You are on page 1of 2

ความสาคัญของปัญหา

ในปัจจุบันไม่อาจปฏิเสธได้เลยว่าการท่องเที่ยวของประเทศไทยได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวทั้งชาว
ไทยและชาวต่างชาติเป็นจานวนมาก ซึ่งดูได้จากการจัดอันดับขององค์กรการท่องเที่ยวโลกแห่งสหประชาชาติ
(UNWTO – United Nations World Tourism Organization) ว่าไทยเป็นประเทศที่มีจานวนนักท่องเที่ยวมาก
ที่สุดเป็นอันดับ 9 ของโลก เมื่ออ้างอิงจากข้อมูลของสานักงานสถิติแห่งชาติพบว่า อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของ
ไทยมีการขยายตัวมากขึ้นอย่างต่อเนื่องในทุกปี ดังแสดงในภาพที่ 1

ภาพที่ 1 จานวนนักท่องเที่ยว (ทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ) ในประเทศไทย


ที่มา : สานักงานสถิติแห่งชาติ
จากข้อมูลตามกราฟข้างต้น พบว่า ในปี พ.ศ. 2555 จานวนนักท่องเที่ยวใน 111.57 ล้านคน ซึ่งเพิ่มขึ้น
จากปี พ.ศ. 2554 14.8 % ทั้งนี้ในปี พ.ศ. 2556 จานวนนักท่องเที่ยวอยู่ที่ 141.85 ล้านคน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ.
2556 คิดเป็น 10.7 % จากนั้นในปี พ.ศ. 2557 และ 2558 จานวนนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น 3.9 % ต่อปี และ 8 % ต่อ
ปีตามลาดับ ซึ่งจะเห็นได้ว่าจานวนนักท่องเที่ยวในไทยมีอัตราการขยายตัวเพื่มขึ้นอยู่ที่ประมาณ 5 – 15 % โดย
ข้ อ มู ล จาก ททท. พบว่ า ปี พ.ศ. 2558 รายได้ ที่ ได้ จ ากการท่ อ งเที่ ย วทั้ ง จากชาวไทยและชาวต่ า งชาติ อ ยู่ ที่
1,861,873 ล้านบาท
เนื่องจากการท่องเที่ยวส่งผลต่อเศรษฐกิจของประเทศไทย จึงจะเห็นได้ว่ารัฐบาลพยายามออกนโยบาย
หรือกิจกรรมต่าง ๆ เป็นจานวนมากเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวภายในประเทศและดึงดูดนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติใน
เข้ามาท่องเที่ยวในไทย ซึ่งหนึ่งในโครงการของรัฐบาลเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว คือ กิจกรรม Village Tourism
4.0 ภายใต้โครงการ Village to the World 4.0 ซึ่งจัดขึ้ นโดย ททท. จุดประสงค์ ของโครงการนี้เพื่ อส่ งเสริม
กิจกรรมของแหล่งท่องเที่ยวท้องถิ่น และยกระดับชีวิตความเป็นอยู่ของคนในท้องถิ่นนั้นให้ดีขึ้น โดยทาง ททท. ได้
มีการคัดเลือกแหล่งท่องเที่ยวทั้งหมด 10 แห่งทั่วทุกภาคของประเทศ ซึ่งเน้นการส่งเสริมการท่องเที่ยวของชุมชน
และจัดกิจกรรมขึ้นเพื่อให้นักท่องเที่ยวสามารถสัมผัสวิถีชีวิต และวัฒนธรรมของคนในท้องถิ่นได้อย่างเต็มที่ อีกทั้ง
ยังได้มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น เพื่อเป็นการสร้างรายได้ให้กับคนในท้องถิ่นเพิ่มขึ้นอีกด้วย
จากงานวิจัยของมหาวิทยาลัยหอการค้าไทยเกี่ยวกับพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติ
พบว่านักท่องเที่ยวทั้ง 2 กลุ่มนิยมท่องเที่ยวในสถานที่ท่องเที่ยวแบบธรรมชาติ และเก็บเกี่ยวประสบการณ์จากการ
สัมผัสวิถีชีวิตของคนท้องถิ่น ซึ่งจากข้อมูลดังกล่าวอาจส่งผลให้โครงการ Village to the World 4.0 ได้รับความ
นิยมจากนักท่องเที่ยว และอาจส่งผลทาให้เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศมีแนวโน้มที่ดีขึ้น อีกทั้งชีวิตความเป็นอยู่
และรายได้ครัวเรือนของคนในท้องถิ่นก็จะดีขึ้นตามไปด้วย
อย่างไรก็ตาม กิจกรรม Village Tourism 4.0 นั้น มีการคิดค่าใช้จ่ายในการทากิจกรรมร่วมกับคนใน
ท้องถิ่นเพื่อศึกษาวิถีชีวิตและสัมผัสธรรมชาติที่ค่อนข้างสูง อาจจะสามารถรองรับได้เฉพาะนักท่องเที่ยวกลุ่มหนึ่งที่
มีกาลังทรัพย์ในการจ่าย อีกทั้งสถานที่ที่เข้าร่วมกิจกรรมนี้ไม่ได้เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่ อเสียงมากนัก จึงอาจทา
ให้ผลลัพธ์ ทั้งในเรื่องของเศรษฐกิจที่อาจโตขึ้น หรือแม้แต่ชีวิตความเป็นอยู่ หรือรายได้ครัวเรือนของคนในท้องถิ่น
อาจไม่ได้ตามที่คาดการณ์ไว้ ดังนั้นหากมีการศึกษาว่าปั จจัยนี้จะส่งผลต่อผลลัพธ์ที่ต้องการจากโครงการนี้มากน้อย
แค่ไหน หรือควรหาแนวทาง มาตรการแก้ไข หรือ ควรได้รับการสนับสนุนเพิ่มเติมเพื่อให้โครงการนี้บรรลุเป้าหมาย
ทีต่ ้องการได้อย่างไร

วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1. เพื่อศึกษารายได้ครัวเรือนของคนท้องถิ่นที่เปลี่ยนแปลงไปจากกิจกรรม Village Tourism 4.0
2. เพื่อศึกษาหาแนวทางแก้ไขหากรายได้ครัวเรือนของคนท้องถิ่นเปลี่ยนแปลงน้อยมากหรือไม่เปลี่ยนแปลงเลย
จากกิจกรรม Village Tourism 4.0

You might also like