You are on page 1of 4

เขียนเรี ยงความภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (พิมพ)์ บรรยาย ลักษณะ แนวคิด ของชุดไทยของห้อง จาํ นวน 3 ยอ่ หน้า (3

paragraphs) ความยาว 1 หน้ากระดาษ A4 Font Angsana New 16 (ภาษาไทย 1 หน้า ภาษาอังกฤษ 1 หน้า) และ
Upload File (Microsoft Word) ที่หัวขอ
้ Thai Recycled Costume Essay (Edmodo) *ไมก ้
่ ั นหน ่ ไมป
้ าเพิม ่ รับระยะ
บรรทัด (Single Line Space only)

Thai Recycled Costume Essay


ชุดไทยของห้องเราที่ใชเ้ ขา้ ร่วมการแขง่ ขันประกวดชุดไทยรี ไซเคิลใน
ครัง้ นี้ เป็ นชุดไทยประยุกต์ ไดร้ ั บแรงบันดาลใจมาจากชุดประกวดการแขง่ ขันนาง
แบบชื่อดัง โดยมีชฎาซ่ึงส่อ ื ถึงเอกลักษณ์ของชุดไทย ในขณะที่กระโปรงเป็ นการ
ผสมผสานระหวา่ งความเป็ นไทยและสากล โดยใชล ้ ายไทยเขา้ มาตกแตง่ และปรับ
ลักษณะบางสว่ นเชน ่ จีบกระโปรงให้มีความเป็ นสากลมากขึ้น ทาํ ให้ชุดดูโดดเดน ่
มีเอกลักษณ์ และทันสมัย แนวคิดหลักคือการออกแบบชุดให้ส่อ ื ถึงเอกลักษณ์
ความเป็ นไทยและมีความสวยงาม ทันสมัย พร้อมทังน ้ ําวัสดุเหลือใชใ้ นชีวต ิ ประจาํ
วันมาสร้างสรรคเ์ ป็ นชุดที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว เพื่อส่อ ื ให้เห็นถึงความสาํ คัญของ
การนําวัสดุเหลือใชก ้ ลับมาประยุกตใ์ ชใ้ หมอ่ ีกครัง้ อีกทังย้ ั งทาํ ให้ตระหนักถึงความ
สาํ คัญของการอนุ รักษ์สงิ่ แวดลอ ้ มและทรัพยากร ซ่ึงการรี ไซเคิลก็เป็ นหนึ่ งในวิธี
การสาํ คัญที่เราจะชว่ ยอนุ รักษ์โลกของเราให้น่าอยูม ่ ากยิง่ ขึ้นตอ่ ไป

ในสว่ นรายละเอียดของชุดนัน ้ ดา้ นบนสุดประกอบดว้ ยชฎา ในการทาํ


ชฎาจะใชก ้ ารขึ้นโครงดว้ ยลวด แปะทับดว้ ยหนังสอ ื พิมพ์ ประดับตกแตง่ โดยการ
พน ่ สท ี อง กระบวนการทาํ จะใชเ้ ทคนิ คเดียวกันกับการทาํ กระทง ในสว่ นของชุด
นัน ้ เป็ นกระโปรงยาวแหวกดา้ นหน้า ทาํ จากกระดาษโดยใชเ้ ปเปอร์มาเชเ่ ป็ นหลัก
ซ่ึงเป็ นวิธีท่ีจะทาํ ให้กระดาษนัน ้ ขาดไดย้ าก สามารถวาดลวดลายลงไปไดอ ้ ยา่ ง
สวยงาม สว่ นของอกใชเ้ ปเปอร์มาเชค ่ รอบทับบนลูกโป่งและวาดตกแตง่ ดว้ ยลาย
ไทยเชน ่ เดียวกัน ตอ่ มาคือสว่ นกระโปรงดา้ นลา่ ง วิธีการคือ นํากระดาษ
หนังสอ ื พิมพม ์ าจับจีบ ทับสลับดว้ ยถุงพลาสติก ดา้ นในเป็ นผา้ เย็บปะสขี าว และใช้
ขอบยางยืดใหญใ่ นสว่ นของเอว จากนัน ้ นําฝาขวดนํา้ ร้อยเชือกและฝากระป๋อง
เหล็กมาร้อยเป็ นเข็มขัด เพิม ่ เติมดว้ ยการนํากระดาษลังหรื อกระดาษแข็งมาทาํ ใน
สว่ นการประดับตกแตง่ เข็มขัด นอกจากนี้ กระดาษลังยังนํามาทาํ เป็ นรองเทา้ อีก
ดว้ ย สร้อยคอนัน ้ จะทาํ ดว้ ยเชือก และบริ เวณไหลจ่ ะใชล ้ วดและกระดาษแข็งมาขึ้น
โครงเป็ นลายไทย ในสว่ นของอัญมณี เป็ นการนํากากเพชรโรยตกแตง่ รอบๆ
การประกวดทาํ ชุดไทยรี ไซเคิลในครัง้ นี้ มีทังข ้ อ ้ ดีและขอ ้ คิดหลายๆอยา่ งแฝง
อยูใ่ นผลงาน ประโยชน์หลักๆที่เราไดค ้ ือการลดปัญหาของขยะ กากเสยี ซ่ึงนําไปสู ่
การเกิดมลพิษและปัญหามลภาวะไดเ้ มื่อถึงเวลาตอ ้ งจาํ กัดมันทิ้งไปเสยี การ
รี ไซเคิลทาํ ให้เราไมต ้ งนําขยะเหลา่ นี้ ไปกาํ จัด ไมว่ า่ จะเป็ นการเผาทาํ ลายหรื อ
่ อ
ปลอ่ ยลงแมน ่ ํา้ ลาํ คลองเพราะมันสามารถนําผลเสยี กลับมาที่มนุ ษยน์เราได้ เชน ่
สภาวะเรื อนกระจกหรื อแมแ ่ หลง่ นํา้ เน่าเสยี นอกจากนี้ เรายังสามารถลดคา่ ใช้
้ ตแ
จา่ ยทางดา้ นพลังงานที่ตอ ้ งนําเขา้ จากตา่ งประเทศไดอ ้ ีกดว้ ย และประโยชน์ท่ีดี
ที่สุดในการประกวดการทาํ ชุดรี ไซเคิลในครัง้ นี้ คือสอนให้พวกเราเป็ นคนมีความ
คิดสร้างสรรค์ เรี ยนรู้ ท่ีจะวางแผนและทาํ งานร่วมกันเป็ นกลุม ่ ผลงานชิ้นนี้ จะเป็ น
ผลงานที่มีคา่ มากสาํ หรับเราทุกคน ไมม ่ ีใครสามารถหาซ้ ือไดเ้ พราะเราคิดและทาํ
มันขึ้นมาเอง ซ่ึงในโลกนี้ จะมีอยูเ่ พียงชิ้นเดียว การทาํ งานครัง้ นี้ พวกเรายังไมล่ ืมที่
จะใสว่ ั ฒนธรรมความเป็ นไทยของเราผา่ นชุดโดยการออกแบบให้มีชฎาสวมที่
ศรี ษะดว้ ย งานชิ้นนี้ ทาํ ให้เราตระหนักถึงปัญหาสภาวะโลกร้อนที่เกิดขึ้นไดจ้ าก
การเผา่ ทาํ ลายขยะในแตล่ ะวันเป็ นจาํ นวนมาก เราจึงอยากร่วมแรงร่วมใจกันลด
ปัญหานี้ และสร้างสรรคผ ์ ลงานที่ทาํ ให้คนรุ่นใหมห ่ ั นกลับมามองการแตง่ กายแบบ
ไทยอีกครัง้

Our Thai dress used to participate in the Thai Recycled


costume is the amalgamation of the original and modern
concept, inspired by the famous model competition. The
headdress itself is called “Chada” help to promote Thai identity.
The skirt part is the combination of Thai and international as
Thai style is use to adjust and decorates some part of the skirt,
such as pleat skirts, in which it makes the costume more
universal and unique. The main concept of the design is to
represent the modern beauty and the identity of Thai dress to
demonstrate the importance of re-use of recycled materials in
daily life that could carry out a remarkable work. This is also to
encourage the awareness and the importance of environmental
conservation. As a result, recycling is one of the key that can
help to preserve the planet.
The headdress structure is made from wire with
newspaper on the outside decorating with gold tint using the
same techniques as kratong. For the dress, it was made from
recycle paper mâché which is a composite material consisting
of paper pieces , reinforced by glue or starch. This will make
the paper dress has a stronghold without tearing apart easily
and able to paint an elegant thai pattern on it. On the chest, we
used paper mâché over balloons to get the perfect structure.
Next is the bottom part which is a long skirt, using newspaper
to create pleats with plastic bag over it on the outside and sew
white fabric on the inside, as well as using elastic thread for the
waist. Then, we used water caps and can caps on ropes from
belt decoration. Moreover, we used ropes for necklace, and for
the shoulder part, we used the same techniques with the
headdress but white hard papers instead of newspaper to
create Thai patterns. Lastly, we used some paperboards to
make the shoes.

Finally, our Thai recycled costume contest has proved to


gave us a lot of facts and connotation as well. The benefits for
this recycled costume is that they reduces solid waste in
landfills plus conserving energy. Several wastes such as plastic
bottles and/or soda cans were being thrown out into rivers, or
being burned away everyday that it causes such harmful
pollution problems in our environment. Utilizing those unused
wastes would greatly help ensure that all the materials and
energy doesn’t simply go to waste. Recycling Thai clothes
could also provide in raising awareness not only in about
saving the earth, but in preserving Thai’s very own culture as
well. Nowadays, modern or brand-named clothes proves to be
influential in our modern society, resulting in traditional beauty
started to fading away. This method could help people to
realize the importance of the country’s traditional art that has
been passed on from generations to generations.

You might also like