You are on page 1of 4

เขียนเรียงความภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (พิมพ์) บรรยาย ลักษณะ แนวคิด ของชุดไทยของห้อง จานวน 3

ย่อหน้า (3 paragraphs) ความยาว 1 หน้ากระดาษ A4 Font Angsana New 16 (ภาษาไทย 1 หน้า ภาษาอังกฤษ 1
หน้า) และ Upload File (Microsoft Word) ทีห
่ วั ข้อ Thai Recycled Costume Essay (Edmodo) *ไม่กน ้ ั หน้าเพิ่ม
ไม่ปรับระยะบรรทัด (Single Line Space only)

Thai Recycled Costume Essay

ชุดไทยของห้องเราทีใ่ ช้เข้าร่วมการแข่งขันประกวดชุดไทยรีไซเคิลในครัง้ นี้


เป็ นชุดไทยประยุกต์
ได้รบ ั แรงบันดาลใจมาจากชุดประกวดการแข่งขันนางแบบชือ ่ ดัง
โดยมีชฎาซึง่ สือ ่ ถึงเอกลักษณ์ ของชุดไทย
ในขณะทีก ่ ระโปรงเป็ นการผสมผสานระหว่างความเป็ นไทยและสากล
โดยใช้ลายไทยเข้ามาตกแต่งและปรับลักษณะบางส่วนเช่นจีบกระโปรงให้มีคว
ามเป็ นสากลมากขึน ้ ทาให้ชุดดูโดดเด่น มีเอกลักษณ์ และทันสมัย
แนวคิดหลักคือการออกแบบชุดให้สือ ่ ถึงเอกลักษณ์ ความเป็ นไทยและมีความส
วยงาม ทันสมัย
พร้อมทัง้ นาวัสดุเหลือใช้ในชีวต ิ ประจาวันมาสร้างสรรค์เป็ นชุดทีม ่ ีเอกลักษณ์ เ
ฉพาะตัว
เพือ ่ สือ่ ให้เห็นถึงความสาคัญของการนาวัสดุเหลือใช้กลับมาประยุกต์ใช้ใหม่อีก
ครัง้
อีกทัง้ ยังทาให้ตระหนักถึงความสาคัญของการอนุรกั ษ์ สงิ่ แวดล้อมและทรัพยาก

ซึง่ การรีไซเคิลก็เป็ นหนึ่งในวิธีการสาคัญทีเ่ ราจะช่วยอนุ รกั ษ์ โลกของเราให้น่า
อยูม ้ ต่อไป
่ ากยิง่ ขึน

ในส่วนรายละเอียดของชุดนัน ้ ด้านบนสุดประกอบด้วยชฎา
ในการทาชฎาจะใช้การขึน ้ โครงด้วยลวด แปะทับด้วยหนังสือพิมพ์
ประดับตกแต่งโดยการพ่นสีทอง
กระบวนการทาจะใช้เทคนิคเดียวกันกับการทากระทง
ในส่วนของชุดนัน ้ เป็ นกระโปรงยาวแหวกด้านหน้า
ทาจากกระดาษโดยใช้เปเปอร์มาเช่เป็ นหลัก
ซึง่ เป็ นวิธีทีจ่ ะทาให้กระดาษนัน ้ ขาดได้ยาก
สามารถวาดลวดลายลงไปได้อย่างสวยงาม
ส่วนของอกใช้เปเปอร์มาเช่ครอบทับบนลูกโป่ งและวาดตกแต่งด้วยลายไทยเช่
นเดียวกัน ต่อมาคือส่วนกระโปรงด้านล่าง วิธีการคือ
นากระดาษหนังสือพิมพ์มาจับจีบ ทับสลับด้วยถุงพลาสติก
ด้านในเป็ นผ้าเย็บปะสีขาว และใช้ขอบยางยืดใหญ่ในส่วนของเอว
จากนัน้ นาฝาขวดน้าร้อยเชือกและฝากระป๋ องเหล็กมาร้อยเป็ นเข็มขัด
เพิม
่ เติมด้วยการนากระดาษลังหรือกระดาษแข็งมาทาในส่วนการประดับตกแ
ต่งเข็มขัด นอกจากนี้กระดาษลังยังนามาทาเป็ นรองเท้าอีกด้วย
สร้อยคอนัน ้ จะทาด้วยเชือก
และบริเวณไหล่จะใช้ลวดและกระดาษแข็งมาขึน ้ โครงเป็ นลายไทย
ในส่วนของอัญมณีเป็ นการนากากเพชรโรยตกแต่งรอบๆ

การประกวดทาชุดไทยรีไซเคิลในครัง้ นี้มีทง้ ั ข้อดีและข้อคิดหลายๆอย่าง


แฝงอยูใ่ นผลงาน ประโยชน์หลักๆทีเ่ ราได้คอ ื การลดปัญหาของขยะ
กากเสียซึง่ นาไปสูก ่ ารเกิดมลพิษและปัญหามลภาวะได้เมือ ่ ถึงเวลาต้องจากัดมั
นทิง้ ไปเสีย การรีไซเคิลทาให้เราไม่ตอ ้ งนาขยะเหล่านี้ไปกาจัด
ไม่วา่ จะเป็ นการเผาทาลายหรือปล่อยลงแม่น้าลาคลองเพราะมันสามารถนาผลเ
สียกลับมาทีม ่ นุษยน์เราได้ เช่นสภาวะเรือนกระจกหรือแม้แต่แหล่งน้าเน่ าเสีย
นอกจากนี้เรายังสามารถลดค่าใช้จา่ ยทางด้านพลังงานทีต ่ อ้ งนาเข้าจากต่างประ
เทศได้อีกด้วย
และประโยชน์ทด ี่ ท
ี สี่ ุดในการประกวดการทาชุดรีไซเคิลในครัง้ นี้คอ ื สอนให้พว
กเราเป็ นคนมีความคิดสร้างสรรค์
เรียนรูท ้ ีจ่ ะวางแผนและทางานร่วมกันเป็ นกลุม ่
ผลงานชิน ้ นี้จะเป็ นผลงานทีม ่ ีคา่ มากสาหรับเราทุกคน
ไม่มีใครสามารถหาซื้อได้เพราะเราคิดและทามันขึน ้ มาเอง
ซึง่ ในโลกนี้ จะมีอยูเ่ พียงชิน ้ เดียว
การทางานครัง้ นี้พวกเรายังไม่ลืมทีจ่ ะใส่วฒ ั นธรรมความเป็ นไทยของเราผ่าน
ชุดโดยการออกแบบให้มีชฎาสวมทีศ ่ รีษะด้วย
งานชิ้นนี้ทาให้เราตระหนักถึงปัญหาสภาวะโลกร้อนทีเ่ กิดขึน ้ ได้จากการเผ่าทา
ลายขยะในแต่ละวันเป็ นจานวนมาก
เราจึงอยากร่วมแรงร่วมใจกันลดปัญหานี้และสร้างสรรค์ผลงานทีท ่ าให้คนรุน
่ ใ
หม่หน ั กลับมามองการแต่งกายแบบไทยอีกครัง้
Our Thai dress used to participate in the Thai Recycled costume
is the amalgamation of the original and modern concept, inspired by
the famous model competition. The headdress itself is called “Chada”
help to promote Thai identity. The skirt part is the combination of
Thai and international as Thai style is use to adjust and decorates
some part of the skirt, such as pleat skirts, in which it makes the
costume more universal and unique. The main concept of the design is
to represent the modern beauty and the identity of Thai dress to
demonstrate the importance of re-use of recycled materials in daily
life that could carry out a remarkable work. This is also to encourage
the awareness and the importance of environmental conservation. As
a result, recycling is one of the key that can help to preserve the
planet.

The headdress structure is made from wire with newspaper on


the outside decorating with gold tint using the same techniques as
kratong. For the dress, it was made from recycle paper mâché which
is a composite material consisting of paper pieces , reinforced by glue
or starch. This will make the paper dress has a stronghold without
tearing apart easily and able to paint an elegant thai pattern on it. On
the chest, we used paper mâché over balloons to get the perfect
structure. Next is the bottom part which is a long skirt, using
newspaper to create pleats with plastic bag over it on the outside and
sew white fabric on the inside, as well as using elastic thread for the
waist. Then, we used water caps and can caps on ropes from belt
decoration. Moreover, we used ropes for necklace, and for the
shoulder part, we used the same techniques with the headdress but
white hard papers instead of newspaper to create Thai patterns. Lastly,
we used some paperboards to make the shoes.

Finally, our Thai recycled costume contest has proved to gave us


a lot of facts and connotation as well. The benefits for this recycled
costume is that they reduces solid waste in landfills plus conserving
energy. Several wastes such as plastic bottles and/or soda cans were
being thrown out into rivers, or being burned away everyday that it
causes such harmful pollution problems in our environment. Utilizing
those unused wastes would greatly help ensure that all the materials
and energy doesn’t simply go to waste. Recycling Thai clothes could
also provide in raising awareness not only in about saving the earth,
but in preserving Thai’s very own culture as well. Nowadays, modern
or brand-named clothes proves to be influential in our modern society,
resulting in traditional beauty started to fading away. This method
could help people to realize the importance of the country’s traditional
art that has been passed on from generations to generations.

You might also like