนอยู่ โดยอาศัยความรู้เดิม
ของผู้เรียน”
ขั้นตอนที่ 1 ให้ผู้เรียนระดมสมองที่จะประดิษฐ์สิ่งของที่เป็นรูปธรรมจากรายวิชาที่เรียน เมื่อตกลงกันได้แล้ว ให้ผู้เรียนหาอุปกรณ์
การเรียนที่เป็นวัสดุเหลือใช้ เช่น กระป๋องนม แก้วพลาสติก กระดาษ ถุงพลาสติก ฯลฯ ตามแนวคิดที่กลุ่มนักเรียนต้องการจะท�ำ
ขั้นตอนที่ 2 ใหผู้เรียนประดิษฐ์สิ่งของจากวัสดุที่แต่ละกลุ่มหามาได้ ตามที่ผู้เรียนได้ร่วมกันคิดและวางแผน เน้นความคิดสร้างสรรค์
(Creative) ไม่จ�ำเป็นที่แต่ละกลุ่มต้องเหมือนกัน แต่ให้ทุกคนได้มีส่วนร่วมในการท�ำ (Collaboration)
ขั้นตอนที่ 3 เมื่อได้สิ่งประดิษฐ์ที่ต้องการ ให้จดบันทึกขั้นตอนที่กลุ่มด�ำเนินการว่ามีกี่ขั้น
ขั้นตอนที่ 4 ให้ผู้เรียนในกลุ่มวัดขนาดของสิ่งประดิษฐ์ว่ามีความกว้าง ยาว สูง เท่าไหร่ ประมาณราคาที่สร้างขึ้น ถ่ายภาพหรือวิดีโอคลิป
ด้วยโทรศัพท์มือถือ
ขั้นตอนที่ 5 ให้ผู้เรียนในกลุ่มร่วมกันสรุปรายละเอียดแบบ STEM
5.1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ขั้นตอนที่สร้างสิ่งประดิษฐ์มีกระบวนการอย่างไร
5.2 เทคโนโลยี ใช้เทคโนโลยีใดเข้ามาช่วยในการสร้าง
5.3 วิศวกรรมศาสตร์ สิ่งที่ท�ำเป็นการประดิษฐ์สอดคล้องเนื้อหารายวิชาอย่างไร
5.4 คณิตศาสตร์ ค�ำนวณสัดส่วนของสิ่งประดิษฐ์ที่สร้างขึ้น ค�ำนวณน�้ำหนัก
ขั้นตอนที่ 6 ให้ผู้เรียนทั้งกลุ่มร่วมกันน�ำเสนอผลงานสิ่งประดิษฐ์ (Communication) ตามขั้นตอนที่สรุปแบบสะเต็ม พร้อมทั้งระบุปัญหา
อุปสรรคและวิธีการแก้ไข ตลอดจนตอบข้อซักถามของกลุ่มอื่นๆ
24
THE
21
st
CENTURY
TEACHER

บทสรุป
ความรูท้ กุ ศาสตร์มคี วามสำ�คัญและความจำ�เป็นไม่ได้ยงิ่ หย่อนกว่ากัน ปรับเปลี่ยนอาชีวศึกษาให้สอดคล้องกับอุตสาหกรรมในยุค 4.0 และ
เพียงแต่การจัดการศึกษาสำ�คัญทีก่ ารบูรณาการศาสตร์ในสาขาต่างๆ ให้ จัดการศึกษาให้สอดคล้องกับยุคที่เน้นการผลิตคนเพื่อสร้างนวัตกรรม
ถูกนำ�ไปใช้ประโยชน์ นำ�ไปประยุกต์เพือ่ ให้เกิดสิง่ ใหม่ๆ นำ�ไปใช้เพือ่ การ จึงจำ�เป็นต้องสร้างความเข้าใจ เข้าถึง ให้กับครูผู้สอนประยุกต์ใช้
แก้ไขปัญหาและป้องกันสิง่ ทีจ่ ะเป็นอันตรายในอนาคต การจัดการศึกษาแบบ สะเต็ม ปรับวิธีเรียนเปลี่ยนวิธีสอนให้เหมาะสมและสอดคล้องกับ
สะเต็มไม่ใช่แฟชัน่ แต่เป็นการจัดการศึกษาทีเ่ น้นผูเ้ รียนเป็นสำ�คัญ เป็น การจัดการอาชีวศึกษา เพื่อการผลิตคนได้ตรงตามความต้องการ
กระบวนการจัดการศึกษาเพือ่ ความยัง่ ยืนแห่งปัญหาและการเรียนรูข้ องผูเ้ รียน ที่แท้จริงของประเทศนั่นเอง
สะเต็มศึกษาเป็นรากฐานในการนำ�ประเทศเข้าสู่ยุคดิจิทัลไทยแลนด์

บรรณานุกรม
ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ. (2559). การประชุมชี้แจงนโยบายการปฏิรูปการศึกษาให้แก่ข้าราชการส่วนกลาง กระทรวงศึกษาธิการ.
ส�ำนักงานรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ. 3 สิงหาคม 2559.
สิรินภา กิจเกื้อกูล. (2558). สะเต็มศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 หน้า 201-207.
สุวทิ ย์ เมษินทรีย.์ (2559). แนวคิดเกีย่ วกับประเทศไทย 4.0. (ออนไลน์). http://planning2.mju.ac.th/goverment/20111119104835_planning/
Doc_25590823143652_358135.pdf
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2558). มาตรฐานสะเต็มศึกษา. กรุงเทพฯ : ซัคเซสพับลิเคชั่น.

Gonzalez, H.B. and Kuenzi, J.J. (2012). Science, Technology, Engineering, and Mathematics (STEM) Education: A Primer.
Congressional Research Service.
Holdren, J.P. (2013). Federal Science, Technology, Engineering, and Mathematics (STEM) Education 5-Year Strategic
Plan. Washington, D.C.: A Report from the Committee on STEM Education National Science and Technology Council.
Krupczak, J. and Disney, K. (2013). Technological Literacy: Assessment and Measurement of Learning Gains. 120th ASEE Annual
Conference & Exposition. American Society for Engineering Education; Atlanta, June 23-26, 2013.
Tyler-Wood, T., Knezek, G. and Christensen, R. (2010). Instruments for Assessing Interest in STEM Content and Careers. Journal of
Technology and Teacher Education.18(2); 2010, pp. 341-363.
UNESCO. (2005). Aspects of Literacy Assessment: Topics and Issues from the UNESCO Expert Meeting, 10 -12 June, 2005. UNESCO:
Paris. (Online). http://unesdoc.unesco.org/images/0014/001401/140125eo.pdf
Vasquez, J.A., Sneider, C., and Comer, M. (2013). STEM Lesson Essentials: Integrating Science, Technology, Engineering, and
Mathematics. Portsmouth, NH: Heinemann.
Zollman, A. (2012). Learning for STEM Literacy: STEM Literacy for Learning. School Science and Mathematics. Volume 112, Issue
1 January 2012 Pages 12-19.

25
THE
21
st
CENTURY
TEACHER

แบบประเมินการรูส้ ะเต็ม
(STEM Literacy Inventory : STEMLI)

คำ�ชี้แจง
แบบประเมินการรู้สะเต็มเป็นการประเมินการรับรู้แบบบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ที่อยู่ในตัว
ผูร้ บั การประเมิน เป็นการประเมินตนเองเพือ่ ทราบถึงระดับการรับรูส้ ะเต็ม โปรดตอบให้ตรงตามความเป็นจริงเพือ่ ประโยชน์ตอ่ ตัวท่านเอง และ
สามารถนำ�ไปใช้ประเมินการรับรู้ของท่านเพื่อประโยชน์ในการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมต่อไป

เกณฑ์การประเมินที่กำ�หนดในข้อคำ�ถาม
เห็นด้วยอย่างยิ่ง เท่ากับ 2 คะแนน
เห็นด้วย เท่ากับ 1 คะแนน
ไม่แน่ใจ เท่ากับ 0 คะแนน
ไม่เห็นด้วย เท่ากับ -1 คะแนน $
ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง เท่ากับ -2 คะแนน

จงเลือกข้อที่ตรงกับการรับรู้ของท่าน
เห็นด้วยอย่างยิ่ง

ไม่เห็นด้วยอย่างยิง่
ข้อคำ�ถาม
ไม่เห็นด้วย
ลำ�ดับที่
เห็นด้วย

ไม่แน่ใจ

วิทยาศาสตร์
1 ข้าพเจ้าตะหนักถึงความสำ�คัญของวิทยาศาสตร์ในชีวิตประจำ�วัน

ข้าพเจ้าใช้ความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์อธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ มากกว่า
2 การใช้ความเชื่อที่เล่าขาน
ข้าพเจ้าสามารถบอกหลักฐานหรือการอ้างอิงทางวิทยาศาสตร์ในการแก้ปัญหา
3 ในชีวิตประจำ�วัน

4 ข้าพเจ้าสนใจใฝ่รู้ที่จะค้นหาข้อมูลที่เป็นจริงมาสนับสนุนความคิดของข้าพเจ้า

26
THE
21
st
CENTURY
TEACHER

ไม่เห็นด้วยอย่งยิ่ง
เห็นด้วยอย่างยิ่ง
ข้อคำ�ถาม

ไม่เห็นด้วย
ลำ�ดับที่

เห็นด้วย

ไม่แน่ใจ
5 ข้าพเจ้าตั้งสมมุติฐานกับสิ่งต่างๆ ที่ยังไม่รู้ความจริงมากกว่าการคาดคะเน

6 ข้าพเจ้าสรุปเรื่องราวที่เกิดขึ้นจากข้อมูลที่ชัดแจ้งเป็นเชิงประจักษ์

7
ข้าพเจ้ามีเจตคติทด่ี ตี อ่ วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ในการแก้ปญั หาและการทำ�งาน
ในชีวิตประจำ�วัน
เทคโนโลยี
1 ข้าพเจ้าเห็นว่าเทคโนโลยีเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการใช้ชีวิตประจำ�วัน
2 ข้าพเจ้าติดตามเทคโนโลยีที่สนใจอยู่เสมอ
3 ข้าพเจ้าจะใช้เทคโนโลยีก็ต่อเมื่อเห็นว่าเป็นสิ่งที่ง่ายต่อการใช้งาน
4 ข้าพเจ้ายอมรับว่าเทคโนโลยีสามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์ได้จริง
5 ข้าพเจ้าคิดว่าเทคโนโลยีเป็นสิ่งจำ�เป็นต่อการทำ�งานและการดำ�รงชีวิต
6 ข้าพเจ้าใช้เทคโนโลยีอยู่เป็นประจำ� แตกต่างกันไปตามแต่ประเภทของงาน
7 ข้าพเจ้าหลงใหลในเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่ออกมาให้ใช้งานอยู่ตลอดเวลา
วิศวกรรมศาสตร์
1 ข้าพเจ้าคิดว่าการลงมือปฏิบัติด้วยตนเองเป็นวิธีการเรียนรู้ที่ดีที่สุด
2 ข้าพเจ้าชอบที่จะคิดค้นสิ่งใหม่หรือวิธีการใหม่เพื่อนำ�ไปใช้ประโยชน์
3 ข้าพเจ้าทำ�งานอย่างเป็นระบบและมีขั้นตอน
4 ข้าพเจ้าแก้ไขสิ่งต่างๆ ที่ชำ�รุดเสียหายด้วยตนเอง โดยไม่พึ่งพาคนอื่น
5 ข้าพเจ้าคิดว่ามีวิธีการหลากหลายวิธีที่จะนำ�ไปสู่ความสำ�เร็จ
6 ข้าพเจ้าตื่นเต้นในการที่ได้สร้างสิ่งใหม่
ข้าพเจ้าต้องการทำ�สิ่งต่างๆ ด้วยตนเอง ด้วยการทำ�ตามคู่มือหรือผู้ที่เคย
7 ปฏิบัติให้ดูมาแล้ว
27
THE
21
st
CENTURY
TEACHER

ไม่เห็นด้วยอย่งยิ่ง
เห็นด้วยอย่างยิ่ง
ข้อคำ�ถาม

ไม่เห็นด้วย
ลำ�ดับที่

เห็นด้วย

ไม่แน่ใจ
คณิตศาสตร์
1 ข้าพเจ้าคิดหาเหตุผลของสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นอยู่เสมอ
2 ข้าพเจ้าชอบการพิสูจน์หลักการต่างๆ จากสูตรที่มีอยู่เดิม
3 ข้าพเจ้าจะลงมือทบทวนท�ำซ�้ำจนได้วิธีการที่ถูกต้อง
4 ข้าพเจ้าแก้ไขปัญหาอย่างมีตรรกะและเหตุผล
5 ข้าพเจ้าฝึกฝนการค�ำนวณโดยเริ่มจากความเข้าใจสูตรต่างๆ
6 ข้าพเจ้าพยายามแก้โจทย์สมการอย่างเต็มที่แม้จะไม่ส�ำเร็จ
$
7 ข้าพเจ้ารู้สึกว่าคณิตศาสตร์เป็นสิ่งที่ท้าทายความสามารถ

ค่าเฉลี่ยรวม

เกณฑ์การประเมินการรู้สะเต็ม
คะแนนระหว่าง 29 ถึง 48 หมายถึง ท่านพร้อมมากที่สุดที่จะเรียนรู้ในแบบสะเต็มศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ทางด้าน
วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ลงมือปฏิบัติแก้ปัญหาและใช้เทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธิภาพ
คะแนนระหว่าง 1 ถึง 28 หมายถึง ท่านพร้อมที่จะเรียนรู้ในแบบสะเต็มศึกษา แต่ขาดการบูรณาการความรู้ในบางด้าน ไม่ถนัดใน
การปฏิบัติหรือแก้ปัญหา และใช้เทคโนโลยียังไม่คล่องแคล่ว
คะแนนระหว่าง 0 ถึง-28 หมายถึง ท่านยังไม่พร้อมที่จะเรียนรู้ในแบบสะเต็มศึกษา ยังไม่สามารถบูรณาการความรู้ทางด้าน
วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ไม่ถนัดที่จะลงมือปฏิบัติแก้ปัญหาและไม่ใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
คะแนนระหว่าง-29 ถึง-48 หมายถึง ท่านไม่เหมาะกับการเรียนรู้ในแบบสะเต็มศึกษา

28

You might also like