You are on page 1of 106

Electrical System Design

Illumination Design

Keynote Speaker: Sarut Panjan


Mongkut's Institute of Technology North Bangkok
Topic Outline

• คำจำกัดควำมเกียวกั
บแสง
• แหล่งกำเนิ ดแสง
• เส ้นโค ้งโพล่ำร ์
• ชนิ ดโคมไฟฟ้ ำ
• กำรออกแบบไฟฟ้ ำแสงสว่ำงภำยใน ด ้วยวิธล
ี เู มน
• กำรจัดตำแหน่ งดวงโคม
Definition
แคนเดลล่า (Candela ; I)
ควำมเข ้มแห่งกำรส่งสว่ำง มีหน่ วยเป็ น แคนเดลล่ำ (Candela)

ความสว่าง (Illuminance ; E)
่ นที
ฟลักซ ์กำรส่องสว่ำงทีตกกระทบพื ่ ว มีหน่ วยเป็ น ลักซ ์ (Lux
้ ผิ

ฟลักซ ์การส่องสว่าง (Luminous flux ; ∅)



ปริมำณแสงทีแพร่
ออกไปจำกแหล่งกำเนิ ดมีหน่ วยเป็ น (Lumen
Light source
Color Rendering Index
CRI = 50-60% CRI = 80-90% CRI = 70-80%

2,000K 6,500K 20,000K


Color Temperature
ighting Source
Color Temperature
Warm Cool
หลอดไฟฟ้าแบ่งออกเป็ น 3 กลุ่มใหญ่ๆ คือ

1. หลอดมีไส ้ (Incandescent Lamp)


2. หลอดปล่อยประจุ (Gas Discharge Lamp)
3. หลอด LED (Light-Emitting Diode)
1. หลอดมีไส้ (Incandescent Lamp)
ประกอบด ้วย
1. หลอด Incandescent

2. หลอด ทังสเตน ฮาโลเจน (Tungsten Halogen)


หลอดอินแคนเดสเซนท ์ (Incandescent)

้ ้ง่ำย
ข้อดี- รำคำถูก และ ติดตังได
ข้อเสีย - ประสิทธิภำพต่ำ
(53 lm/W)
ประเภทหลอดอินแคนเดสเซนท ์ในท ้องตลำด

ประเภทขัวหลอดอิ
นแคนเดสเซนท ์ในท ้องตลำด
ลักษณะงำนของหลอดอินแคนเดสเซนท ์

ให ้แสงสว่ำงเฉพำะจุด ่
ให ้แสงสว่ำงทัวไปในอำคำร
หลอดทังสเตน ฮาโลเจน (Tungsten Halogen)
• มีกำรบรรจุสำรตระกูลฮำโลเจน ในหลอดควอตซ ์ ได ้แก่
ไอโอดีน, คลอรีน , โบรมีน และ ฟลูออรีน
• หลอดมีอำยุยำวนำนกว่ำหลอด incandescent รำว 2-3 เท่ำ คือ 1500-3000 ช
• มีประสิทธิผลสูงกว่ำหลอด incandescent ประมำณ 12 - 22 lm/w

Double end Single end มีจานสะท้อน


โครงสร ้ำงของหลอดทังสเตนฮำโลเจน
ลักษณะงำนของหลอดทังสเตนฮำโลเจน

ไฟอ่ำนหนังสือ ไฟส่องตู ้โชว ์ อำคำรเพดำนสูง


(เฉพำะวัตต ์สูง)
2. หลอดปล่อยประจุ (Gas Discharge Lamp)
ประกอบด ้วย
1. หลอดความดันไอต ่า ได ้แก่
1.1 หลอดฟลูออเรสเซนต ์ (Fluorescent Lamp)
1.2 หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต ์(Compact Fluorescent Lamp

1.3 หลอดโซเดียมควำมดันไอตำ(Low Pressure Sodium Lamp)
2. หลอดความดันไอสูง ได ้แก่
2.1 หลอดไอปรอท (Mercury Vapor Lamp)
2.2 หลอดโซเดียมควำมดันไอสูง(High Pressure Sodium Lamp)
2.3 หลอดเมทัลฮำไลด ์ (Metal Halide Lamp)
หลอดฟลู ออเรสเซนต ์ (Fluorescent Lamp)
• นิ ยมใช ้กันมำก
• ให ้แสงสว่ำงสูง (72 lm/W)
่ั
• อำยุกำรใช ้งำนยำวนำน (8,000 – 10,000 ชวโมง)
• แสงสีนุ่มนวล และ มีควำมร ้อนน้อย
ประเภทของหลอดฟลู ออเรสเซนต ์

1. Preheat – ประกอบด ้วย หลอด บัลลำสต ์ และ สตำร ์เตอร ์

2. Rapid start – ไม่ต ้องใช ้สตำร ์เตอร ์ จุดหลอด


ได ้ไวกว่ำ และใช ้หลอดคนละชนิ ดกับประเภท
Preheat
3. Instant start – ไม่ต ้องใช ้สตำร ์เตอร ์ ใช ้
แรงดันสูงในกำรจุดหลอด ทำให ้จุดหลอดได ้ไวทีสุ ่ ด
ลักษณะหลอดและขัว้ ทีมี
่ จำหน่ ำยในท ้องตลำด
สตำร ์เตอร ์ และ บัลลำสต ์

Starter

Ballast

แกนเหล็ก อิเล็คทรอนิ กส ์
คุณลักษณะทางแสงสีของหลอดฟลู ออเรสเซนต ์

white Cool white

Warm white
การเลือกใช้หลอดฟลู ออเรสเซนต ์
่ เพดำนสูงเกินกว่ำ 5 - 7
1. ไม่เหมำะสำหร ับใช ้กับห ้องทีมี
เมตร เพรำะต ้องใช ้หลอดจำนวนมำก
2. เลือกสีของหลอดฟลูออเรสเซนต ์ให ้เหมำะสมกับงำน
่ ้องกำรควำมส่องสว่ำงสูงกว่ำ 500 ลักซ ์ ควรใช ้หลอด daylight
- งำนทีต
- งำนทีต่ ้องกำรควำมส่องสว่ำง 300 - 500 ลักซ ์ ควรใช ้หลอด cool white
- งำนทีต ่ ้องกำรควำมส่องสว่ำงต่ำกว่ำ 300 ลักซ ์ ควรใช ้หลอด warm white


3. ฮำร ์มอนิ ก จะมำกหรือน้อยขึนอยู
่กบั กำรเลือกใช ้บัลลำสต ์
หลอดคอมแพคฟลู ออเรสเซนต ์(Compact Fluorescent La


• พัฒนำขึนมำแทนที ่
หลอดอิ
นแคนเดสเซนต ์
•ประสิทธิผลสูงกว่ำหลอดอินแคนเดสเซนต ์ คือประมำณ 50-80 lm/W
่ั
• อำยุกำรใช ้งำนประมำณ 5,000-8,000 ชวโมง
ชนิ ดหลอดคอมแพคฟลู ออเรสเซนต ์

1.แบบใช้บลั ลาสต ์ภายนอก


• ตัวหลอดมีสตำร ์เตอร ์ภำยในตัว

• เรียกทัวไปว่
ำ “หลอดตะเกียบ”
การหลอดต่อเข้าบัลลาสต ์


ขัวหลอดแบบใช้
บลั ลาสต ์ภายนอก
2.แบบมีบล
ั ลาสต ์ภายในตัว

• รำคำแพง และถ ้ำมีชนส่ิ ้ วนเสียต ้องทิงทั


้ งหลอด


• ถ ้ำใช ้บัลลำสต ์แบบแกนเหล็กจะมีนำหนั กมำกและรำคำถูก

• ถ ้ำใช ้บัลลำสต ์อิเล็กทรอนิ กส ์ มีขนำดเล็ก นำหนั กเบำ
ใช ้พลังงำนไฟฟ้ ำตำ่ รำคำแพง
โครงสร ้างหลอดแบบมีบล
ั ลาสต ์ภายในตัว

1. outer bulb 7. Starter


2. Discharge tube 8. Mounting plate
3. Phosphor 9. Housing
4. Ballast 10. Thermal cut-out
5. Electrode 11. Capacitor
6. Bi-metallic strip 12. Lamp cap
่ (Low Pressure Sodium La
หลอดโซเดียมความดันไอตา

Ballast

บรรจุกำ๊ ซ อำร ์กอน และ นี ออน



และโซเดียมทีกลำยเป็ นไอ

ลักษณะหลอดโซเดียมความดันไอตา

คุณลักษณะแสงสี

การใช้งานหลอดโซเดียมความดันไอตา

่ ต ้องกำรควำมถูกต ้องของสี เช่น ไฟ


1. ควรใช ้กับงำนทีไม่

ถนน , ไฟส่องบริเวณทัวไป
่ ้องกำรควำมถูกต ้องของสี เช่น บริเวณทีเกี
2. ไม่ควรใช ้กับงำนทีต ่ ยวข
่ ้องกับเงิน

3. ไม่ควรใช ้กับบริเวณทีต ่ ดทันทีทน


่ ้องกำรแสงสว่ำงทีติ ั ใด
เนื่ องจำกใช ้เวลำจุดหลอดนำน
หลอดไอปรอท (Mercury Vapor Lamp)

เรียกทัวไปว่
ำ “หลอดแสงจันทร ์”
่ั
• ให ้แสงสว่ำงสูง, อำยุกำรใช ้งำนประมำณ 24,000 ชวโมง

• ใช ้กับสถำนทีสำธำรณะ, ไฟถนน, ห ้ำงสรรพสินค ้ำ, โรงงำน
อุตสำฯ หรือ อำคำรทีมี ่ เพดำนสูง

หลอด บัลลำสต ์
โครงสร ้างหลอดไอปรอท

แบบใช ้ Ballast แบบไม่ใช ้ Ballast


คุณลักษณะแสงสี ของหลอดไอปรอท

หลอดใส

หลอดเคลือบสารฟอสเฟต
การใช้ งานหลอดไอปรอท

1. นิยมใช้แทนหลอดฟลูออเรสเซนต์กรณี ที่ใช้กบั เพดานสู ง


2. เป็ นหลอดปล่อยประจุความดันไอสู งที่มีประสิ ทธิผลต่าที่สุด
3. เหมาะสาหรับโรงงานอุตสาหกรรมทัว่ ไป, แสงสว่างในที่
สาธารณะเช่น ไฟถนน, สวนสาธารณะ, บริ เวณร้านค้า เป็ นต้น
4. ไม่เหมาะกับพื้นที่ที่ตอ้ งการแสงสว่างที่จุดติดแบบทันทีทนั ใด
หลอดเมทัลฮาไลด์ (Metal Halide Lamp)
• โครงสร้างและการทางานคล้ายหลอดไอปรอท (แสงจันทร์ )
• ประสิ ทธิ ภาพและสมดุลของสี ดีกว่า หลอดไอปรอท
• ประสิ ทธิภาพ 60 – 90 lm/W อายุการใช้งาน 6,000 - 15,000 ชัว่ โมง

หลอด บัลลาสต์ ignitor


โครงสร้ างหลอดเมทัลฮาไลด์

นอกจากมีปรอทและก๊าซอาร์กอน
ยังมีการเติมสารตระกูล halide
- Thalium
- Sodium
- Scandium iodide
คุณลักษณะแสงสี ของหลอดเมทัลฮาไลด์

ใช้ Dysprosium & Thalium iodide

ใช้ Sodium & Scandium iodide


การใช้ งานหลอดเมทัลฮาไลด์
1. นิยมใช้แทนหลอดฟลูออเรสเซนต์กรณี ที่ใช้กบั เพดานสู ง
2. เหมาะสาหรับโรงงานอุตสาหกรรมทัว่ ไป, แสงสว่างในสนามกีฬา,
บริ เวณที่ตอ้ งการความถูกต้องของสี เป็ นต้น
3. ไม่เหมาะกับพื้นที่ที่ตอ้ งการแสงสว่างที่จุดติดแบบทันทีทนั ใด
หลอดโซเดียมความดันสู ง (High Pressure Sodium)
• ประสิ ทธิภาพ 140 lm/W (ประสิ ทธิภาพดีสุด)
- มากกว่าโลหะฮาไลด์และหลอดฟลูออเรสเซนต์ถึง 50 %
- มากกว่าหลอดไอปรอท 1 เท่า
- มากกว่าหลอดอินแคนเดสเซนต์ถึง 6 เท่า
• อายุการใช้งาน 18,000 - 24,000 ชัว่ โมง

ballast igniter
รู ปทรงของหลอดโซเดียมความดันสู ง
โครงสร้ างหลอดโซเดียมความดันสู ง

หลอดอาร์กทาด้วยเซรามิก
คุณลักษณะแสงสี ของหลอดโซเดียมความดันสู ง
การใช้ งานหลอดเมทัลฮาไลด์
1. ใช้กบั งานที่ไม่พิถีพิถนั เรื่ องความถูกต้องของสี เช่น โรงงานเหล็ก
2. งานที่เหมาะใช้กบั หลอดประเภทนี้ได้แก่ โรงงานที่ไม่มีปัญหาเรื่ องความ
ถูกต้องของสี ไฟส่ องบริ เวณที่ไม่ใช่ยา่ นธุรกิจ ไฟถนน ไฟสวนสาธารณะ
3. หลอดประเภทนี้ให้สีเหมาะสาหรับงานทางด้านความปลอดภัย เพราะตา
มีความไวต่อการมองเห็นที่โทนสี เหลือง
หลอด LED (Light-Emitting Diode)
ประสิ ทธิภาพของหลอดชนิดต่ างๆ
เส้ นโค้ งโพล่ าร์ (Polar Curve)
เส้ นโค้ งโพล่ าร์ (Polar Curve)
คือ เส้นแสดงค่าความเข้มแห่งการส่ องสว่าง ที่วดั ได้จากหลอดไฟหรื อ
หลอดไฟที่มีโคมไฟประกอบอยู่ โดยจะแบ่งเป็ นส่ วนๆ ตามองศา
กรณีไม่ สมมาตร จะมีเส้นโค้ง 2 รู ป คือ ตามระนาบแนวยาวและแนว
ขวางของหลอด
ระบบโซนบริติช (British Zonal System, BZ System)
แบ่งเขตของเส้นโค้งโพล่า ทีละ 10 องศา แบ่งเป็ น 9 โซน ดังนี้
ค่ าตัวประกอบประจาโซน (Zone Factor)
โซน มีค่ามุม (องศา) ตัวประกอบประจาโซน
1 0-10 0.095
2 10-20 0.284
3 20-30 0.463
4 30-40 0.628
5 40-50 0.774
6 50-60 0.897
7 60-70 0.993
8 70-80 1.058
9 80-90 1.091
การหาฟลักซ์ การส่ องสว่ างในโซนต่ างๆ
หาจากค่าเฉลี่ยของความเข้มแสงแห่งการส่ องสว่างในโซนนั้นๆ
คูณกับ ตัวประกอบประจาโซนนั้นๆ
โซน 3
• ค่าเฉลี่ยของความเข้มแห่งการส่ องสว่าง
= (306+290) / 2 = 298
• ตัวประกอบประจาโซน = 0.463

ฟลักซ์การส่ องสว่าง = 0.463 x 298 = 138 lm


แสงด้ านบน และ แสงด้ านล่ าง (Upward & Downward Light)

แสงด้านบน

แสงด้านล่าง

ฟลักซ์การส่ องสว่างด้านล่าง = ผลบวกของฟลักซ์การส่ องสว่าง โซนที่ 1 ถึง 9


การแบ่ งชนิดโคมไฟฟ้า
โคมไฟฟ้า ใช้เพื่อบังคับให้แสงออกไปตามทิศทางที่ตอ้ งการ แบ่งเป็ น
ชนิดโคม ชื่ อเรียก % แสงด้ านบน เทียบกับแสงทั้งหมด
จากหลอดพร้ อมโคม
แบบโดยตรง 0-10 %
Direct

แบบกึ่งโดยตรง 10 – 40 %
Semi - Direct

แบบให้ แสงโดยรอบ 40 – 60 %
General Diffusing
การแบ่ งชนิดโคมไฟฟ้า (ต่ อ)

ชนิดโคม ชื่ อเรียก % แสงด้ านบน เทียบกับแสงทั้งหมด


จากหลอดพร้ อมโคม
แบบกึ่งไม่ โดยตรง 60-90 %
Simi - Indirect
แบบไม่ โดยตรง 90 – 100 %
Indirect
ตัวอย่ างชนิดดวงโคม

High bay

Down Light
ตัวอย่ างชนิดดวงโคม (2)

Track Light

Flood Light
อัตราส่ วนแสงออกมา (Light Output Ratio, LOR)
ฟลักซ์การส่ องสว่างจากโหลดพร้อมโคม
อัตราส่ วน
ฟลักซ์การส่ องสว่างจากหลอดอย่างเดียว

300  400
LOR 
1000

 70 %
อัตราส่ วนแสงออกมาด้ านล่ าง
(Downward Light Output Ratio, DLOR)
ฟลักซ์การส่ องสว่างจากด้านล่าง
อัตราส่ วน
ฟลักซ์การส่ องสว่างจากหลอดอย่างเดียว

400
LOR 
1000

 40 %
การแบ่ งชนิดโคมไฟฟ้า ตามระบบ British Zoning
โคม BZ 1 ให้แสงสว่างส่ วนมากใน โซนที่ 1
โคม BZ 2 ให้แสงสว่างส่ วนมากใน โซนที่ 1 + 2
โคม BZ 3 ให้แสงสว่างส่ วนมากใน โซนที่ 1 + 2 + 3
โคม BZ 4 ให้แสงสว่างส่ วนมากใน โซนที่ 1 + 2 + 3 + 4
โคม BZ 5 ให้แสงสว่างส่ วนมากใน โซนที่ 1 + 2 + 3 + 4 + 5
โคม BZ 6 ให้แสงสว่างส่ วนมากใน โซนที่ 1 + 2 + 3 + 4 + 5
+6
โคม BZ 7 ให้แสงสว่างส่ วนมากใน โซนที่ 1 + 2 + 3 + 4 + 5
+6+7
ชนิดโคมไฟฟ้า ตามระบบ British Zoning
ค่ าลูเมนสาหรับการออกแบบไฟฟ้ าแสงสว่ าง
(Lighting Design Lumen, LDL)
• ค่าฟลักซ์การส่ องสว่างของหลอดชนิดต่างๆ ที่ให้มาโดยผูผ้ ลิต
• ได้จากตารางประมาณค่า LDL
ตัวอย่ าง ค่ าลูเมนสาหรับการออกแบบไฟฟ้ าแสงสว่ าง
ค่ าความสว่ างสาหรับการออกแบบไฟฟ้าแสงสว่ าง
(Lighting Design Illuminance, E)
• ห้องแต่ละประเภทต้องการความสว่างไม่เท่ากัน
• มาตรฐาน IES ได้กาหนดค่าต่าสุ ดของระดับความสว่างไว้

ปริ มาณแสงที่ออกจากดวงโคม (lumen)


E (lux) =
พื้นที่ที่ตอ้ งการส่ องสว่าง (ตร.เมตร)
สั มประสิ ทธิ์ของการใช้ งาน (Coefficient of Utilization, CU)
• ตัวเลขซึ่งบอการใช้ประโยชน์จากแสงของดวงโคมมากน้อยเพียงใด
• ตัวเลขมีค่าน้อยกว่า 1 เสมอ
ค่านี้จะขึ้นอยูก่ บั
1. ประสิ ทธิ ภาพและการกระจายแสงของแหล่งกาเนิดแสง
2. ระยะความสู ง
3. ขนาดและรู ปร่ างของห้อง
4. การสะท้อนของแสงที่มาจากเพดานและฝาผนัง
สั มประสิ ทธิ์ของการใช้ งาน (Coefficient of Utilization, CU)

จะได้
ปริ มาณแสงที่ออกจากดวงโคม (lumen) x CU
E (lux) =
พื้นที่ที่ตอ้ งการส่ องสว่าง (ตร.เมตร)

ค่า CU ในการคานวณ ได้จากการเปิ ดตาราง โดยใช้ค่าความสามารถ


ในการสะท้อนแสงของเพดาน ผนัง และพื้น
ค่ าองค์ ประกอบการบารุงรักษา (Maintenance Factor, MF)
การที่ความสว่างที่ได้จากหลอดไฟลดลง เนื่องจาก
• ความสกปรกของหลอด เพราะฝุ่ น
• การเสื่ อมสภาพตามการใช้งาน
• การมีฝนที ุ่ ่ผนังและเพดาน จะลดค่าการสะท้อนของพื้นผิวลง

** ปกติค่า MF ทางบริ ษทั ผูผ้ ลิตหลอดไฟจะเป็ นผูก้ าหนด


** ประสิ ทธิภาพของดวงโคมจะเกี่ยวข้องกับตัวประกอบบารุ งรักษา
ด้วย
ประเภทของตัวประกอบบารุงรักษา
1. ตัวประกอบบารุงรักษาดี (Good – Maintenance Factor)
- ติดตั้งใช้งานในสภาวะบรรยากาศที่ดี
- ดวงโคมมีความสะอาด
- หลอดที่ใช้ มีการเปลี่ยนตามอายุใช้งานที่แท้จริ ง

2. ตัวประกอบบารุงรักษาปานกลาง (Medium – Maintenance Factor)


- ติดตั้งใช้งานในสภาวะบรรยากาศที่มีเงื่อนไข
- ดวงโคมอาจไม่มีความสะอาดมากนัก
- หลอดที่ใช้ มีการเปลี่ยนหลังจากหลอดเดิมหมดสภาพ
ประเภทของตัวประกอบบารุงรักษา (2)
3. ตัวประกอบบารุงรักษาทีไ่ ม่ ดี (Poor – Maintenance Factor)
- ติดตั้งใช้งานในสภาวะบรรยากาศที่สกปรก
- อุปกรณ์ทุกอย่างของดวงโคม ไม่ได้รับการดูแลรักษา
จะได้
ปริ มาณแสงที่ออกจากดวงโคม (lumen) x CU x MF
E (lux) =
พื้นที่ที่ตอ้ งการส่ องสว่าง (ตร.เมตร)
สู ตรพืน้ ฐานทีใ่ ช้ ในการออกแบบระบบไฟฟ้ า

จานวนดวงโคมที่จะติดตั้ง = E x พื้นที่
(lm / โคม) x CU x MF

ถ้ารู ้จานวนหลอด / โคม  หาจานวนหลอดทั้งหมด ได้เป็ น

จานวนโหลดทั้งหมด = จานวนโคม x (จานวนหลอด / โคม)

** รู ้จานวนหลอดทั้งหมด  ค่ากาลังไฟฟ้าของโหลดแสงสว่าง
การออกแบบไฟฟ้าแสงสว่ างภายในอาคารด้ วยวิธีลูเมน
• เป็ นการออกแบบให้หอ้ งมีความสว่างเหมาะกับลักษณะงานและ
ดวงตาของผูป้ ฏิบตั ิงาน
• เป็ นการออกแบบให้ความสว่างสม่าเสมอตลอดพื้นที่ภายในห้อง
วิธีทา
1. หา อัตราส่ วนคาวิต้ ี
2. หา ค่าการสะท้อนของคาวิต้ ี
3. หา สัมประสิ ทธิ์ของการใช้งาน (CU)
4. หา จานวนโคม และ จานวนหลอดทั้งหมดได้
โซนอลคาวิตี้ (Zonal Cavity)
• แบ่งพื้นที่เป็ นโซน เพื่อหาค่าอัตราส่ วนคาวิต้ ี
• แบ่งพื้นที่เป็ นออกเป็ น 3 โซน ดังนี้
ขั้นตอน 1 หาค่ าอัตราส่ วนคาวิตี้ (Cavity Ratio)
5´ h rc ´ (L+W )
• RCR (ค่าอัตราส่ วนคาวิต้ ีของห้อง) =
L´ W

• FCR (ค่าอัตราส่ วนคาวิต้ ีของพื้น) =


5´ h fc ´ (L+W )
L´ W

5´ h cc ´ (L+W )
• CCR (ค่าอัตราส่ วนคาวิต้ ีของเพดาน) =
L´ W

โดยที่ L คือ ความยาวของห้องที่ออกแบบ


W คือ ความกว้างของห้องที่ออกแบบ
ตัวอย่ างที่ 1
ห้องขนาดกว้าง 20 ฟุต ยาว 100 ฟุต สู ง 15 ฟุต ดวงโคมแขวนต่าลง
จากเพดาน 2 ฟุต และโต๊ะทางานอยูส่ ู งจากพื้น 3 ฟุต

จงหา อัตราส่ วนคาวิต้ ี


2 ฟุต

10 ฟุต

3 ฟุต
จะได้
5´ (10)´ (100 + 20)
RCR = = 3.0
100´ 20

5´ (3)´ (100 + 20)


FCR = 100´ 20
= 0.9

5´ (2)´ (100 + 20)


CCR = 100´ 20
= 0.6
ขั้นตอน 2 หาค่ าการสะท้ อนของคาวิตี้
• เป็ นค่าการสะท้อนเสมือน สมมติไว้เพื่อใช้ในการคานวณ
• แบ่งเป็ นค่าการสะท้อนเสมือนของ เพดาน ฝาผนัง และ พื้น
โดยที่
r cc คือ ค่าการสะท้อนเสมือนของเพดาน
rw คือ ค่าการสะท้อนเสมือนของฝาผนัง
r fc คือ ค่าการสะท้อนเสมือนของพื้น
การหา
- ต้องรู ้ค่าตัวประกอบการสะท้อน ( r ) ของเพดาน ฝาผนัง และพื้น
- ต้องรู ้ค่าตัวอัตราส่ วนคาวิต้ ี
ตัวอย่ างที่ 2
จากตัวอย่างที่ 1 และ ตารางที่ 9.3
จงคานวณหาค่าการสะท้อนเสมือนของเพดาน และ พื้น
โดยกาหนดให้
r C = 80 % เปอร์เซ็นต์การสะท้อนของเพดาน
r W = 50 % เปอร์เซ็นต์การสะท้อนของผนัง
r f = 10 % เปอร์ เซ็นต์การสะท้อนของพื้น
ค่าการสะท้อนเสมือนของเพดาน ( r )
CC

จาก ตัวอย่าง 1 CCR = 0.6 และ r C = 80 %


r W = 50 %
จากตารางที่ 9.3 จะได้
ค่าการสะท้อนเสมือนของพื้น ( r fc )

จาก ตัวอย่าง 1 CCR = 0.9 และ r f = 10 %


r W = 50 %
จากตารางที่ 9.3 จะได้

0.9
ขั้นตอน 3 หาค่ าสั มประสิ ทธิ์การใช้ งาน (CU)
• นาผลจากขั้นตอนที่ 1 และ 2 มาใช้หา CU
• ค่าที่ตอ้ งการคือ RCR, rW , r fc และ r cc

• สามารถหาค่า CU ได้จากตารางสาเร็ จรู ปของดวงโคมแต่ละชนิด


• บริ ษทั ผูผ้ ลิตจะมีตารางหาค่า CU ของโคมแต่ละชนิดมาให้
• ปกติตารางหา CU จะยึดถือค่าการสะท้อนเสมือนของพื้นที่ 20 %
ตัวอย่างตารางหาค่า CU ของดวงโคมชนิดหนึ่ง
การหา CU กรณีค่า r fc ¹ 20 %

• จะต้องทาการปรับค่า CU
• สามารถหาตัวค่าตัวคูณ เพื่อปรับค่า CU ได้จากตาราง 9.4
• กรณี ที่ค่าตัวคูณ ไม่ทาให้ CU เปลี่ยนแปลงเกิน 2 % (+/- 0.2)
ไม่จาเป็ นต้องนาค่าตัวคูณมาคิด

• ตัวคูณค่า CU จะมีที่ค่า r = 30, 10, 0 ถ้าค่า r ไม่ตรงกับค่า


fc fc

ค่าดังกล่าว สามารถปัดค่านั้นไปสู่ ค่าที่ใกล้เคียงที่สุด มากกว่าที่จะ


ทาการ interpolate ระหว่างตาราง
(1)
(2)
ตัวอย่ างที่ 3
จากตัวอย่างที่ 1, 2 และ ตารางที่ 9.4 สมมติเลือกใช้ดวงโคมดังรู ป
จงหา ค่า CU ของดวงโคมชุดนี้
จาก r fc = 11.5 % r cc = 70 % r W = 50 % และ RCR = 3
ที่ r fc = 20 % หาค่า CU ของดวงโคมได้เป็ น

ได้ค่า CU = 0.68
แต่เนื่องจาก r ¹
fc 20 % ต้องใช้ตวั คูณ
ค่า r = 11.5 %
fc เลือกใช้ตวั คูณที่ค่า r fc = 10 % (ใกล้เคียงสุ ด)

ค่ า CU จริง = 0.957 x 0.68 = 0.65


ขั้นตอน 4 หาจานวนดวงโคม

จานวนดวงโคมที่จะติดตั้ง = E x พื้นที่
(lm / โคม) x CU x MF

โดยที่ ถ้าขนาดห้องความยาวเป็ นฟุต E หน่วย ft-cd


ถ้าขนาดห้องความยาวเป็ นเมตร E หน่วย Lux
ค่ า MF อาจหาได้ จาก

MF = ค่าความเสื่ อมของหลอดไฟ x ค่าความเสื่ อมจากความสกปรกของดวงโคม

หรื อ MF = LDD x LLD


การหาค่ าความเสื่ อมของหลอดไฟ (LLD)
• หาได้จากตารางคู่มือหลอดไฟที่โรงงานผูผ้ ลิตทาออกมา
โดยที่ ค่าปริ มาณแสงเฉลี่ย (Mean Lumen Output)
LLD =
ค่าปริ มาณแสงเมื่อเริ่ มต้น (Initial Lumen Output)

สมมติ เลือกหลอดเมทัลฮาไลด์ 400 W มีค่าปริ มาณแสงเฉลี่ย 25,600 lm


และค่าปริ มาณแสงเมื่อเริ่ มต้น = 34,000 lm

จะได้ LLD = 25,600 = 0.75


34,000
การหาค่ าความเสื่ อมจากความสกปรกของดวงโคม (LDD)
• หาได้จากกราฟ Luminaire Dirt Depreciation Factor
• ต้องรู ้ความสะอาดของห้องที่กาลังออกแบบ
• ต้องรู ้ระยะเวลาที่จะทาความสะอาดดวงโคม

กรณี หอ้ งสะอาดปานกลาง (M) และ ทาความสะอาดทุก 2 ปี LDD = 0.8


ตัวอย่ างที่ 4
จากตัวอย่างที่ 1,2 และ 3 จงหาจานวนดวงโคมที่จะติดตั้ง โดยกาหนด
ความสว่างเท่ากับ 30 ft-cd และโคมมีค่า 3000 lm/โคม และค่า MF =
0.6
E x พื้ น ที ่
จานวนดวงโคมที่จะติดตั้ง =
(lm / โคม) x CU x MF
30 x (100 x 20)
=
(3000) x 0.65 x 0.6
= 51.3 » 52
การจัดตาแหน่ งดวงโคม
• ระยะห่างระหว่างดวงโคม จะต้ องสั มพันธ์ กบั อัตราส่ วนของ
ระยะห่างระหว่างดวงโคมกับความสู งของดวงโคม
อัตราส่ วนของระยะห่ างระหว่ างดวงโคมกับความสู งของดวงโคม
1. สาหรับโคมชนิดทีม่ ีการกระจายแสงขึน้ สู่ ข้างบน
ควรมีระยะห่าง ประมาณ 1.2 – 1.5 เท่าของความสู ง (พื้นผิวงาน – ดวงโคม)
2. สาหรับโคมชนิดทีม่ ีการกระจายแสงขึน้ สู่ ข้างบนและกระจายแสง
ลงสู่ เบื้องล่ าง
ควรมีระยะห่าง ประมาณ 0.9 – 1.1 เท่าของความสู ง (พื้นผิวงาน – ดวงโคม)

3. สาหรับโคมชนิดทีม่ ีการกระจายแสงลงสู่ เบื้องล่าง


ควรมีระยะห่าง ประมาณ 0.7 – 0.9 เท่าของความสู ง (พื้นผิวงาน – ดวงโคม)
4. สาหรับโคมทีม่ ีลกั ษณะการติดตั้งเป็ นแถว เช่ น ฟลอู อเรสเซนต์
ระยะห่าง อาจจะเพิ่มได้อีก 20 % จากข้อกาหนดในข้อ 3

5. ระยะห่ างจากฝาผนังถึงดวงโคม
ประมาณ 0.5 เท่าของระยะห่างระหว่างดวงโคม

You might also like