You are on page 1of 3

Self Reflection

สำหรับงำนชุดรีไซเคิลนี้ดิฉันมีหน้ำทีเ่ ป็นผู้ออกแบบชุดค่ะโดยมีตัวละครในวรรณคดีเป็น
แรงบันดำลใจในกำรออกแบบค่ะ
กินรีเป็นสัตว์ในวรรณคดีทม
ี่ ีลักษณะเป็นครึ่งคนครึ่งนกซึ่งจะพบได้ในป่ำหิมพำนต์และเชิงเขำไกรล
ำศค่ะและกินรีก็นับเป็นสัตว์ที่ปรำกฎในงำนศิลปะของไทยมำก เช่น นำฏศิลป์ หรือ จิตรกรรมค่ะ
นอกจำกกำรคิดหัวข้อของชุดแล้ว ดิฉันต้องคำนึงถึงวัสดุอุปกรณ์ที่จะใช้ในกำรประดิษฐ์ชุดด้วยค่ะ
ช่วงที่ยำกที่สุดในกำรออกแบบของดิฉันในช่วงแรกๆของกำรออกแบบค่ะเพรำะดิฉันไม่รู้ว่ำจะทำชุด
เหล่ำนี้จำกวัสดุเหลือใช้อย่ำงไร แต่พอออกแบบไปเรื่อยๆ มันทำให้ดิฉันได้เรียนรู้หลำยๆอย่ำงค่ะ
1.ฝึกเรื่องควำมคิดสร้ำงสรรค์โดยกำรประยุกต์ลักษณะและกำรแต่งกำยของกินรีมำอยู่ในรูปแบบข
องชุด 2.ฝึกเรื่องกำรทำงำนเป็นกลุ่ม เพรำะงำนนี้เป็นงำนห้อง กำรทำงำนเป็นกลุ่มจึงสำคัญมำก
จำกงำนชิ้นนี้
ทำให้ดิฉันได้เรียนรู้ถึงกำรรับฟังควำมคิดเห็นของผู้อื่นมำกขึน
้ เพื่ อทำให้ชุดของเรำออกมำสวยงำม
3.ทำให้ดิฉันได้เห็นและคำนึงถึงคุณค่ำของวัสดุบำงประเภทที่เรำคิดว่ำเรำไม่สำมำรถนำสิ่งๆนั้นมำใ
ช้ใหม่ได้ และงำนชิ้นนี้ได้มีควำมสอดคล้องกับ ELSOs โดยตรงค่ะ
โดยเฉพำะกำรที่ดิฉันเป็นผู้เรียนทีม
่ ีกลยุทธ์โดยที่ดิฉันได้ใช้เทคโนโลยีในกำรหำแรงบันดำลใจในกำร
ออกแบบชุดและเป็นผู้เรียนที่มค
ี วำมเป็นผูน
้ ำด้วยโดยกำรสร้ำงกำรทำงำนเป็นกลุ่มและมีควำมเป็น
ผู้นำ
กล้ำเสนอควำมเห็นและรับฟังควำมคิดเห็นของผู้อื่นเพื่ อให้ได้ควำมเห็นที่ดีที่เป็นที่ยอมรับของเพื่ อ
นร่วมห้องค่ะ
ส่วนเรื่องของหลักธรรมที่เกี่ยวข้องนัน
้ “อิทธิบำท๔” และ “สังคหวัตถุ๔”
เป็นหลักธรรมสองประเภทที่ดิฉันคิดว่ำนี่คอ
ื หลักธรรมที่ทำให้งำนที่ดิฉันและเพื่ อนร่วมห้องทำงำน
สำเร็จและออกมำดูสวยงำม
สำหรับเรื่องอิทธิบำท๔ ดิฉันได้ใช้หลักจิตตะและวิมังสำ
หรือควำมใส่ใจและควำมหมั่นตริตรองพิ จำรณำเพื่ อให้ได้งำนที่ออกมำดีที่สุดเท่ำที่ทำได้
โดยจิตตะนีค
้ ือกำรที่ผู้ปฏิบต
ั ิงำนมีสมำธิจดจ่อกับงำนที่ทำอยู่รวมถึงมีควำมรอบคอบและควำมรับ
ผิดชอบอยู่ด้วยและวิมังสำคือกำรที่ผู้ปฏิบัติงำนใช้สติและปัญญำในกำรทำงำนรวมถึงกำรเข้ำใจใน
งำนอย่ำงดีค่ะ
สำหรับเรื่องสังคหวัตถุ๔ ดิฉันได้ใช้หลัก ๓ หลักในกำรทำงำนเป็นกลุ่มค่ะ ซึ่ง ๓
หลักนั้นได้แก่ “ทำน” ”ปิยวำจำ” และ ”อัตถจริยำ” ค่ะ หลักทำนหรือหลักแห่งกำรเกื้อกูล เสียสละ
เอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่แบ่งปันให้ผู้อื่น โดยกำรให้ที่ยิ่งใหญ่คือกำรให้อภัย
หลักปิยวำจำหรือหลักแห่งกำรพู ดจำด้วยถ้อยคำที่ไพเรำะอ่อนหวำน จริงใจ ไม่หยำบคำยก้ำวร้ำว
พู ดในสิ่งที่เป็นประโยชน์และเหมำะสมกับกำลเทศะ
ที่สำคัญคือต้องเจรจำด้วยไมตรีและมีควำมปรำรถนำที่ดีให้แก่กันและกัน
และสุดท้ำยคือหลักอัตถจริยำหรือหลักในกำรร่วมทำสิ่งสร้ำงสรร
ทำสิ่งที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้อื่นและช่วยเหลือกันและกันด้วยกำย ควำมคิดและกำลังใจ
และต้องมีควำมเสมอต้นเสมอปลำย ต้องไม่ถือตัว ทำตัวให้เป็นที่รักที่เคำรพของเพื่ อนร่วมงำนค่ะ

For this project, Thai Recycled Costume, my job is the designer by get
one of the mythical creature named Kinnara as her inspiration for her design.
Kinnara is half-human and half-bird. Kinnara is from the Himmapan Forest and
Mount Kailas. Kinnara is one of the mythical creature which we can see in
many Thai arts like Thai Dance or Thai Drawing. Moreover than thinking about
the costume’s design, I also need to think of the materials to make the dress.
The hardest part of designing the costume for me is the beginning of working
on this project because I don’t know the how can we make the dress from the
recycle stuffs but after we learn more about it, it makes me learn more things.
Firstly, the creativity, I learn this skills by adapting from the appearance
and dressing of Kinnara into the dress. Second is team working because it is
class work. From this project, It makes me learn to listen to other’s comments
more to apply into our dress to make it as perfect as we can. The last thing I
get from this project is it makes me value the recycle stuffs more from the
beginning that I think these stuffs cannot use it again. This project relates to
ELSOs directly especially being a strategic learner who uses technology to find
inspiration to design the dress and being a learner with the leadership skills by
create dress as a team and being a leader who don’t fear to share their own
opinions and listen to other opinions to get the best ideas and be acceptable
from everyone.
For the dhammas that relate to this project are called “ อิทธิบำท4 “ and
“สังควัตถุ 4”. These are dhammas that make the product that I and my
classmates doing are great.
For “อิทธิบำท4” I use the method called “จิตตะ” and “วิมังสำ” or paying
attention and considering to get a perfect product. จิตตะ means that workers
need to pay attention on work including being cautious and having
responsibility and วิมังสำ means that the workers need to have consciousness
while working ,and also understanding the work that we are working on.
For “สังคหวัตถุ4” I use 3 methods for working as a group including “ทำน”
,“ปิยวำจำ” ,and “อัตถจริยำ” This method, ทำน, teaches us to sacrifice and sharing
things to others especially forgiving. For “ปิยวำจำ”, this teaches us to say good
things to others and also being sincere, not rude, and appropriate. The last
method is “อัตถจริยำ” This is the method of creating good things which are
benefit and helping to other people. Also, being consistently, friendly, and be
respectful.

You might also like