You are on page 1of 173

เอกสารประกอบการสอน

วิชาการประมาณราคากอสราง 1
(2106 - 2107)
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545
ประเภทวิชาชางอุตสาหกรรม
สาขาวิชาชางกอสราง

โดย
นายวิเชียร ปญญาจักร

แผนกวิชาชางกอสราง วิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม
สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
รายงานการใชเอกสารประกอบการสอน
วิชาการประมาณราคากอสราง 1
(2106 - 2107)
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545
ประเภทวิชาชางอุตสาหกรรม
สาขาวิชาชางกอสราง

โดย
นายวิเชียร ปญญาจักร

แผนกวิชาชางกอสราง วิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม
สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
คําแนะนําการใชเอกสารประกอบการสอน
วิชา การประมาณราคากอสราง (2106 – 2107)

เอกสารประกอบการสอน วิชาการประมาณราคากอสราง (2106 – 2107) ผูเขียนมีความประสงค


ใหครูผูสอน และผูเรียนใชเอกสารประกอบการสอน ที่มีเนื้อหาที่ครอบคลุมจรงตามหลักสูตร ในระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช) 2545 ประกอบดวยคําบรรยาย และรูปภาพประกอบทีช่ ัดเจน เขาใจงาย
การเรียบเรียงเนื้อหาภายในเลมเปนเรื่องเกีย่ วกับ การประมาณราคากอสราง ประกอบดวย การ
ประมาณราคากอสรางเบื้องตน การหาปริมาณงานดินขุดและงานดินถม การหาปริมาณงานโครงสราง
การหาปริมาณงานสถาปตยกรรม การหาปริมาณงานไฟฟา การหาปริมาณงานสุขาภิบาล และบัญชีวัสดุ
กอสราง กําหนด 18 สัปดาห (รวมสอบปลายภาค) เนื้อหาในเอกสารเลมนี้ประกอบไปดวย 7 หนวยคือ

หนวยที่ 1 เรื่อง การประมาณราคากอสรางเบื้องตน


มีเนื้อหาเกี่ยวกับความหมายของการประมาณราคา ประโยชนของการประมาณราคา ลักษณะ
ของการประมาณราคา วิธีการประมาณราคา ขั้นตอนในการประมาณราคา แบบกอสราง การจัดหมวด
งานกอสราง และสัญญากอสราง

หนวยที่ 2 เรื่อง การหาปริมาณงานดินขุดและงานดินถม


มีเนื้อหาเกี่ยวกับการหาปริมาณงานดินขุดฐานราก การหาปริมาณงานดินขุดบอเกรอะและบอซึม
การหาดินถมฐานราก การปริมาณงานดินถมบอเกรอะและบอซึม และการหาปริมาณงานทรายถมรอง
พื้นกอนเทคอนกรีตพื้นชัน้ ลาง

หนวยที่ 3 เรื่อง การหาปริมาณงานโครงสราง


มีเนื้อหาเกี่ยวกับการหาปริมาณงานโครงสรางฐานราก การหาปริมาณงานโครงสรางเสา การหา
ปริมาณงานโครงสรางคาน การหาปริมาณงานโครงสรางพื้นและการหาปริมาณงานโครงหลังคา การหา
ปริมาณงานโครงสรางก็แยกงานยอยเปนงานคอนกรีต งานเหล็กเสริม งานไมแบบ งานลวดผูกเหล็ก
และงานตะปู

หนวยที่ 4 เรื่องการหาปริมาณงานสถาปตยกรรม
มีเนื้อหาเกี่ยวกับการหาปริมาณงานผนัง การหาปริมาณงานประตูและหนาตาง การหาปริมาณ
งานสี การหาปริมาณงานตกแตงผิวพื้นและงานตกแตงผิวผนัง การหาปริมาณงานฝาเพดาน
หนวยที่ 5 เรื่องการหาปริมาณงานไฟฟา
มีเนื้อหาเกี่ยวกับการเดินสายไฟฟาในบาน และชนิดของอุปกรณหลอดไฟ โคมไฟ งานระบบ
ไฟฟาที่ตองประมาณการ การหาปริมาณงานไฟฟา

หนวยที่ 6 เรื่องการหาปริมาณงานสุขาภิบาล
มีเนื้อหาเกี่ยวกับระบบสุขาภิบาล การหาปริมาณงานทอประปา ทอน้ําเสีย ทอน้ําอุนน้ํารอน
ทอโสโครก การหาปริมาณงานสุขภัณฑตางในหองน้ํา

หนวยที่ 7 เรื่องบัญชีรายการวัสดุ
มีเนื้อหาเกี่ยวกับสวนประกอบตางๆของใบรายการวัสดุกอสราง ประโยชนของการทําบัญชี
รายการวัสดุกอ สราง แบบฟอรมที่ใชในการประมาณราคา

........................................................
(นายวิเชียร ปญญาจักร)
ครู คศ.2
แผนกวิชาชางกอสราง
วิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม
1

หนวยที่ 1
การประมาณราคากอสรางเบื้องตน

หัวขอเรื่อง
ความหมายของการประมาณราคา
ประโยชนของการประมาณราคา
ลักษณะของการประมาณราคา
วิธีการประมาณราคาและขั้นตอนการประมาณราคา
แบบกอสรางและการจัดหมวดรายการกอสราง
สัญญากอสราง

สาระสําคัญ
การประมาณราคาเบื้องตนเปนทฤษฎีพื้นฐานที่ผูเรียนตองรูกอนที่จะเริ่มประมาณราคาจริง ตอง
มีความรูในการประมาณราคา รูหลักการและขั้นตอนในการประมาณราคา การจัดหมวดรายการกอสราง
เพื่อจัดหมวดงานตางๆ ใหเปนระเบียบและที่สําคัญคือไมหลงลืม กอนที่จะทําสัญญากอสราง

จุดประสงคการเรียนรู
เมื่อเรียนบทที่ 1 จบแลวผูเรียนสามารถ
1. บอกความหมายของการประมาณราคาได
2. บอกประโยชนของการประมาณราคาได
3. บอกลักษณะของการประมาณราคาได
4. บอกวิธีการและขั้นตอนการประมาณราคาได
5. บอกลักษณะสวนประกอบของแบบและจัดหมวดงานกอสรางได
6. บอกความหมายของสัญญากอสรางได
2

บทนํา
การประมาณราคาต น ทุ น งานก อ สร า งของโครงการใดโครงการหนึ่ ง เป น เรื่ อ งที่ ต อ งนํ า มา
พิจารณาในแตละระดับนับตั้งแตเจาของโครงการ ผูออกแบบ ผูรับเหมา ซึ่งจะพิจารณาตนทุนงาน
กอสรางที่แตกตางกัน นอกจากตนทุนแลว ยังประกอบดวยคาใชจายอื่นๆอีกหลายอยาง ในฐานะผู
ประมาณราคาตองพยายามอยางที่สุดที่จะใหยอดคาใชจายถูกตอง หรือใกลราคาจริงมากที่สุด

ความหมายของการประมาณราคา
คําวา “ประมาณ” เปนคําที่มีความหมายชัดเจนตัวเองอยูแลวคือ ความไมแนนอนตายตัว แตเปน
การคาดคะเนใหใกลเคียงหรือเกือบเทากับความจริง เทานั้น ฉะนั้นคําวาการประมาณราคากอสราง จึง
หมายความวา การคิดการคํานวณหาปริมาณและราคาวัสดุกอสราง คาแรงงาน คาโสหุย คากําไร คา
ภาษีตลอดจนคาใชจายอื่นๆที่ควรจะเปนสําหรับงานกอสรางในหนวยนั้นๆ โดยอาศัยหลักวิชาและ
ขอเท็จจริงตามทองตลาดรวมกับสถิติตางๆทางดานงานกอสราง ราคากอสรางที่ประมาณไดจึงเปนราคา
ที่ไมใชราคาจริง แตอาจใกลเคียงกับราคากอสรางจริง ทั้งนี้ขึ้นอยูกับประสบการณของผูประมาณราคา
และหลักวิธีการประมาณราคาที่ผูประมาณราคาเลือกมาใชวาถูกวิธีมากนอยเพียงใด ผูประมาณราคาที่มี
ประสบการณมากอาจจะประมาณราคาไดใกลความจริงมาก ซึ่งอาจผิดพลาดไปจากความจริงเพียงรอย
ละ 1 – 5 % ของราคาจริงเทานั้น
ผูประมาณราคา หมายถึง บุคคลที่ทําหนาที่ประมาณราคาหรือแยกราคาวัสดุกอสรางในหนวย
กอสรางนั้นๆ ใหเปนไปตามรูปแบบและรายการกอสรางอันประกอบดวยคาวัสดุ คาแรงงาน คาโสหุย
ค า กํ า ไร และค า ภาษี เพื่ อ เสนองานแก เ จ า ของงานหรื อ ผู ว า จ า ง บางครั้ ง ในกรณี ที่ ผู ว า จ า งเป น
ผูรับเหมากอสราง ผูประมาณราคาจะดําเนินการประมาณราคาเฉพาะคาวัสดุและคาแรงงานเทานั้น สวน
คากําไรและคาภาษีผูวาจางจะเปนผูประมาณการเองกอนที่จะนําไปประมูลหรือประกวดราคา
การประมาณราคากอสรางจะใกลเคียงความเปนจริงมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับประสบการณของ
ผูประมาณราคา ซึ่งควรมีคุณสมบัติดังตอไปนี้ คือ
1. มีความรูพื้นฐานทางดานคณิตศาสตร และเรขาคณิต
2. มีความรูความเขาใจในการอานแบบ รายการกอสราง และสัญญากอสรางเปนอยางดี
3. มีความรู ความชํานาญเกี่ยวกับเทคนิคและการควบคุมงานกอสราง สามารถรูและทํางานตาม
ขั้นตอนหรือลําดับงานของการกอสราง ตลอดจนสามารถแกปญหาที่เกิดขึ้นขณะดําเนินการกอสราง
4. มีความรูความสนใจเกี่ยวกับวัสดุกอสรางตามทองตลาด ทั้งคุณสมบัติ ราคา ตลอดจนแหลง
ผลิตและจําหนายวัสดุนั้นๆ เพื่อนํามาคํานวณหาตนทุนของวัสดุแตละชนิด
5. มีวิสัยทัศนในการมองเหตุการณที่จะเกิดขึ้นระหวางการดําเนินการกอสราง เชนแหลงที่มา
ของวัสดุ และสภาพแวดลอมและอิทธิพลของดินฟาอากาศ
3

6. สามารถเลือกวิธีการประมาณราคาใหเหมาะสมตามสถานการณ มีลําดับขั้นตอนในการ
ประมาณราคาเพื่อกันการลืม
7. มีความสนใจเกี่ยวกับสถิติ การความเคลื่อนไหวของและการเปลี่ยนแปลงตามตลาดแรงงาน
อยูเสมอ
8. มีความชางสังเกตและติดตาม ตลอดจนการวิเคราะหประเมินผลการดําเนินงานในแตละครั้ง
เพื่อนําขอบกพรองหรือขอผิดพลาดไปทําการแกไขตอไป
จากคุณสมบัติขางตน จะสังเกตวาผูประมาณราคาที่ดี จะตองเปนบุคคลที่มีความรูความสามารถ
ตลอดจนประสบการณในการกอสรางเปนอยางมากจึงจะชวยใหการประมาณราคาไดใกลเคียงกับความ
เปนจริงมากยิ่งขึ้น

ประโยชนของการประมาณราคา
การประมาณราคากอสรางมีความสําคัญและมีประโยชนตอบุคคลที่เกี่ยวของกับธุรกิจกอสราง
ทุกฝายไมวาจะเปนเจาของงาน สถาปนิก วิศวกร หรือผูรับเหมากอสราง ทั้งในดานการดําเนินการ
กอสราง และวงเงินคากอสราง และการเปลี่ยนแปลงรูปแบบรายการกอสราง หากประมาณราคาผิดพลาด
อาจทําใหโครงการนั้นลมเหลวไดโดยงาย
เจาของงาน เปนบุคคลที่สามารถกําหนดงบประมาณวงเงินคากอสรางเพื่อใหสถาปนิก หรือ
วิศวกรทําการออกแบบ
สถาปนิกหรือวิศวกร เปนบุคคลที่นําวงเงินหรืองบประมาณที่ไดจากเจาของงานมาพิจารณา
ออกแบบ รวมทั้งศึกษาหาความเหมาะสมของโครงการ หรือใชในการเสนอราคากลางแกเจาของงาน
ผูรับเหมา เปนบุคคลที่นําแบบจากเจาของงานมาประมาณราคาเพื่อเสนอราคา จึงมีความสําคัญ
มากที่ผูรับเหมาะจะตองรูจักวิธีการประมาณราคากอสราง เพราะถาเสนอราคาสูงเกินไปโอกาสที่จะได
งานก็มีนอย ในทางตรงกันขามถาเสนอราคาต่ําเกินไปก็อาจเสี่ยงตอการขาดทุน จนเปนสาเหตุทําใหทิ้ง
งานกอใหเกิดความเสียหายตอเจาของงาน
การประมาณราคากอสรางยังมีประโยชนในกรณีที่เจาของเกิดการเปลี่ยนแปลงงาน คือเพิ่ม หรือ
ลดงานในขณะกอสราง จะชวยใหผูรับเหมาสามารถตกลงราคากับเจาของงานเปนหนวยตามที่เกิดการ
เปลี่ยนแปลงจริง จะชวยใหลดความขัดแยงที่เกิดขึ้นระหวางผูรับเหมากับเจาของงาน ซึ่งบางครั้งเจาของ
งานอาจเห็นเปนเรื่องเล็กนอย สําหรับผูรับเหมาถือเปนตนทุนในการผลิตอาจเกิดผลกระทบตอกําไร-
ขาดทุนได ดังนั้นการคิดราคางานเพิ่มหรือลดงานควรจะทําเปนงานๆไป ณ เวลานั้นๆ ไมควรทิ้งไวทีหลัง
เนื่องจากงานเพิ่มหลายๆงานจะทําใหราคาเปลี่ยนแปลงไปมากจนอาจทําใหเกิดปญหาระหวางเจาของงาน
และผูรับเหมาเรื่องราคาที่สูงหรือต่ําเกินไป
4

ลักษณะของการประมาณราคา
การประมาณราคากอสรางสามารถทําไดหลายวิธี ตั้งแตวิธีการประมาณราคาอยางงาย คือ การ
เดาโดยอาศัยประสบการณและความชํานาญ ไปจนถึงการประมาณราคาอยางละเอียด แตละวิธีมีขอจํากัด
และระดับความแมนยําแตกตางกันออกไป สําหรับผลที่ไดรับจะเปนเพียงความใกลเคียงกับความเปนจริง
เทานั้น
การประมาณราคาจึงจําแนกออกไดหลายลักษณะตามขั้นตอนตางๆของการวางแผนการกอสราง
ตั้งแตเริ่มโครงการ จนถึงการกอสรางแลวเสร็จซึ่งจําแนกออกเปนหลายลักษณะตางกันออกไป
การประมาณราคาเบื้องตน เปนการประมาณราคาอยางหยาบเพื่อนําไปใชในกรณีการคาดการณ
เพื่อตัดสินใจในการทําโครงการ ความเปนไปได และการกําหนดงบประมาณ ผูออกแบบจะกําหนด
ขนาดของโครงการใหเพียงพอกับงบประมาณที่มีอยู
การประมาณราคาโดยผูรับเหมากอสราง เปนการประมาณราคาอยางละเอียด เนื่องจากผูรับเหมา
ตองมีขอมูลอยางละเอียดเพื่อคํานวณตนทุนจากรูปแบบและรายการกอสรางตามที่ตนตองการจะเขารวม
การประมูลงานหรือเสนอราคา ซึ่งจะตองใชความละเอียด รอบคอบสูงมาก
การประมาณราคาโดยเจาของงาน การประมาณราคาแบบนี้มีขอบเขต และขอจํากัดมากกวาการ
ประมาณราคาโดยผู รั บ เหมา จะต อ งประมาณราคาทั้ ง หมด ตั้ ง แต ริ เ ริ่ ม หาที่ ดิ น ค า ก อ สร า ง ค า
สาธารณูปโภค คาออกแบบโครงการ ตลอดจนคาภาษีเงินกู ฯลฯ
การประมาณราคาโดยผูป ระมาณการ การประมาณราคาแบบนี้เ ปน การประมาณการแบบ
ละเอียด สามารถมองออกเปนหลายมุมมอง เชน ถาผูประมาณราคาเปนคนของเจาของโครงการ ก็จะเริ่ม
ประมาณตั้งแตริเริ่มโครงการไปจนแลวเสร็จโครงการ ราคาที่ไดถือเปนราคากลางของการโครงการ ถา
ผูประมาณราคาเปนคนของผูรับเหมาก็จะประมาณราคาในลักษณะเฉพาะจุด เชน งานปรับถนน งาน
กอสรางอาคาร หรืองานสาธารณูปโภค ฯลฯ
การประมาณราคาความก าวหน า การประมาณการแบบนี้เ ปนการประมาณในลักษณะการ
ตรวจสอบไปในตัว เพราะจะตองประมาณการในขณะที่ทํางานเพื่อนําไปเปรียบเทียบกับการประมาณ
ราคาที่ทําไวในแตละจุด

วิธีการประมาณราคากอสราง
การประมาณราคากอสรางโดยทั่วไปแบงออกได 2 วิธี คือการประมาณราคาอยางหยาบ และการ
ประมาณราคาอยางละเอียด
1. วิธีการประมาณราคาแบบหยาบ เปนการประมาณราคาเบื้องตน ใชสําหรับการประมาณราคา
ที่รวดเร็ว และไมตองการความแมนยํามากนัก การประมาณราคาเบื้องตนเหมาะสําหรับที่จะนําไปใชใน
ขั้นตอนตางๆของการวางแผนงานกอสรางดังนี้ คือ
5

1.1 ขั้นริเริ่มโครงการ เมื่อเจาของโครงการตองการทราบขอมูลตนทุนเคราๆ จะชวยใหทราบวา


โครงการนั้นจะอยูในระดับใด จะตองใชเงินลงทุนประมาณเทาไร อันจะกอใหเกิดงบประมาณในการ
ลงทุนขึ้น
1.2 ขั้นศึกษาโครงการ เมื่อคํานวณแลววาโครงการสามารถเกิดขึ้นได ก็เริ่มศึกษาความเปนไป
ไดหรือความเหมาะสมของโครงการ ในขั้นตอนนี้ตองการความแมนยําในการประมาณราคาที่คอนขาง
สูง เพื่อประมาณราคาและวิเคราะหการเงินเบื้องตน
1.3 ขั้ น การออกแบบ เมื่ อเจา ของโครงการตัด สิน ใจที่จ ะทํ า โครงการ คณะผูอ อกแบบคื อ
สถาปนิกและวิศวกรก็จะใชหลักการประมาณราคาเบื้องตนเพื่อศึกษาสถิติและขอมูลในอดีตเกี่ยวกับราคา
คากอสราง เพื่อเลือกรูปแบบของโครงการใหเหมาะสมภายใตวงเงินที่กําหนดไว
หลักการประมาณราคาเบื้องตนสามารถทําไดหลายแบบ ในแตละแบบจะมีตัวแปรหลักเปน
สัดสวนโดยตรงกับราคาคากอสราง เชน พื้นที่ใชสอยของอาคาร ปริมาตรของอาคารและจํานวนหนวย
การใชสอย

การประมาณราคาโดยใชพื้นที่ใชสอย
การประมาณราคาโดยพื้นที่ใชสอย ทําไดโดยการหาพื้นที่ใชสอยรวมของอาคารทั้งหมดซึ่งคิด
จากเสนรอบรูปภายนอกของอาคารไมหักสวนใดสวนหนึ่งออก แลวคูณดวยตนทุนตอหนวยพื้นที่ใชสอย
ของอาคาร หรือสิ่งปลูกสรางนั้นๆ
ตัวอยางที่ 1 อาคารพาณิชย 2 ชั้น 4 คูหา มีความกวางรวม 12.00 เมตร ความยาวรวม 16.00
เมตร ตนทุนการผลิต ตารางเมตรละ 10,000 บาท จงคํานวณหาราคาโดยพื้นที่ใชสอย
6

รูปที่ 1.1 แปลนพื้นชั้น 1 และชั้น 2 ของอาคารพาณิชย 2 ชั้น 4 คูหา


ที่มา : วิเชียร ปญญาจักร

วิธีคิด หาพืน้ ใชสอยที่รวมทั้งหมด = ความกวาง x ความยาว x จํานวนชั้น


= 12 x 16 x 2
= 384 ตารางเมตร
ตนทุนตารางเมตรละ 10,000 บาท = 384 x 10,000
จะใชตน ทุนในการกอสราง = 3,840,000 บาท

ตนทุนคากอสรางซึ่งไดจากการประมาณราคาแบบนี้อาจแตกตางกันออกไป เนื่องจาก
1. เขตพื้นที่กอสราง ทําใหราคาวัสดุและคาแรงงานตางกัน
2. วิธีการกอสราง เชนวัสดุสําเร็จรูปและวัสดุทําในที่
3. รายละเอียดอื่นๆ เชนรูปแบบของอาคารที่แตกตางกัน ทําใหลักษณะโครงสรางตางกัน

การเลือกใชวิธีการประมาณราคาแบบพื้นที่ใชสอย เปนการประมาณราคากอสรางอยางหยาบ จึง


ควรระวังเรื่องตัวเลขของตนทุนตอตารางเมตร ตองไมลืมวามีความคลาดเคลื่อนคอนขางสูง
7

การประมาณราคากอสรางโดยปริมาตร
การประมาณราคาแบบนี้คลายกับการประมาณราคาแบพื้นที่ใชสอย จะตางกันตรงที่วา การ
ประมาณราคาแบบพื้นที่ใชสอยใชพื้นที่เปนตัวแปรหลัก สวนการประมาณราคาแบบปริมาตรใชปริมาตร
ของงานเปนตัวแปรหลัก การประมาณราคาแบบปริมาตรอาศัยปริมาตรที่คํานวณจากการครอบคลุมพื้นที่
ของอาคารทั้งหมดตั้งแตพื้นชั้นลางไปจนถึงหลังคาแลวคูณดวยตนทุนราคาตอหนวยปริมาตร

ตัวอยางที่ 2 ตึกแถว 3 ชั้น 5 คูหา แตละคูหามีความกวาง 4.00 เมตร ความยาว 12 .00 เมตร
ความสูง 10.40 เมตร

รูปที่ 1.2 แปลนพื้นและรูปดานของอาคารพาณิชย 3 ชั้น 5 คูหา


ที่มา : วิเชียร ปญญาจักร
8

วิธีคิด หาปริมาตรของตึก = ความกวาง x ความยาว x ความสูง x จํานวนคูหา


= 4 x 12 x 10.40 x 5
= 2496 ลูกบาศกเมตร
ถาราคาตนทุนตอลูกบาศกเมตร = 1500 บาท
จะไดตนทุนกอสรางตึกแถว = 2496 x 1500 บาท
= 3,744,000 บาท
จะเห็นไดวาถาอาคารหรือสิ่งกอสรางที่มีพื้นที่เทากัน แตความสูงของอาคารตางกัน ยอมทําให
ปริมาตรตางกัน จึงเปนเหตุทําใหตนทุนตางกัน
การประมาณราคากอสรางโดยหนวยการใชสอย
การประมาณราคาแบบนี้อาศัยหลักการที่วาตนทุนของสิ่งกอสรางแปรตามจํานวณหนวยการใช
สอยการประมาณราคาโดยหนวยการใชสอย ทําไดโดย การคูณจํานวนหนวยของตัวแปรหลักดวย
ตนทุนตอหนวยของตัวแปรหลักนั้น
ตัวอยางที่ 3 หอพัก คสล. 2 ชั้น จํานวนชั้นละ 6 ยูนิต ราคาคากอสรางตอยูนิต 120,000 บาท

รูปที่ 1.3 แปลนพื้นชั้น 1 และ แปลนพื้นชั้น 2 ของอาคารหอพัก คสล. 2 ชั้น 6 ยูนิต


ที่มา : วิเชียร ปญญาจักร
9

วิธีคิด หาหนวยการใชสอย = จํานวนยูนติ x จํานวนชัน้


= 6x2
= 12 ยูนิต
ถาราคาตอยูนิต = 120,000 บาท
จะไดตนทุนกอสรางตึกแถว = 12 x 120,000
= 1,440,000 บาท
การประมาณราคาแบบนี้จะใหผลที่มีความแมนยําสูงขึ้นเมื่อมีลักษณะของสิ่งกอสรางคลายกัน

2. วิธีการประมาณราคาแบบละเอียด จะสามารถทําไดเมื่อรูปแบบไดพัฒนาจนถึงขั้นสมบูรณ
แลวและมีรายละเอียดครบถวน กําหนดระยะเวลากอสรางที่แนนอนแลว และพรอมที่จะเปดการ
ประกวดราคา ฉะนั้นผูรับเหมาจึงมีบทบาทมากในการประมาณราคาอยางละเอียด เริ่มตั้งแตการเขาไป
สํารวจสถานที่กอสรางกอนเพื่อใหทราบถึงสภาพเดิม ลักษณะของเสนทางเขาถึง ปญหาอุปสรรคที่ตอง
แกไขที่หนางาน จากนั้นจะประชุมกับผูเกี่ยวของแตละฝายเพื่อมอบหมายหนาที่รับผิดชอบ เชน ติดตอ
จัดเตรียมเครื่องจักร ติดตอแหลงวัสดุตางๆ ติดตอผูรับเหมาชวง เปนตน
การเตรียมการประมาณราคาตองศึกษาแบบรายละเอียดใหชัดเจนทุกระบบงาน รวมทั้งเอกสาร
ประกอบแบบและเงื่อนไขเพิ่มเติมตางๆ จากนั้นจึงเริ่มถอดแบบหาปริมาณของวัสดุตางๆสํารวจแหลง
ราคาวัสดุและแหลงแรงงานที่มีอยูและตองจัดหาเพิ่ม รวมทั้งจัดหาผูรับเหมาชวงที่เหมาะสมสําหรับงาน
แตละประเภท
วิธีการประมาณราคาแบบละเอียดนี้ จะไดปริมาณและราคาวัสดุที่ไดใกลเคียงความจริงมาก
สามารถนําปริมาณจากประมาณการเอาไว มาควบคุมปริมาณวัสดุที่ใชในการกอสรางจริงได และการ
ตรวจสอบคาวัสดุกอสรางเทียบกับที่ไดประมาณการเอาไวก็สามารถทําไดโดยงาย นับวาเปนที่นิยมใช
กันพอประมาณเพราะความละเอียดของขอมูลทําใหโอกาสผิดพลาดนอย และยังคอยควบคุมปริมาณวัสดุ
กอสรางไมใหเกินกําหนดไดเปนอยางดี ซึ่งจะสรุปใหทราบเปนแนวทางกวางๆดังนี้
1. แรงงาน
2. วัสดุกอสราง
3. เครื่องจักรกลและอุปกรณ
4. การจัดเตรียมและบริหารหนวยงานกอสราง
5. การควบคุมหนวยงานกอสราง
6. การจัดเตรียมพื้นที่กองเก็บวัสดุหรือประกอบชิ้นสวน
7. ผูรับเหมาชวง
8. คาใชจายนอกเหนือจากที่ปรากฏในรูปแบบ
9. คาดําเนินการ
10

10. คากําไรและคาภาษี
11. ดอกเบี้ย

ขั้นตอนการประมาณราคา
เปนหนาที่ของผูรับเหมาที่จะตองตัดสินใจหลังจากที่ไดรับแบบแปลนกอสรางจากเจาของงาน
แลววาจะวางแผนดําเนินการถอดราคาและคิดราคาอยางไรจึงจะประมูลงานสูกับผูรับเหมารายอื่นไดโดย
ไมเสี่ยงตอสภาวะขาดทุน แตละคนจะตองหากลยุทธวิธีที่จะชนะคูตอสูใหได และวิธีที่สําคัญที่สุดที่
ผูรับเหมาแตละคนไมสามารถหลีกเลี่ยงไดก็คือ วิธีการประมาณราคาที่ถูกตองเปนไปอยางเปนระบบและ
เปนขั้นเปนตอน ดังนั้นการประมาณราคาที่ถูกวิธีควรมีขั้นตอนดังนี้
1. รวบรวมขอมูลทั้งหมดพรอมทั้งสํารวจสถานที่กอสรางจริง ( Data)
2. ถอดแบบเพื่อหาปริมาณงานและวัสดุทั้งหมดที่ปรากฏอยูในแบบ (Take off )
3. ลงราคาวัสดุและแรงงานที่ใชลงแบบฟอรมการประมาณราคา ( Take cost )
4. สรุปราคารวมคาดําเนินการและกําไร (Overhead and profit )

1. รวบรวมขอมูล (Data) หลังจากที่ผูรับเหมาตัดสินใจจะประมูลงานนี้แลว จะตอง


ดํ า เนิ น การรวบรวมข อ มู ล พร อ มทั้ ง ตรวจสอบสถานที่ จ ะต อ งก อ สร า งจริ ง ว า มี อุ ป สรรคหรื อ ป ญ หา
อะไรบางที่จะเกิดขึ้นหรือตามมา ขอมูลสวนมากที่จะใชในขั้นตอนนี้ก็คือ
1.1. แบบรูป ( Drawing )
1.2. รายการประกอบหรือขอกําหนดในแบบ ( Specification )
1.3. เอกสารที่เกี่ยวของทั้งหมด เชน เอกสารสัญญา เอกสารแนบทายสัญญา เปนตน
1.4. สํารวจสถานที่จริง
จากขอมูลดังกลาวขางตนนี้จะเปนขอมูลสําคัญสําหรับการประมาณราคา ไมวาจะเปนอาคาร
ขนาดเล็กหรืออาคารขนาดใหญก็ตาม ผูรับเหมาหรือผูประมาณราคาจะตองนํามาดําเนินการตามขั้นตอน
ของการประมาณราคาตอไป ในขณะเดียวกันขอมูลที่ไดอาจเปนปญหาอยางมากสําหรับผูประมาณราคา
มือใหมหรือผูประมาณราคาที่ไมเคยมีประสบการณมากอน ที่อาจไมรูวาจะเริ่มดําเนินการอยางไร ที่จริง
แลวการประมาณราคางานกอสรางทุกชนิดทุกประเภทจะมีแนวทางการดําเนินการหรือหลักการประมาณ
ราคาหรือพื้นฐานการประมาณราคาเปนไปในแนวเดียวกันหมด อาจแตกตางกันตรงเทคนิควิธีเพียง
เล็กนอย แตผลสรุปออกมาก็คือเปาหมายอันเดียวกันโดยมีแบบรูปหรือแบบแปลนเปนตัวกําหนด หรือ
แมแตขอกําหนดที่ตกลงดวย ไมวาจะระบุไวในแบบหรือไมก็ตามผูรับจางควรจะนํามาคิดไวเปนตนทุน
ดวย งานกอสรางบางงานระบุขอกําหนดหรือคุณสมบัติของวัสดุตางๆที่ใชในงานนั้นๆลงไวในแบบ
เรียบรอย ดังนั้นไมวาผลการประมาณราคาจะออกมาแตกตางราคากันมากนอยเพียงใดก็ตาม ถาผูรับเหมา
11

ยื่นซองประมูลราคามาแลวถือวาไมมีผูใดประมาณราคาผิด แตที่ราคาที่ผูรับเหมายื่นซองมาแลวมีราคาที่
แตกตางกันออกไปก็เนื่องจากนโยบายใน
ทางการดําเนินการหรือในเชิงธุรกิจที่ไมเหมือน ผูรับเหมาบางคนอาจตองการกําไรมาก บางคน
อาจมีตนทุนที่ต่ํากวา เชน ไมแบบที่ใชในการกอสรางในสถานการณจริงแลวสามารถใชได 2 ถึง 3 ครั้ง
ตอไมแบบ 1 ชุด การประมาณราคาไมแบบจึงสามารถลดปริมาณประมาณได 30 - 50 เปอรเซ็นต ซึ่ง
ผูรับเหมาบางคนอาจคิด 100 เปอรเซ็นต ก็ไมผิดเงื่อนไขการประมาณราคา
การดูสถานที่กอสรางจริงเปนวันที่ถูกกําหนดขึ้นโดยผูวาจาง ที่จะนัดหมายใหผูที่จะตองการ
ประมูลราคาในงานกอสรางนั้นๆใหมาดูสถานที่จริงกอนที่จะนําไปประกอบในการคิดราคาซึ่งผูวาจางจะ
เปนผูกําหนดเงื่อนไขตางๆขึ้นใหผูรับจางไดปฏิบัติตาม เชน ระดับอางอิงในการกอสราง การรักษาตนไม
บางตนไว เปนตน จึงนับวาเปนสิ่งสําคัญและจําเปนอยางมากสําหรับผูรับจางหรือผูประมาณราคา
เนื่องจากสถานที่อาจเปนตัวกําหนดตนทุนหรือกําไรไดมาก สถานที่จริงจะบอกไดวาอุปสรรคที่จะเกิดขึ้น
ในขณะปฏิบัติงานหรือขั้นเตรียมงานมีมากนอยเพียงใดที่ผูรับจางจะตองแกไขหรือดําเนินการหรือตอง
เสียคาใชจายเพิ่มขึ้น เชน สถานที่จริงในการปฏิบัติงานเปนสถานที่แคบมาก การขนยายวัสดุไมสะดวก
ตองใชแรงงานคนในการขนยายวัสดุบางสวน ก็สามารถที่จะคิดคาใชจายเพิ่มขึ้นได

2. ถอดแบบหาปริมาณของงานทั้งหมด จากขอมูล (Take off) ในวงการกอสรางเราคุนเคยกับ


คําวา “ ถอดแบบ ” หรือ “Take off” ก็คือการหาปริมาณวัสดุกอสราง ที่เปนไปตามรูปแบบ ( Drawing
) เปนไปตามขอกําหนด (Specification ) เปนไปตามสัญญาและขอตกลงอื่นๆ เพราะขอมูลทุกอยาง
แลวแตเปนเงินทั้งนั้น การหาปริมาณวัสดุแตละชนิดนั้นเราสามารถคํานวณปริมาณตางๆ ตามหลักดังนี้
ในเรื่องความยาว มีหนวยเปน มิลลิเมตร เซนติเมตร เมตร เชน
1.1 ความยาวของเสาเข็ม เปนเมตร
1.2 ควมยาวของเชิงชาย เปนเมตร
1.3 ความสูงของอาคาร เปนเมตร เปนตน

ในเรื่องของพื้นที่ มีหนวยเปน ตารางเมตร ตารางวา งาน ไร


1.1 พื้นที่ของไมแบบ เปนตารางเมตร
1.2 พื้นที่ของผนังกออิฐ เปนตารางเมตร
1.3 พื้นที่ของการมุงกระเบื้องหลังคา เปนตารางเมตร เปนตน

ในเรื่องของปริมาตร มีหนวยเปน ลูกบาศกเมตร หรือ คิวบิคเมตร


1.1 ปริมาตรของคอนกรีต เปนลูกบาศกเมตร หรือ คิวบิคเมตร
1.2 ปริมาตรของคอนกรีต เปนลูกบาศกเมตร หรือ คิวบิคเมตร
12

1.3 ปริมาตรของไม เปนลูกบาศกฟุต หรือคิวบิคฟุต เปนตน

แบบกอสราง
แบบกอสรางเปนแบบที่จะใชเพื่อทําการกอสราง ตามที่สถาปนิกและวิศวกรไดกําหนดขึ้น โดย
อาศัยหลักวิชาและกฎระเบียบขอบังคับของทองถิ่นที่จะกอสราง โดยใหเปนไปตามวัตถุประสงคของ
เจาของงาน แบบกอสรางถือเปนสวนหนึ่งของสัญญากอสราง มีรูปแบบเรียงลําดับตามความสําคัญของ
งานกอสรางและมีแบบขยาย เพื่อใหผูรับเหมาหรือชางกอสรางตลอดจนผูประมาณราคา เกิดความเขาใจ
ในรายละเอียดสวนประกอบของอาคารและวัสดุตางๆ
แบบกอสรางประกอบดวย รูปแผนผัง แบบรูปตั้งทุกดาน แปลนพื้นชั้นตางๆ แบบรูปตัดของ
สวนสําคัญ และแบบขยายรายละเอียดตางๆ ทั้งในแบบงานสถาปตยกรรม แบบงานวิศวกรรมโครงสราง
แบบงานวิศวกรรมไฟฟาและแบบงานวิศวกรรมเครื่องกล ปกติแบบกอสรางเขียนอยูในระบบเมตริก
( คือ มิลลิเมตร เซนติเมตร เมตร ) ซึ่งนิยมใชในประเทศไทย ในแบบจะระบุวาเปนรูปแบบอะไร มี
มาตรตราสวนเทาไร เชน 1:20 จะหมายความวาที่เขียนลงในแบบ 1 เซนติเมตร จะเทากับที่จะตอง
กอสรางจริง 20 เซนติเมตร เปนตน เลขหมายของแบบแตละแผน นิยมใชตัวอักษรขึ้นตนที่แสดงถึง
แบบของแตละฝายที่เกี่ยวของ เชน
A = งานสถาปตยกรรม
S = งานวิศวกรรมโครงสราง
E = งานวิศวกรรมไฟฟา
M = งานวิศวกรรมเครื่องกล
SN = งานวิศวกรรมสุขาภิบาล

แบบงานสถาปตยกรรม ( แทนดวยอักษร A) ประกอบดวย


รูปแปลน เปนรูปที่แสดงตําแหนงของอาคารวาตั้งหันหนาไปทางทิศใด มีขนาดของอาคาร
เทาใด อยูหางจากรั้วหรือเขตที่ดินเปนระยะเทาไร แตละชั้นของอาคารมีหองอะไรบาง และขนาดเทาได
ทางเดินติดตอภายในอาคารมีอะไรบาง อยูตรงไหนบาง เชน ประตู ระเบียง บันได และมีชองแสง
ชองลม หรือหนาตางอยูสวนใดของผนัง ตลอดจนระดับของแตละชั้นแตละหอง
รูปดานหรือรูปตั้ง มักแสดงทั้งสี่ดาน คือดานหนา ดานหลัง ดานขางสองดาน เพื่อใหเห็น
รูปทรงอาคาร ประตูและหนาตางวาเปนอยางไร อยูตรงไหน ตลอดจนความสูงของอาคาร
รูปตัด มีรูปตัดตามขวางและรูปตัดตามยาว ตามแนวตัดที่ไดแสดงไวในรูปแปลน รูปตัดแสดง
ถึงความสูงและระยะของแตละชั้นในอาคาร ตลอดจนชนิดและขนาดของวัสดุที่ใชเปนสวนประกอบของ
อาคาร
13

รูปขยาย เปนรูปตัดที่เขียนขยายขึ้นเพื่อใหเห็นรายละเอียดของการใชวัสดุที่จะทําเปนสวนของ
โครงสราง ใหเห็นชัดเจนขึ้น

แบบงานวิศวกรรมโครงสราง ( แทนดวยอักษร S) ประกอบดวย


รูปแปลน แสดงตําแหนงของฐานราก เสา คานคอดิน คานชั้นสอง และโครงหลังคา
รูปขยาย เพื่อขยายรายละเอียดของฐานราก เสา คาน โครงหลังคา วามีขนาดกวางยาวเทาใด
ใชชนิดและขนาดของวัสดุอยางไร ที่จะทําเปนสวนของโครงสราง
แบบงานวิศวกรรมไฟฟา ( แทนดวยอักษร E) ประกอบดวย
รูปแปลน แสดงจํานวนและตําแหนงของดวงโคม สวิทช ปลั๊ก การเดินสายไฟ ฯลฯ
แบบงานวิศวกรรมสุขาภิบาล ( แทนดวยอักษร SN) ประกอบดวย
รูปแปลน แสดงจํานวนและตําแหนง ที่ตั้งของบอเกรอะ บอซึม บอน้ําทิ้ง หรือถังบําบัด บอพัก
ทอระบายน้ํา ฯลฯ
รูปขยาย แสดงรายละเอียดของขนาด ลักษณะ และชนิดของวัสดุที่จะใชทําในงานสุขาภิบาล

รายละเอียดประกอบการกอสราง
รายละเอียดประกอบการกอสราง หรือรายการกอสราง คือขอเขียนที่แสดงรายละเอียดเพิ่มเติม
จากที่ไดแสดงไวในแบบกอสราง โดยขอกําหนดทางสถาปตยกรรมและวิศวกรรม เกี่ยวกับขนาดแสดง
คุณสมบัติของวัสดุกอสราง การเตรียมงานและหลักการดําเนินการกอสรางสําหรับงานนั้นๆ เพื่อชี้บงถึง
ความตองการของเจาของงานและมาตรฐานของงานที่ตองการ ซึ่งผูรับจางจะตองถือเปนสวนหนึ่งของ
สั ญ ญาที่ ต อ งปฏิ บั ติ แ ละดํ า เนิ น การ ผู ป ระมาณการจะต อ งศึ ก ษาและทํ า ความเข า ใจในรายละเอี ย ด
ประกอบการกอสราง ทั้งนี้เพราะงานกอสราง 2 งานที่ใชแบบกอสรางเหมือนกัน ราคาอาจแตกตางกันได
หากรายการกอสรางที่กําหนดคุณภาพของวัสดุและมาตรฐานของงานที่ตองการมีความแตกตางกัน
รายการกอสรางมีสองแบบ คือ
1. รายการอยางละเอียด ซึ่งเขียนไวโดยละเอียดและสมบูรณทุกขั้นตอนของงาน อาจแบงเปน
รายการฝายสถาปตยกรรมและฝายวิศวกรรม
2. รายการยอ ซึ่งเขียนไวโดยสั้นๆโดยยอ แจงความประสงคงายๆ ถึงคุณสมบัติของวัสดุ
กอสราง เชน การใชคอนกรีต 1 : 2 : 4 โดยปริมาตร เปนตน สวนใหญมักเขียนไวในแบบกอสรางเลย
ปกติรายการกอสรางอยางละเอียดจะเขียนตามลําดับขั้นตอนของการดําเนินการกอสราง เชน
การเตรียมสถานที่ ปกผังปริเวณ การทําฐานราก ฯลฯ โดยบงถึง ขนาดและคุณสมบัติของวัสดุกอสราง
การทดสอบวัสดุ การปฏิบัติงานตางๆ เชน การประกอบและติดตั้ง เปนตน รายการกอสรางอาจแยกเปน
รายการทั่วไปที่เขียนเปนบทหรือสวนทั่วๆไปของงานที่พึงประสงค รายการกอสรางทางเทคนิคที่แยก
14

เฉพาะงานที่จะทําเปนเรื่องๆไป โดยบอกวาเปนงานอะไร ใชวัสดุอะไร ใชที่ไหน และทําอยางไร ซึ่งเปน


การอธิบายถึงคุณภาพของวัสดุและฝมือมาตรฐานการทํางานที่ตองการ
กอนลงมือประมาณราคา ผูประมาณการจะตองศึกษารายละเอียดประกอบการกอสรางทุก
ถอ ยคํา วาคุ ณ ภาพของวั สดุแ ละมาตรฐานของงานเป น อยา งไร มีขอ ขั ด แยง กับ แบบกอสรา ง หรือ มี
ขอสังเกตอื่นใดที่จะตองหาขอมูลเพิ่มเติม หรือสอบถามตอไป เพื่อปองกันความผิดพลาดในการประมาณ
การ เกี่ยวกับคาแรงงาน วัสดุ และระยะเวลาที่จะดําเนินการปลูกสราง

การจัดหมวดรายการงานกอสราง
ในการจัดทําบัญชีสวนประกอบของงานกอสรางหรือเอกสาร “บัญชีวัสดุกอสราง” หรือ
“บัญชีรายการคากอสราง” จุดประสงคของการจําแนกรายการของงานกอสราง ก็เพื่อจัดหมวดหมูของ
งานตางๆใหเปนระเบียบ ชวยใหการประมาณราคาทําไดโดยสะดวก และที่สําคัญคือไมหลงลืมบาง
รายการไป สําหรับการจําแนกรายการกอสรางตามระบบ CSI ของสหรัฐอเมริกา แบงออกเปน 16 หมวด
ดังนี้
หมวดที่ 1. GENERAL REQUTREMENTS
หมวดที่ 2. SITE WORK
หมวดที่ 3. CONCRETE
หมวดที่ 4. MASONRY
หมวดที่ 5. METALS
หมวดที่ 6. WOOD AND PLASTICS
หมวดที่ 7. THERMAL AND MOISTURE PROTECTION
หมวดที่ 8. DOORS AND WINDOWS
หมวดที่ 9. FINISHES
หมวดที่ 10. SPECIALTIES
หมวดที่ 11. EQUIPMENT
หมวดที่ 12. FURNISHINGS
หมวดที่ 13. SPECIAL CONSTRUCTION
หมวดที่ 14. CONVEYING SYSTEMS
หมวดที่ 15. MECHANICAL
หมวดที่ 16. ELECTRICAL
15

การจัดหมวดรายการงานกอสรางภายในประเทศไทย แบงหมวดหมูตางๆ ของงานโครงสราง


ทั่วไป ดังนี้
หมวดที่ 1. งานฐานราก
- งานขุดดินฐานรากและกลบคืน
- งานตอกเสาเข็ม (เสาเข็มไม, เสาเข็ม คสล., เสาเข็มคอนกรีตอัดแรง, เสาเข็มเจาะ )
- งานทดสอบการรับน้ําหนักของเสาเข็ม
- งานวัสดุรองใตฐานราก
- งานคอนกรีตหยาบรองใตฐานราก
หมวดที่ 2. งานโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก
- งานโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็กใตระดับดิน ประกอบดวยงาน คสล. (ฐานราก,
ตอมอ คานยึดฐานราก, ตานคอดิน) งานไมแบบ
- งานโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก ชั้นที่ 1, 2, 3........... ประกอบดวยงาน คสล. (พื้น
คาน, เสา, บันได ฯลฯ) งานไมแบบ
- งานโครงสรางพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กระดับหลังคา ประกอบดวยงาน คสล. (พื้น,
ดาดฟา, คาน, เสารับโครงหลังคา) งานไมแบบ น้ํายากันซึมผสมคอนกรีต
หมวดที่ 3. งานหลังคา
- งานโครงหลังคา (โครงหลังคาไม, โครงหลังคาเหล็ก)
- งานมุงหลังคา (วัสดุแผนมุงหลังคาและอุปกรณ)
หมวดที่ 4. งานฝาเพดานและเพดาน
- งานฝาเพดานคอนกรีตเปลือย
- งานฝาเพดานฉาบปูนเรียบ
- งานฝาเพดานวัสดุแผนและคราวไม
หมวดที่ 5. งานผนังและฝา
- งานผนังกอดวยวัสดุกอ (ผนังกออิฐมอญ, ผนังกอคอนกรีตบล็อก ฯลฯ)
- งานผนังคอนกรีตเปลือย
- งานฝาวัสดุแผนและคราวไม
หมวดที่ 6. งานตกแตงผิว
- งานตกแตงผิวผนัง (งานผนังบุวัสดุแผน, งานผนังฉาบผิวหินลาง ทรายลาง)
- งานฉาบปูนทราย (งานผนังฉาบปูนเรียบ, งานผนังฉาบปูนและแตงแนว)
- งานตกแตงผิวพื้น (งานเทปูนทรายปรับระดับ, งานปูดวยวัสดุแผน, งานบัวเชิงผนัง)
16

หมวดที่ 7. งานประตู หนาตาง


- ประตูไม, ประตูเหล็ก, ประตูอลูมิเนียม พรอมวงกบและอุปกรณ
- หนาตางไม, หนาตางอลูมิเนียม กระจกพรอมอลูมิเนียม
หมวดที่ 8. งานลูกกรงและราวลูกกรง
- งานลูกกรงและราวลูกกรงบันได
- งานลูกกรงและราวลูกกรงทั่วไป
หมวดที่ 9. งานระบบสุขาภิบาลและดับเพลิง
- งานระบบทอประปา (น้ําใช)
- งานระบบทอระบายน้ํา (น้ําทิ้ง)
- งานระบบระบายอากาศและกําจัดน้ําโสโครก (รวมสุขภัณฑ)
- งานระบบดับเพลิง
หมวดที่ 10. งานระบบไฟฟา
- งานไฟฟากําลัง
- งานไฟฟาแสงสวาง
- งานระบบสื่อสารติดตอภายใน-ภายนอก
หมวดที่ 11. งานสี
- งานทาสีภายนอกอาคาร
- งานทาสีภายในอาคาร
หมวดที่ 12. งานระบบปรับอากาศและระบายอากาศ
หมวดที่ 13. งานลิฟทและทางเลื่อนตางๆ
หมวดที่ 14. งานอุปกรณเครื่องใชภายในอาคาร และเฟอรนิเจอร
หมวดที่ 15. งานภายนอกอาคารทั่วไป (ทางเดินเทารอบอาคาร, ถนน, ลานจอดรถ, รั้ว, ประตู
ทางออก งานตกแตงสวนและบริเวณทั่วไป)

สัญญาการกอสราง
สัญญาการกอสราง เปนขอตกลงระหวางบุคคลสองฝายคือ ฝายผูวาจางกับฝายผูรับจางโดยมี
ความ
มุงหมายใหฝายใดฝายหนึ่งปฏิบัติภารกิจอยางใดอยางหนึ่งตามขอตกลงที่ระบุไว เชน กําหนดระยะเวลา
กอสราง กําหนดการชําระเงิน กําหนดคาเสียหาย (เบี้ยปรับ)หากฝายใดฝางหนึ่งผิดสัญญา เปนตน ปกติ
สัญญาการกอสรางจะประกอบไปดวยหัวขอตางๆดังนี้
1. เรื่องของสัญญา สถานที่ทําสัญญา
2. วัน เดือน ป ที่ทําสัญญา
17

3. ผู ทํ า สั ญ ญาระหว า งใครกั บ ใคร ซึ่ ง ต อ งบ ง ชื่ อ สกุ ล สั ญ ชาติ เชื้ อ ชาติ อายุ อาชี พ
ตลอดจนที่อยูอาศัยใหละเอียดชัดเจน
7. กําหนดวันลงมือทําการกอสราง และวันแลวเสร็จของอาคารนั้น พรอมทั้งรวมระยะเวลา
การกอสรางวาเปนเวลากี่วัน
8. ระบุการจายคาเสียหายทดแทน (คาปรับ)หากมีการผิดสัญญาตามขอ 7
9. ระบุการแบงงวดการจายเงินคากอสรางไวอยางชัดเจนวา ทําการกอสรางไดงานแลวเสร็จถึง
อะไร ผูวาจางตองจายเงินเทาใดเปนงวดๆไป
10. บงถึงการเลิกสัญญาวา จะเลิกสัญญากันไดเพราะเหตุใดบาง และเมื่อใด
11. มีชองลงลายเซ็นทายสัญญาของผูวาจางและผูรับจาง พรอมพยานอยางนอยสองคน และ
ผูเขียนสัญญาอีกหนึ่งคน
ผูประมาณราคาจะตองศึกษาขอตกลงและสัญญาใหละเอียดกอนลงมือประมาณราคา เพราะขอ
สัญญาตางๆตามความตองการของผูวาจาง จะมีผลกระทบตอราคาคากอสราง
18

สรุป
หลักการประมาณราคาเบื้องตนนั้นผูประมาณราคาตองรูความหมาย หลักการและขัน้ ตอนใน
การประมาณราคา การประมาณราคามีประโยชนตอเจาของงาน สถาปนิก วิศวกรหรือผูรับเหมา การ
ประมาณราคาจะใกลเคียงความจริงมากแคไหนนัน้ ขึ้นอยูก ับวิธีการประมาณราคาของผูประมาณราคา วา
เปนแบบหยาบหรือแบบระเอียด และที่สําคัญอีกอยางหนึ่งผูประมาณราคาตองอานแบบออกและเขาใจ
รายละเอียดของแบบ
19

แบบฝกหัด
หนวยที่ 1 การประมาณราคากอสรางเบื้องตน

คําชี้แจง จงเลือก หนาคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว


1. ขอใดคือความหมายของการประมาณราคาที่ถูกตองที่สุด
ก. การคาดคะเน การเดา
ข. การคิดการคํานวณหาปริมาณและราคาวัสดุกอสราง
ค. การคิดการคํานวณหาปริมาณและราคาวัสดุกอสราง คาแรงงาน คาโสหุย คากําไร คาภาษี
ตลอดจนคาใชจายอืน่ ๆที่ควรจะเปนสําหรับงานกอสรางในหนวยนัน้ ๆ
ง. ถูกทุกขอ
2. ขอใดคือความหมายของผูประมาณราคา
ก. บุคคลที่ทําหนาที่เขียนแบบ
ข. บุคคลที่ทําหนาที่เปนเจาของงาน
ค. บุคคลที่ทําหนาที่ควบคุมงานกอสราง
ง. บุคคลที่ทําหนาที่ประมาณราคาหรือแยกราคาวัสดุกอสราง
3. ผูประมาณราคาควรมีคุณสมบัติตามขอใด
ก. มีความรูพนื้ ฐานทางดานคณิตศาสตร และเรขาคณิต
ค. มีความรูความสนใจเกีย่ วกับวัสดุกอสรางตามทองตลาด ทั้งคุณสมบัติและราคา
ข. มีความรูความเขาใจในการอานแบบ รายการกอสราง และสัญญากอสรางเปนอยางดี
ง. ถูกทุกขอ
4. วิธีการประมาณราคางานกอสรางโดยทัว่ ไปแบงออกเปนกี่แบบ
ก. 2 แบบ
ข. 3 แบบ
ค. 4 แบบ
ง. 5 แบบ
5. มาตราสวน 1:20 มีความหมายตรงกับขอใด
ก. หมายความวาที่เขียนลงในแบบ 1 เซนติเมตร จะเทากับที่จะตองกอสรางจริง 20 เซนติเมตร
ข. หมายความวาที่เขียนลงในแบบ 20 เซนติเมตร จะเทากับที่จะตองกอสรางจริง 1 เซนติเมตร
ค. หมายความวาที่เขียนลงในแบบ 1:20 นั้น จะสรางจริง 1 เซนติเมตร หรือ 20 เซนติเมตร ก็ได
ง. ถูกทุกขอ
20

6. อักษรใดตอไปนี้ใชแทนแบบดานงานวิศวกรรมโครงสราง
ก. A
ข. S
ค. E
ง. M
7. อักษรใดตอไปนี้ใชแทนแบบดานงานสถาปตยกรรม
ก. A
ข. S
ค. E
ง. SN
8. อักษรใดตอไปนี้ใชแทนแบบดานงานสุขาภิบาล
ก. A
ข. S
ค. E
ง. SN
9. อักษรใดตอไปนี้ใชแทนแบบดานงานไฟฟา
ก. A
ข. S
ค. E
ง. SN
10. แบบงานสถาปตยกรรม รูปแปลน แสดงถึงอะไร
ก. แสดงตําแหนงฐานราก เสา คาน
ข. แสดงตําแหนงสวิทช ปลั๊ก การเดินสายไฟฟา
ค. แสดงตําแหนงทอน้ําใช ทอน้ําเสีย ทอโสโครก
ง. แสดงตําแหนงของอาคารวาหันหนาไปทางทิศใด มีขนาดของอาคารเทาใด
11. แบบงานวิศวกรรมโครงสราง รูปแปลน แสดงถึงอะไร
ก. แสดงตําแหนงฐานราก เสา คาน
ข. แสดงตําแหนงสวิทช ปลั๊ก การเดินสายไฟฟา
ค. แสดงตําแหนงของอาคารวาหันหนาไปทางทิศใด มีขนาดของอาคารเทาใด
ง. แสดงที่ตั้งของบอเกรอะ บอซึม บอน้ําทิ้ง หรือถังบําบัด บอพัก ทอระบายน้ํา
21

12. แบบงานวิศวกรรมสุขาภิบาล รูปแปลน แสดงถึงอะไร


ก. แสดงตําแหนงฐานราก เสา คาน
ข. แสดงตําแหนงสวิทช ปลั๊ก การเดินสายไฟฟา
ค. แสดงตําแหนงของอาคารวาหันหนาไปทางทิศใด มีขนาดของอาคารเทาใด
ง. แสดงที่ตั้งของบอเกรอะ บอซึม บอน้ําทิ้ง หรือถังบําบัด บอพัก ทอระบายน้ํา
13. รูปตัด แสดงถึงอะไร
ก. แสดงถึงรายละเอียดการใชวัสดุ
ข. แสดงถึงความสูงและระยะของแตละชั้นในอาคาร
ค. แสดงถึงรูปดานหนา ดานขางสองขาง ดานหลัง เห็นรูปทรงอาคาร ประตู หนาตาง
ง. ถูกทุกขอ
14. รูปดาน แสดงถึงอะไร
ก. แสดงถึงรายละเอียดการใชวัสดุ
ข. แสดงถึงความสูงและระยะของแตละชั้นในอาคาร
ค. แสดงถึงรูปดานหนา ดานขางสองขาง ดานหลัง เห็นรูปทรงอาคาร ประตู หนาตาง
ง. ถูกทุกขอ
15. รายละเอียดประกอบการกอสราง หมายถึงขอใด
ก. ขอเขียนที่แสดงรายละเอียดดานเทคนิคกอสราง
ข. ขอเขียนทีแ่ สดงรายละเอียดการใชวัสดุกอสราง
ค. ขอเขียนทีแ่ สดงรายละเอียดเกี่ยวกับบริเวณกอสราง
ง. ขอเขียนที่แสดงรายละเอียดเพิ่มเติมจากที่แสดงในแบบแบบกอสราง
16. จุดประสงคของการจําแนกรายการของงานกอสราง คือขอใด
ก. เพื่อใหไมหลงลืมบางรายการ
ข. เพื่อชวยใหการประมาณราคาทําไดโดยสะดวก
ค. เพื่อจัดหมวดหมูของงานตางๆใหรวมเปนกลุมเปนระเบียบ
ง. ถูกทุกขอ
17. การจําแนกรายการงานกอสรางภายในประเทศไทยแบงออกเปนกีง่ วด
ก. 10 งวด
ข. 16 งวด
ค. 18 งวด
ง. 20 งวด
22

18. สัญญากอสรางมีความหมายตรงกับขอใด
ก. เปนสัญญาที่ใชไมไดตามกฎหมาย
ข. เปนสัญญาที่ไมตองทําเปนลายลักษณอกั ษร
ค. เปนขอตกลงระหวางบุคคลสองฝายคือ ฝายผูวาจางและผูรับจาง
ง. ถูกทุกขอ
19. การทําสัญญากอสรางตองมีพยานอยางนอยกี่คน
ก. 1 คน
ข. 2 คน
ค. 3 คน
ง. 4 คน
20. ในการทําสัญญากอสรางตองมีกี่บุคคล
ก. ผูวาจาง ผูร ับจาง
ข. ผูวาจาง ผูรับจาง พยาน 1 คน
ค. ผูวาจาง ผูรับจาง พยาน 2 คน
ง. ผูวาจาง ผูรับจาง พยาน 2 คน ผูเขียนสัญญา 1 คน
หนวยที่ 2
การหาปริมาณงานดินขุดและงานดินถม

หัวขอเรื่อง
การหาปริมาณงานดินขุด
การหาปริมาณงานดินถม

สาระสําคัญ
การหาปริมาณงานดินขุดและงานดินถมนั้นตองพิจารณาจากระดับตามแบบที่กอสรางจริง
และตองคํานึงถึงความหนาแนนของดินและลักษณะของภูมิประเทศดวย งานดินขุดและงานดินถม
คิดหนวยเปนลูกบาศกเมตร
 
จุดประสงคการเรียนรู
เมื่อเรียนบทที่ 2 จบแลวผูเรียนสามารถ
1. คํานวณหาปริมาณงานดินขุดได
2. คํานวณหาปริมาณงานดินถมได
24

บทนํา
งานขุดดินในมุมมองทั่วไปจะเปนลักษณะงานที่ใชแรงงานเปนสวนใหญ ซึ่งไมจําเปนตอง
ใชทักษะหรือประสบการณในการขุดก็ได แตในความเปนจริงแลวการขุดดินสามารถขุดไดทั้ง
แรงงานคน และการใชเครื่องจักร ในงานกอสรางบางประเภทอาจถูกกําหนดไว ซึ่งตองมีการ
สํารวจพื้นที่ที่จะทําการกอสรางเพื่อที่จะไดวางแผนการใชเครื่องมือ เครื่องจักรหรือตลอดจนการใช
แรงงานในการขุดหรือปรับสภาพพื้นที่ใหพรอมสําหรับการกอสรางและจะทําใหงานดําเนินไปดวย
ความรวดเร็วเรียบรอยและมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น
โดยทั่วไปแลวงานดินขุดเปนงานที่สรางรายไดใหกับกรรมกรมากพอสมควร ถาดินเปนดิน
เหนียวธรรมดาคาแรงงานในการขุดลูกบาศกเมตรละ 100 บาท คน 1 คนสามารถขุดดินชนิดนี้ได
3 - 5 ลูกบาศกเมตรตอคนตอวัน ถึงแมจะเปนงานที่ถูกมองวาเปนงานชั้นกรรมกร แตก็คุมคา
เหนื่อย ดังนั้นการที่ผูรับจางจะตัดสินใจพิจารณาวาจะใชเครื่องมือประเภทไหนในการขุดดิน ควร
พิจารณาจากองคประกอบตอไปนี้ คือ
1. ลั ก ษณะพื้ น ที่ ๆจะทํ า การปลู ก สร า ง ว า มี ค วามสะดวกมากน อ ยเพี ย งใด ถ า จะใช
เครื่องจักรในการทํางานจะมีพื้นที่มากพอที่จะดําเนินการไดหรือไม เนื่องจาก
เครื่องจักรจะตองใชพื้นที่ทั้งในการทํางานและพื้นที่ๆจะเก็บกองดินที่จะขุดขึ้นมามาก
จําเปนตองมีพื้นที่รองรับมากพอสมควร
2. ลักษณะของดินที่จะขุดวาเปนดินประเภทไหน เชน ดินรวน , ดินเหนียว ,ดินแข็งปน
หิน เป น ต น ผู รับจางจึ งตองพิจ ารณาให ดีวา จะใช เครื่ องมือ ประเภทไหนจึง จะลด
คาใชจายในสวนนี้ใหไดมากที่สุด
3. ลักษณะของงานที่ทํา เชน ถาเปนงานอาคารเล็กๆธรรมดาก็สามารถใชแรงงานคนได
แตถาเปนอาคารใหญหรือมีปริมาตรดินที่จะขุดจํานวนมาก ก็จําเปนตองใชเครื่องจักร
ในการดําเนินการ
ทั้งนี้ ใ นการพิ จ ารณาว า จะเลือกเครื่อ งมือ ชนิด ใดก็ต ามไมวา จะเปน คนหรื อเครื่ องจัก ร
ทายที่สุดก็ตองใชแรงงานคนในการปรับแตง เพื่อใหไดขนาดถูกตองตามแบบแปลนที่กําหนด
เนื่องจากเครื่องจักรไมสามารถเก็บรายละเอียดการขุดตามแบบแปลนได

การหาปริมาตรดินขุด
การหาปริมาตรดินขุด สามารถคํานวณไดหลายแบบแลวแตชนิดของดิน ถาเปนดินรวน
หรือดินรวนปนทรายก็ตองเผื่อระยะขุดขางละ 0.50 เมตร เพื่อปองกันการสไลดของดินในขณะขุด
25

รูป 2.1 การขุดหลุมฐานรากแบบเผื่อ ใชในกรณีที่ดนิ เปนดินรวนหรือดินรวนปนทราย


ที่มา : วิเชียร ปญญาจักร

จากรูปที่ 2.1 ปริมาตรดินขุด = (ความกวาง+1 ) x (ความยาวยาว+ 1 เมตร) x ความลึก x จํานวน


ฐาน
โดยที่ ขยายความกวาง 1 เมตร และขยายความยาว 1 เมตร

ตัวอยางที่ 1 จากรูปที่ 2.1 จงหาปริมาตรดินขุดของฐานราก เมื่อฐานรากขนาดกวาง 1.00 เมตร ยาว


1.00 เมตร ลึก 1.50 เมตร จํานวน 8 ฐาน

วิธีทํา
ปริมาตรดินขุด = (1.00 + 1) x (1.00 + 1) x 1.50 x 8 ฐาน
= 48 ลบ.ม. ตอบ

การหาปริมาตรดินขุดในกรณีที่เปนดินเหนียว จะขุดตั้งฉากพอดีกับขนาดของฐานราก
โดยใหดินเหนียวนัน้ เปนแบบของฐานรากโดยที่ไมตองใชไมแบบฐานราก
26

รูป 2.2 การขุดหลุมฐานรากแบบไมเผื่อ ใชในกรณีที่เปนดินเหนียว


ที่มา : วิเชียร ปญญาจักร

จากรูปที่ 2.2 ปริมาตรดินขุด = ความกวาง x ความยาว x ความลึก x จํานวนฐาน


โดยที่ ความกวางและความยาวของหลุมจะพอดีกบั ฐานราก

ตัวอยางที่ 2 จากรูปที่ 2.2 จงหาปริมาตรดินขุดของฐานราก เมื่อฐานรากขนาด กวาง 1.00 เมตร ยาว


1.00 เมตร ลึก 1.50 เมตร จํานวน 8 ฐาน

วิธีทํา
ปริมาตรดินขุด = 1.00 x 1.00 x 1.50 x 8 ฐาน
= 12 ลบ.ม. ตอบ

การขุดหลุมบอเกรอะ – บอซึม ก็ตองมีการเผื่อขางละ 0.50 เมตร เหมือนกัน


เมื่อเรานําทอซีเมนตวางลงไปในหลุมเรียบรอยแลว ใชบริเวณรอบทอซีเมนตใสอิฐหัก
ทรายและผงถาน เพื่อดูดซึมน้ําใหระบายไปยังดินรอบๆทอ และระงับกลิ่นได
27

รูปที่ 2.3 การขุดหลุมบอเกรอะ – บอซึม


ที่มา : วิเชียร ปญญาจักร

จากรูปที่ 2.3 ปริมาตรดินขุด = r2 x ลึก x จํานวนหลุม


โดยที่ ความกวางขยายออก 0.50 เมตร โดยรอบ

ตัวอยางที่ 3 จากรูปที่ 2.3 จงหาปริมาตรดินขุดหลุมบอเกรอะ – บอซึม

วิธีทํา
ปริมาตรดินขุดหลุมบอซึม = r2 x ลึก x จํานวนหลุม
=  x 1.002 x 2.30 x 2 บอ
= 14.45 ลบ.ม. ตอบ
28

การหาปริมาณงานดินถม
ดินถมกลับ คือ ดินที่ไดจากการขุดแลวถมกลับคืนไปยังตําแหนงเดิม การคํานวณหา
ปริมาณดินถมกลับหาไดโดยเอาปริมาตรที่มาแทนดินถมกลับ เชน คอนกรีตฐานราก คอนกรีตเสา
ตอมอไปลบออกจากปริมาตรดินที่ขุดจะไดปริมาณดินถมกลับหลุมมีหนวยเปนลูกบาศกเมตร สวน
คาแรงคิดตามปริมาณดินถมกลับที่คํานวณได

ตัวอยางที่ 4 การหาปริมาตรดินถมฐานราก (กรณีเปนดินรวน) ขนาดความกวาง 1.00 เมตร ความ


ยาว 1.00 เมตร ความลึก 1.50 เมตร จํานวน 8 ฐาน (ดังรูป)

รูป 2.4 การถมดินหลุมฐานรากในกรณีที่ดนิ เปนดินรวนหรือดินรวนปนทราย


ที่มา : วิเชียร ปญญาจักร
29

จากรูปที่ 2.4 ปริมาตรดินถม = ดินขุด - {(ปริมาตรเสาตอมอ + ปริมาตรฐานราก + ปริมาตร


คอนกรีตหยาบ + ปริมาตรทรายหยาบ)}
วิธีทํา
ปริมาตรดินถม = 48 - {(0.20 x 0.20 x 1.10 x 8)+(1.00 x 1.00 x 0.20 x 8)
+(2.00 x 2.00 x 0.10 x 8)+ (2.00 x 2.00 x 0.10 x 8)}
= 39.65 ลบ.ม. ตอบ

ตัวอยางที่ 5 การหาปริมาตรดินถมฐานราก (กรณีเปนดินเหนียว) ขนาดความกวาง 1.00 เมตร


ความยาว 1.00 เมตร ความลึก 1.50 เมตร จํานวน 8 ฐาน (ดังรูป)

รูป 2.5 การถมดินหลุมฐานรากในกรณีที่ดนิ เปนดินเหนียว


ที่มา : วิเชียร ปญญาจักร
30

จากรูปที่ 2.5 ปริมาตรดินถม = ดินขุด- {(ปริมาตรเสาตอมอ+ ปริมาตรฐานราก + ปริมาตร


คอนกรีตหยาบ + ปริมาตรทรายหยาบ)}
วิธีทํา
ปริมาตรดินถม = 12 - {(0.20 x 0.20 x 1.10 x 8)+(1.00 x 1.00 x 0.20 x 8)
+(1.00 x 1.00 x 0.10 x 8)+ (1.00 x 1.00 x 0.10 x 8)}
= 8.45 ลบ.ม. ตอบ

ตัวอยางที่ 6 การหาปริมาตรทรายถมรองพื้น GS ขนาดความกวาง 3.00 เมตร ความยาว 3.50 เมตร


ความหนาของทรายรองพื้น 0.30 เมตร จํานวน 4 พื้น (ดังรูป)

รูปที่ 2.6 แปลนผังพื้นและรูปตัดพื้น


ที่มา : วิเชียร ปญญาจักร

จากรูปที่ 2.6 ปริมาตรทรายถมรองพื้น = ความกวาง x ความยาว x ความหนา x จํานวนพื้น


วิธีทํา
ปริมาตรทรายถมรองพื้น GS = 3.00 x 3.50 x 0.30 x 4 พื้น
= 12.60 ลบ.ม. ตอบ
31

ตัวอยางที่ 7 การหาปริมาณอิฐหักถมโดยรอบบอซึมขนาดดังรูป 2.7

รูปที่ 2.7 รูปแปลนและรูปตัดบอซึม


ที่มา : วิเชียร ปญญาจักร

จากรูปที่ 2.7 ปริมาตรอิฐหัก = ปริมาตรดินขุด - ปริมาตรที่มาแทนที่


= ( x 1.002 x 2.10 x 1 บอ)- ((  x 0.502 x 2.10 x 1 บอ)
= 4.95 ลบ.ม. ตอบ
32

สรุป
งานดิน หมายถึง การตัดดินออกหรือขุดออกและดินถมอาจปาดดินจากที่หนึ่งไปยังอีกที่
หนึ่ ง ซึ่ ง อยู ใ นพื้ น ที่ ก อ สร า งเดี ย วกั น และต อ งรั ก ษาระดั บ ผิ ว หน า ดิ น ไว เ สมอ ดิ น แต ล ะชนิ ด มี
คุณสมบัติแตกตางกันเปนปญหาในการขุดหรือถม ตองพิจารณาความหนาแนนของดิน ความแหง
ความเปยก หรือความชื้นรวมกันดวย ปกติงานดินขุดและงานดินถมในงานกอสรางประกอบดวย
งานดินหลุมฐานราก งานบอเกรอะ-บอซึม และงานดินถมในบริเวณที่กอสราง
33

แบบฝึกหัด
หนวยที่ 2 การหาปริมาณงานดินขุดและงานดินถม

คําชี้แจง จงเลือก หนาคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว


1. ฐานรากมีขนาดความกวาง 1.50 เมตร ยาว 1.50 เมตร ขุดลึก 1.50 เมตร มีจํานวน 10 หลุม และ
เปนดินรวนเผื่อออกขางละ 0.50 เมตร จะไดดินขุดหลุมฐานรากกี่ลกู บาศกเมตร
ก. 80.00 ลบ.ม.
ข. 83.75 ลบ.ม.
ค. 90.00 ลบ.ม.
ง. 93.75 ลบ.ม.
2. ฐานรากมีขนาดความกวาง 1.10 เมตร ยาว 1.50 เมตร ขุดลึก 1.50 เมตร มีจํานวน 20 หลุม และ
เปนดินเหนียวจึงไมตองขุดเผื่อ จะไดดนิ ขุดหลุมฐานรากกี่ลูกบาศกเมตร
ก. 30.55 ลบ.ม.
ข. 40.75 ลบ.ม.
ค. 49.50 ลบ.ม.
ง. 50.65 ลบ.ม.
3. ฐานรากมีขนาดความกวาง 1.20 เมตร ยาว 1.70 เมตร ขุดลึก 1.20 เมตร มีจํานวน 5 หลุม และ
เปนดินรวนเผื่อออกขางละ 0.50 เมตร จะไดดินขุดหลุมฐานรากกี่ลกู บาศกเมตร
ก. 28.55 ลบ.ม.
ข. 30.85 ลบ.ม.
ค. 32.55 ลบ.ม.
ง. 35.64 ลบ.ม.
4. จงหาปริมาตรดินขุดหลุมบอซึม ขนาดเสนผาศูนยของทอซีเมนต 0.80 เมตร ขุดหลุมลึก 2.10
เมตร จํานวณ 2 บอ
ก. 8.55 ลบ.ม.
ข. 9.75 ลบ.ม.
ค. 10.69 ลบ.ม.
ง. 11.65 ลบ.ม.
34

5. จงหาปริมาตรดินถมหลุมฐานราก ขนาดความกวาง 1.20 เมตร ความยาว 1.20 เมตร ฐานรากหนา


0.20 เมตร ทรายหยาบหนา 0.05 เมตร คอนกรีตหยาบหนา 0.10 เมตร ตอมอขนาดความกวาง
0.20 เมตร ยาว 0.20 เมตร สูง 1.15 เมตร ขุดหลุมลึก 1.50 เมตร เปนดินเหนียว
ก. 1.20 ลบ.ม.
ข. 1.35 ลบ.ม.
ค. 1.50 ลบ.ม.
ง. 1.61 ลบ.ม.
6. จงหาปริมาตรดินถมหลุมฐานราก ขนาดความกวาง 1.00 เมตร ความยาว 1.00 เมตร ฐานรากหนา
0.20 เมตร ทรายหยาบหนา 0.10 เมตร คอนกรีตหยาบหนา 0.10 เมตร มีตอมอขนาดความกวาง
0.20 เมตร ยาว 0.20 เมตร สูง 1.10 เมตร ขุดหลุมลึก 1.50 เมตร เปนดินรวนปนทราย
ก. 4.00 ลบ.ม.
ข. 4.96 ลบ.ม.
ค. 5.25 ลบ.ม.
ง. 5.60 ลบ.ม.
7. จงหาปริมาตรทรายรองพื้น GS พื้นกวาง 2.50 เมตร ยาว 3.00 เมตร ทรายถมรองพื้นหนา 0.40
เมตร มีจํานวน 4 พืน้
ก. 11.50 ลบ.ม.
ข. 12.00 ลบ.ม.
ค. 12.50 ลบ.ม.
ง. 13.00 ลบ.ม.
8. จงหาปริมาตรทรายรองพื้น GS พื้นกวาง 4.00 เมตร ยาว 5.00 เมตร ทรายถมรองพื้นหนา 0.50
เมตร มีจํานวน 6 พืน้
ก. 50.50 ลบ.ม.
ข. 60.00 ลบ.ม.
ค. 70.50 ลบ.ม.
ง. 80.00 ลบ.ม.
9. จงหาปริมาตรทรายถมบริเวณบานเมื่อพืน้ ที่บานกวาง 12.00 เมตร ยาว 18.00 เมตร ถมทรายหนา
1.50 เมตร
ก. 250.00 ลบ.ม.
ข. 270.00 ลบ.ม.
ค. 300.00 ลบ.ม.
ง. 324.00 ลบ.ม.
35

10. จงหาปริมาตรทรายถมบริเวณบานเมื่อพื้นที่บานกวาง 12.00 เมตร ยาว 23.00 เมตร ถมทราย


หนา 0.50 เมตร
ก. 138.00 ลบ.ม.
ข. 150.50 ลบ.ม.
ค. 175.55 ลบ.ม.
ง. 188.50 ลบ.ม.
36

หนวยที่ 3
การหาปริมาณงานโครงสราง

หัวขอเรื่อง
การหาปริมาณงานโครงสรางฐานราก
การหาปริมาณงานโครงสรางเสา
การหาปริมาณงานโครงสรางคาน
การหาปริมาณงานโครงสรางพื้น
การหาปริมาณงานโครงสรางหลังคา

สาระสําคัญ
บานพักอาศัยโดยทั่วไปนั้นประกอบดวยสวนของโครงสรางหลักๆ ไดแก ฐานราก เสา คาน
พื้นและหลังคาประกอบกันเปนองคอาคารของตัวบาน การหาปริมาณงานโครงสรางนั้นแยกเปน 5 สวน
หลักๆ คือ งานคอนกรีต งานเหล็กเสริม งานลวดผูกเหล็ก งานไมแบบ งานตะปู
 
จุดประสงคการเรียนรู
เมื่อเรียนบทที่ 3 จบแลวผูเรียนสามารถ
1. คํานวณหาปริมาณงานโครงสรางฐานรากได
3. คํานวณหาปริมาณงานโครงสรางเสาได
4. คํานวณหาปริมาณงานโครงสรางคานได
5. คํานวณหาปริมาณงานโครงสรางพื้นได
6. คํานวณหาปริมาณงานโครงสรางหลังคาได
37

บทนํา
การหาปริมาณงานโครงสราง ผูประมาณตองมีความรูความเขาใจในเทคนิคการกอสรางที่ดี
เขาใจขั้นตอนการกอสรางอยางทองแท เมื่อประมาณปริมาณวัสดุจะไดไมซ้ําซอนกันหรือเกิดความ
ผิดพลาด เชน การถอดปริ มาณคานคอนกรีต ก็ให หักความหนาของพื้นออกดวย เพราะเวลาถอด
ปริมาณคอนกรีตพื้นจะคิดความหนาเต็มตลอดพื้นที่
การหาปริมาณงานโครงสรางประกอบดวยงานโครงสรางฐานราก งานโครงสรางเสา งาน
โครงสรางคาน งานโครงสรางพื้น งานโครงสรางหลังคา

งานโครงสรางฐานราก
ฐานราก (FOOTTING) ทําหนาที่รับน้ําหนักจากตัวโครงสรางทั้งหมด แลวถายลงสูดิน หรือ
เสาเข็มโดยตรง คุณสมบัติของดินที่รองรับฐานราก ควรมีความสามารถรองรับน้ําหนักบรรทุกไดโดยไม
เกิดการเคลื่อนตัว หรือพังทลายของดินใตฐานราก และตองไมเกิดการทรุดตัวลงมาก จนกอใหเกิดความ
เสียหายแกโครงสราง
ถาจะเปรียบเทียบกับมนุษยเราฐานรากก็เปรียบเสมือนเทาที่จะตองแบกรับน้ําหนักทั้งหมดของ
รางกายที่เคลื่อนไหวไปมาโดยมีแรงตานจากรอบตัวทุกวินาที ดังนั้นฐานรากจึงตองมีความแข็งแรงมาก
พอที่จะทําใหอาคารทรงตัวอยูไดโดยมีแรงตานจากธรรมชาติรอบดานตลอดเวลา
ปจจัยที่มีผลตอความมั่นคงของฐานราก ไดแก
1. ความแข็งแรงของตัวฐานรากเอง ซึ่งหมายถึงโครงสรางสวนที่เปนคอนกรีตเสริมเหล็ก
2. ความสามารถในการแบกรับน้ําหนักของดินใตฐานราก (Soil-Bearing Capacity)
3. การทรุดตัว (Settlement) ของดินใตฐานรากควรเกิดขึ้นไดนอยและใกลเคียงกันทุกฐานราก
ฐานราก ถูกแบงออกตามลักษณะได 2 ชนิด คือ ฐานรากตื้นหรือแบบไมมีเสาเข็มรองรับและฐาน
รากลึกหรือแบบมีเสาเข็มรองรับ

สวนประกอบของงานโครงสรางฐานรากประกอบดวย
1. ทรายอัดแนนรองกนหลุมใชเปนตัวเชื่อมดินและปรับระดับผิวพื้นที่กนหลุมใหเรียบ เพื่อ
ความสะดวกเรียบรอยในการทํางาน ความหนาที่ใชโดยทั่วไปประมาณ 0.05 เมตรหรือ 5 เซนติเมตร
( หนวยที่ใชในการคํานวณหาปริมาตร เปนลูกบาศกเมตรหรือ ม3 )
2. คอนกรีตหยาบหรือคอนกรีตที่มีอัตราสวนผสม 1 : 3 : 5 ( ปูนซีเมนตปอรตแลนด 1 สวน
ทรายหยาบ 3 สวน และหิน 5 สวน ) ทําหนาที่เปนตัวปองกันไมใหเหล็กโครงสรางสัมผัสกับทรายรอง
กนหลุม ซึ่งอาจทําใหเหล็กเกิดสนิมไดงายขึ้นความหนาที่ใชโดยทั่วไปประมาณ 0.05 เมตรหรือ 5
เซนติเมตรหรือขึ้นอยูกับรายการคํานวณออกแบบทางวิศวกรรม (หนวยที่ใชในการคํานวณหาปริมาตร
เปน ลูกบาศกเมตรหรือ ม3 )
38

3. เหล็กตะแกรงเสริมโครงสราง( หนวยที่ใชในการคํานวณหาปริมาณ เปนกิโลกรัม ) ปริมาณ


ที่ใชขึ้นอยูกับรายการคํานวณทางวิศวกรรม
4. เหล็กรัดรอบเหล็กตะแกรงฐานราก (ถามี) เปนเหล็กที่ใชยึดประคองปลายเหล็กตะแกรงฐาน
รากไมใหลมเอียงไปทางใดทางหนึ่ง
5. ลวดผูกเหล็ก ปริมาณที่ใช เหล็ก 1 กิโลกรัม ใชลวด 0.018 กิโลกรัม ( เหล็ก 1 ตัน ตอ ลวด
18 กิโลกรัม ) ( หนวยที่ใชในการคํานวณหาปริมาณ เปนกิโลกรัม )
6. คอนกรีตโครงสรางเปนคอนกรีตที่มีอัตราสวนผสม 1: 2 : 4 ( ปูนซีเมนตปอรตแลนด 1
สวน ทรายหยาบ 2 สวน และหิน 4 สวน ) มีระยะในการหอหุมเหล็กไมนอยกวาขางละ 3 เซนติเมตร
โดยรอบ( หนวยที่ใชในการคํานวณหาปริมาตร เปนลูกบาศกเมตรหรือ ม3 ) ปริมาตรที่ใชขึ้นอยูกับ
รายการคํานวณทางวิศวกรรม
7. ไมแบบ ไมที่ใชทําแบบโดยทั่วไปเปนชนิดไมเนื้อออน เนื่องจากมีความสะดวกและรวดเร็ว
ในการทํางาน ไมแบบที่ใชในงานฐานรากประกอบดวย 2 ชนิด คือไมแบบและไมค้ํายัน ถาเปนไมแบบ
ใชไมที่มีขนาดความหนาอยางนอย 1 นิ้ว ความกวางขึ้นอยูกับลักษณะของงาน ถาเปนไมค้ํายันใชไมที่มี
ขนาดความหนา 1-1/2 นิ้ว ความกวาง 3 นิ้ว การแปลงหนวยไมแบบจากเมตร ไปเปน ลูกบาศกฟุตให
นําไปคูณกับ 0.0228 และถาแปลงหนวยจากตารางเมตร ไปเปน ลูกบาศกฟุตใหนําไปคูณกับ 0.192
8. ตะปู ใชในการประกอบไมแบบใหเขากันหรือเปนชิ้นเดียวกันปริมาณไมแบบ 1ตารางเมตร
ใชตะปู 0.25 กิโลกรัม( หนวยที่ใชในการคํานวณหาปริมาณ เปนกิโลกรัม )

ตารางที่ 3.1 วัสดุมวลรวมของคอนกรีตหยาบสวนผสม 1: 3 : 5 ใน 1 ลบ.ม.

วัสดุผสม จํานวน หนวย


1. ปูนซีเมนตปอรตแลนด 260 กก.
2. ทรายหยาบ 0.62 ลบ.ม.
3. หินเบอร 1”-2” 1.03 ลบ.ม.
4. น้ํา 180 ลิตร

ที่มา : - http://www.gprocurement.th/02_price/index.php
39

ตารางที่ 3.2 วัสดุมวลรวมของคอนกรีตโครงสรางสวนผสม 1: 2 : 4 ใน 1 ลบ.ม.

วัสดุผสม จํานวน หนวย


1. ปูนซีเมนตปอรตแลนด 342 กก.
2. ทรายหยาบ 0.57 ลบ.ม.
3. หินเบอร 1”-2” 1.09 ลบ.ม.
4. น้ํา 180 ลิตร

ที่มา : - http://www.gprocurement.th/02_price/index.php

การประมาณการหาวัสดุที่ใชในงานฐานรากประกอบดวย
1. ทรายหยาบอัดแนน (หนวยที่ใชเปนลูกบาศกเมตร, ลบ.ม.)
2. คอนกรีตหยาบ (หนวยที่ใชเปนลูกบาศกเมตร, ลบ.ม. )
3. คอนกรีตโครงสราง (หนวยที่ใชเปนลูกบาศกเมตร, ลบ.ม. )
4. เหล็กเสริมฐานราก (หนวยทีใ่ ชเปนกิโลกรัม, กก. )
5. เหล็กรัดรอบฐานราก ถามี (หนวยทีใ่ ชเปนกิโลกรัม, กก. )
6. ลวดผูกเหล็ก ( หนวยทีใ่ ชเปนกิโลกรัม , กก.)
7. ไมแบบ ( หนวยที่ใชเปนลูกบาศกฟุต , ลบ.ฟ. )
8. ตะปู ( หนวยทีใ่ ชเปนกิโลกรัม, กก. )
40

ตัวอยางที่ 1 จากรูปที่ 3.1 จงหาปริมาณงานโครงสรางฐานราก

รูปที่ 3.1 แบบแสดงรูปตัดฐานราก


ที่มา : วิเชียร ปญญาจักร

1. หาปริมาณทรายหยาบอัดแนน
วิธีคิด จากสูตรการหาปริมาตร = ความกวาง x ความยาว x ความสูง ( ความหนา )
= 1.00 x 1.00 x 0.10 ม.
= 0.10 ลบ.ม. ตอบ

2. หาปริมาณคอนกรีตหยาบ
วิธีคิด จากสูตรการหาปริมาตร = ความกวาง x ความยาว x ความสูง ( ความหนา )
= 1.00 x 1.00 x 0.10 ม.
= 0.10 ลบ.ม. ตอบ

การแยกปริมาณวัสดุทใี่ ชผสมคอนกรีตหยาบรองใตฐานราก (ใชขอมูลตารางที่ 3.1) ได


(1) ปูนซีเมนตปอรตแลนด
= 0.10 x 260
= 26 กก.
41

หรือเปนจํานวนถุง (1 ถุง = 50 กก.)


= 26 / 50
= 0.52 ถุง
(2) ทรายหยาบ
= 0.10 x 0.62
= 0.062 ลบ.ม.
(3) หินเบอร 1-2 = 0.10 x 1.03
= 0.11 ลบ.ม.
(4) น้ํา = 0.10 x 180
= 18.00 ลิตร

3. หาปริมาณคอนกรีตโครงสรางฐานราก
วิธีคิด จากสูตรการหาปริมาตร = ความกวาง x ความยาว x ความสูง ( ความหนา )
= 1.00 x 1.00 x 0.30 ม.
= 0.30 ลบ.ม. ตอบ

การแยกปริมาณวัสดุทใี่ ชผสมคอนกรีตโครงสรางฐานราก (ใชขอมูลตารางที่ 3.2) ได


(1) ปูนซีเมนตปอรตแลนด
= 0.30 x 342
= 102.60 กก.
หรือเปนจํานวนถุง (1 ถุง = 50 กก.)
= 102.60 / 50
= 2.05 ถุง
(2) ทรายหยาบ
= 0.30 x 0.57
= 0.17 ลบ.ม.
(3) หินเบอร 1-2 = 0.30 x 1.09
= 0.33 ลบ.ม.
(4) น้ํา = 0.30 x 180
= 54.00 ลิตร
42

4. หาปริมาณเหล็กเสริมฐานราก
4.1 เหล็กเสริมฐานราก
วิธีคิด การหาปริมาณเหล็กเสริมฐาน ( DB 12 มิลลิเมตร)
= {( ความกวางของฐาน – ระยะหุมคอนกรีต 2 ขาง )+ [((ความหนา
ของฐานราก – ระยะหุมคอนกรีต 2 ขาง+ระยะงอปลาย)x2] x จํานวน
เหล็กเสริม } + {( ความยาวของฐาน – ระยะหุมคอนกรีต 2 ขาง )+
[(( ความหนาของฐาน – ระยะหุมคอนกรีต 2 ขาง+ระยะงอปลาย)x2]
x จํานวนเหล็กเสริม}
= {( 1.00 – 0.10 ) + [ ( 0.30 -0.10+0.12 ) x 2 ] x 6} + {( 1.00 – 0.10
) + [ ( 0.30 -0.10+0.12 ) x 2 ] x 6}
ความยาวรวม = 18.48 ม.
ทําความยาวเปนน้ําหนัก = 18.48 x 0.888
= 16.41 กก. ตอบ

4.2 เหล็กรัดรอบฐานราก
วิธีคิด การหาปริมาณเหล็กรัดรอบฐาน ( RB 9 มิลลิเมตร)
= {[( ความกวางของฐาน – ระยะหุมคอนกรีต 2 ขาง) x 2] +
[( ความยาวของฐาน – ระยะหุมคอนกรีต 2 ขาง) x 2]} +
ระยะงอปลาย 2 ขาง
= {[( 1.00 – 0.10) x 2] +[(1.00 – 0.10 ) x 2 ]}+0.20
เหล็กรัดรอบฐานยาว = 3.80 ม.
ทําความยาวเปนน้ําหนัก = 3.80 x 0.499 กก.
= 1.90 กก. ตอบ

5. หาปริมาณลวดผูกเหล็ก
วิธีคิด การหาปริมาณลวดผูกเหล็ก (เหล็กเสน 1 กิโลกรัม ใชลวด 0.018 กิโลกรัม)
= น้ําหนักเหล็กทั้งหมด (ขอ 4) x 0.018 (คาคงที่)
= ( 16.41 + 1.90 ) x 0.018 กก.
= 0.33 กก. ตอบ
43

6. หาปริมาณไมแบบ
วิธีคิด การหาปริมาณไมแบบ (ใชไมแบบหนา 1 นิว้ หรือ 0.025 เมตร)
= {[( ความกวางของฐานราก + ความหนาของไมแบบ ) x 2]+ [(
ความยาวของฐานราก + ความหนาของไมแบบ) x 2]} x ความ
สูงของฐานราก
= {[( 1.00 + 0.025 ) x2 ]+[( 1.00+0.025) x 2]} x 0.30
= 1.23 ตร.ม. ตอบ
ทํา ตร.ม. เปน ลบ.ฟ. = 1.23 x 0.912 ลบ.ฟ.
= 1.12 ลบ.ฟ. ตอบ

7. หาปริมาณตะปู
วิธีคิด การหาปริมาณตะปู (ไมแบบ 1 ตารางเมตร ใชตะปู 0.25 กิโลกรัม)
= ปริมาณไมแบบทั้งหมด (ขอ 6) x 0.25 (คาคงที่)
= 1.23 x 0.25 กก.
= 0.31 กก. ตอบ

งานโครงสรางเสา
เสา (Column) เปนสวนประกอบที่ตอขึ้นมาจากฐานรากสวนใหญตั้งในแนวดิ่งอาจมีหนาตัดกลม
สี่เหลี่ยม หรืออื่น ๆ โดยวัสดุที่ใชทําเสาอาจเปนคอนกรีต เหล็ก ไม หรือผสมก็ได เชนคอนกรีต และเหล็ก
รูปพรรณ โครงสรางเสาจะถายน้ําหนักบรรทุกตามแนวแกนตั้งแตชนั้ หลังคาของอาคารลงสูฐานราก โดย
เสาจะเชื่อมตอกับคาน ถายน้าํ หนักบรรทุกจากคาน ลงสูฐานราก
เสาอาจจําแนกตามประเภทวัสดุ ไดแก เสาไม เปนวัสดุที่นยิ มใชมากในอดีต เนื่องจากไมเปน
วัสดุที่แข็งแรงพอสมควร หางาย ราคาไมแพง แตปจจุบันลดความนิยม เพราะราคาแพงหาขนาดที่ตอ งการ
ไดยากขึ้นโดยเฉพาะเสาซึ่งตองการไมขนาดลําตนคอนขางใหญ ตองเปนไมเนื้อแข็ง มีตําหนินอย อยางไร
ก็ตาม เสาไมมีขอดอยเรื่องความทนไฟและการพุพังหรือเสื่อมสลาย เนื่องจากความชื้น มด ปลวกหรือ
แมลงอื่น
เสาเหล็กแข็งแรงทนทานกวาเสาไมสามารถสั่งซื้อขนาดมาตรฐานตาง ๆไดเหล็กแข็งแรงทนทาน
น้ําหนักเบา กอสรางงาย รวดเร็ว แตก็ยงั มีปญหาเรื่องสนิม และความทนไฟ จึงอาจตองหุมดวยคอนกรีต
หรือทาสีกันสนิมทับ นอกจากนั้นเสาเหล็กจะตองออกแบบรอยตอใหดี ไมวาจะตอกับโครงสรางชนิดใด
ไมวาจะโดยวิธีเชื่อม หรือใชสลักเกลียว มิเชนนั้นโครงสราง หรืออาคารไมแข็งแรง จนกระทั่งวิบตั ิได
เสาคอนกรีต นิยมใชมากที่สุดในปจจุบันเนื่องจากสามารถหลอขึ้นรูปตาง ๆเชน อาจเปนเสากลม
หรือเหลี่ยมไดตามที่ตองการ โดยทั่วไปนิยมหลอเสาคอนกรีตหนาตัดสี่เหลี่ยมเนื่องจากทําแบบหลองาย
44

กวา สวนหนาตัดกลมตองใชแบบหลอพิเศษเสาคอนกรีตจะเสริมเหล็กยืน (ที่มุม หรือรอบ ๆหนาตัดและ


ตลอดความยาวเสา) เพื่อชวยตานทานน้ําหนักหรือแรง เหล็กปลอกอาจเปนวงเดีย่ ว ๆ(เหล็กปลอกเดีย่ ว)
หรือเหล็กปลอกที่พันตอเนือ่ งเปนเกลียวรอบ ๆเหล็กยืน โดยเหล็กปลอกจะชวยตานทานการวิบตั ิที่เกิด
จากการแตกปริหรือระเบิดทางดานขางของโครงสราง

การประมาณการหาวัสดุที่ใชในงานเสาประกอบดวย (ในกรณีศึกษาใชเปนเสาคอนกรีต)ประกอบดวย
1. คอนกรีตโครงสราง (หนวยที่ใชเปนลูกบาศกเมตร,ลบ.ม. )
2. เหล็กเสริมแกนเสา (หนวยที่ใชเปนกิโลกรัม, กก. )
3. เหล็กปลอก (หนวยที่ใชเปนกิโลกรัม, กก. )
4. ลวดผูกเหล็ก ( หนวยทีใ่ ชเปนกิโลกรัม, กก. )
5. ไมแบบ ( หนวยที่ใชเปนลูกบาศกฟุต , ลบ.ฟ. )
6. ตะปู ( หนวยที่ใชเปนกิโลกรัม, กก. )
ตัวอยางที่ 2 จากรูปเสาขนาดกวาง 0.20 เมตร ยาว 0.20 เมตร สูง 5.00 เมตร ใชเหล็กแกนเสา DB 12
มิลลิเมตร เหล็กปลอกเสา RB 6 มิลลิเมตร จงปริมาณงานโครงสรางเสา

รูปที่ 3.2 แบบแสดงรูปตัดเสา


ที่มา : วิเชียร ปญญาจักร
45

1. หาปริมาณคอนกรีตโครงสรางเสา
วิธีคิด จากสูตรการหาปริมาตร = ความกวาง x ความยาว x ความสูง(ความหนา)
= 0.20 x 0.20 x 5.00 ม.
= 0.20 ลบ.ม. ตอบ

การแยกปริมาณวัสดุทใี่ ชผสมคอนกรีตโครงสรางเสา (ใชขอมูลตารางที่ 3.2) ได


(1) ปูนซีเมนตปอรตแลนด
= 0.20 x 342
= 68.40 กก.
หรือเปนจํานวนถุง (1 ถุง = 50 กก.)
= 68.40/ 50
= 1.37 ถุง
(2) ทรายหยาบ
= 0.20 x 0.57
= 0.11 ลบ.ม.
(3) หินเบอร 1-2 = 0.20 x 1.09
= 0.22 ลบ.ม.
(4) น้ํา = 0.20 x 180
= 36.00 ลิตร

2. หาปริมาณเหล็กเสริม
2.1 หาปริมาณเหล็กเสริมแกนเสา
วิธคี ิด การหาปริมาณเหล็กเสริมแกนเสา ( DB 12 มิลลิเมตร)
= ( ความสูงของเสา + ความหนาของฐานราก –ระยะหุมของ
คอนกรีต
+ ระยะงอที่ฐาน ) x จํานวนเหล็กเสริม
= ( 5.00 + 0.30 – 0.05 + 0.40 ) x 6 (ระยะงอที่ฐาน= 1/3 ของฐาน)
= ( 5.40 ) x 6 ม.
รวมความยาว = 33.90 ม.
ทําความยาวเปนน้ําหนัก = 33.90 x 0.888
= 30.10 กก. ตอบ
46

2.2 หาปริมาณเหล็กปลอกเสา
วิธีคิด การหาปริมาณเหล็กปลอกเสา ( RB 6 มิลลิเมตร)
หาจํานวนปลอก = (ความสูงของเสา / ระยะหางของปลอก ) + 1
= ( 5.00 / 0.15 ) +1
= ( 33.33 ) +1
= 34+1
จํานวนปลอกทั้งหมด = 35 ปลอก
หาความยาวตอปลอก = {[(ความกวางของเสา – ระยะหุมคอนกรีต 2 ขาง) x 2 ]+
[(ความกวางของเสา – ระยะหุมคอนกรีต 2 ขาง) x 2 ]} +ระยะงอ
ปลาย 2 ขาง
= {[( 0.20 – 0.05 ) x 2 ] +[( 0.20 – 0.05 ) x 2 ]} + 0.16
= {[( 0.15) x 2 ] +[( 0.15 ) x 2 ]}+0.16
= {[ 0.30 ] + [ 0.30 ]}+0.16
= { 0.60 }+0.16
ความยาวตอปลอก = 0.76 ม.
ดังนั้นความยาวรวมของปลอก = จํานวนปลอก x ความยาวตอปลอก
= 35 x 0.76 ม.
= 26.60 ม.
ทําความยาวเปนน้ําหนัก = 26.60 x 0.222 กก.
= 5.91 กก. ตอบ

3. หาปริมาณลวดผูกเหล็ก
วิธีคิด การหาปริมาณลวดผูกเหล็ก
= น้ําหนักเหล็กทั้งหมด ( ขอ 2) x 0.018
= ( 30.10 + 5.91 ) x 0.018
= 36.17 x 0.018
= 0.648 กก.
= 0.65 กก. ตอบ
47

4. หาปริมาณไมแบบเสา
วิธีคิด การหาปริมาณไมแบบเสา
= (( ความกวาง + ความยาว ) x2 ) x ความสูง
= (( 0.20 + 0.20) x 2 ) x 5
= 0.80 x 5
= 4.00 ตร.ม.
= 4.00 ตร.ม.
ทํา ตร.ม. เปน ลบ.ฟ. = 4.00 x 0.912 ลบ.ฟ.
= 3.65 ลบ.ฟ. ตอบ

5. หาปริมาณตะปู
วิธีคิด การหาปริมาณตะปู
= ( ปริมาณไมแบบทัง้ หมด ในขอ 4 x 0.25 )
= ( 4.00 x 0.25)
= 1 กก. ตอบ

งานโครงสรางคาน
คาน (Beam) เปนสวนของโครงสรางซึ่งปกติอยูใ นแนวราบ หรืออาจเอียงทํามุมกับแนวราบ
เชน คานหลังคา (Roof Beam) เปนตน ทัง้ นี้แบงตามลักษณะการใชงาน
คานทําหนาที่รับน้ําหนักซึ่งสงถายมาจากพื้น ผนัง หรือกําแพง ซึ่งวางอยูบนคานนั้น แลวสง
ถายน้ําหนักตอไปยังที่รองรับ เชน คานหลัก (Girders) หรือ สงถายไปยังเสา
คานคอนกรีตเสริมเหล็กทําหนาทีต่ านทานโมเมนตดัด และแรงเฉือนที่เกิดจากน้ําหนักทีค่ านรับ
โดยคอนกรีตตานทานแรงอัด และเหล็กเสริมทางยาวทําหนาที่ตานทานแรงดึง สวนเหล็กลูกตั้งหรือ
เหล็กปลอกทําหนาที่รับแรงเฉือน การจัดตําแหนงเหล็กเสริมทางยาวในคานจะตองใหถูกตองวาเหล็ก
เสริมหลักที่รับแรงดึง จะเปนเหล็กเสริมลาง หรือเหล็กเสริมบน ซึ่งขึ้นอยูกับประเภทของคาน
คานแบงออกเปน 2 ชนิด คือ
คานคอดิน ใชทรายหยาบอัดแนนหรือคอนกรีตหยาบเปนแบบทองคาน แบบขางคานเปนไม
แบบปกติ
คานชั้นบน ใชไมแบบเปนแบบทองคาน แบบขางคานเปนไมแบบปกติ
48

รูปที่ 3.3 แสดงการเสริมเหล็กคาน


ที่มา : วิเชียร ปญญาจักร

การประมาณการหาวัสดุที่ใชในงานคานประกอบดวย (ในกรณีศกึ ษาใชเปนคานคอนกรีต)ประกอบดวย


1. คอนกรีตโครงสราง (หนวยที่ใชเปนลูกบาศกเมตร,ลบ.ม. )
2. เหล็กเสริมแกนคาน (หนวยที่ใชเปนกิโลกรัม, กก. )
3. เหล็กปลอก (หนวยที่ใชเปนกิโลกรัม, กก. )
4. ลวดผูกเหล็ก ( หนวยทีใ่ ชเปนกิโลกรัม, กก. )
5. ไมแบบ ( หนวยที่ใชเปนลูกบาศกฟุต , ลบ.ฟ. )
6. ตะปู ( หนวยที่ใชเปนกิโลกรัม, กก. )
ตัวอยางที่ 3 จากรูปจงคํานวณหาปริมาณวัสดุ คานกวาง 0.15 ม. ลึก 0.30 ม. ยาว 5.00 ม เหล็กแกน 4 เสน
DB 12 มม. ปลอก RB 6 มม.
ระยะหาง 0.15 ม.

รูปที่ 3.4 แสดงรูปตัดคานตามความยาวและรูปตัดตามขวาง


ที่มา : วิเชียร ปญญาจักร
49

1. หาปริมาณคอนกรีตโครงสรางคาน
วิธีคิด จากสูตรปริมาตรคอนกรีต
= ความกวาง x ความลึก x ความยาว
= 0.15 x 0.30 x 5.00 ลบ.ม.
= 0.23 ลบ.ม. ตอบ

การแยกปริมาณวัสดุทใี่ ชผสมคอนกรีตโครงสรางคาน (ใชขอมูลตารางที่ 3.2) ได


(2) ปูนซีเมนตปอรตแลนด
= 0.23 x 342
= 78.66 กก.
หรือเปนจํานวนถุง (1 ถุง = 50 กก.)
= 78.66 / 50
= 1.57 ถุง

(2) ทรายหยาบ
= 0.23 x 0.57
= 0.13 ลบ.ม.

(3) หินเบอร 1-2 = 0.23 x 1.09


= 0.25 ลบ.ม.

(4) น้ํา = 0.23 x 180


= 41.40 ลิตร

2. หาปริมาณเหล็กเสริม
2.1 การหาปริมาณเหล็กเสริมแกนคาน
วิธคี ิด ปริมาณเหล็กเสริมแกนคาน ( DB 12 มิลลิเมตร)
= ( ความยาวของคาน – ระยะหุมคอนกรีต 2 ขาง + ระยะงอปลาย 2
ขาง ) x จํานวนเหล็กเสริมแกน
= ( 5.00 - 0.05 + 0.24 ) x 4
= ( 5.19 ) x 4 ม.
รวมความยาวเหล็กแกน = 20.76 ม.
50

ทําเปนน้ําหนัก = 20.76 x 0.888 กก.


= 18.43 กก. ตอบ

2.2 การหาปริมาณเหล็กปลอกคาน
วิธีคิด ปริมาณเหล็กปลอก ( RB 6 มิลลิเมตร)
หาจํานวนเหล็กปลอก
= ( ความยาวของคาน / ระยะหางของปลอก ) + 1
= ( 5.00 / 0.15 ) +1
= ( 33.33 ) +1
= 34 +1
= 35 ปลอก
หาความยาวเหล็กปลอก 1 ปลอก
= {[( ความกวางของคาน – ระยะหุมคอนกรีต 2 ขาง ) x 2 ] + [(
ความลึกของคาน – ระยะหุมคอนกรีต 2 ขาง ) x 2 ]} + ระยะงอ
ปลาย 2 ขาง
= {[( 0.15 – 0.05 ) x 2 ] + [ ( 0.30 – 0.05 ) x 2 ]} + 0.16
= {[( 0.10 ) x 2 ] + [( 0.25 ) x 2 ]} + 0.16
= {[ 0.20 ] + [ 0.50 ]} +0.16
= { 0.70 } + 0.16
= 0.86 ม.
ปริมาณเหล็กเสริมปลอก = จํานวนเหล็กเสริมปลอก x ความยาวเหล็กเสริม 1ปลอก
= 35 x 0.86 ม.
= 30.10 ม.
ทําเปนน้ําหนัก = 30.10 x 0.222 กก.
= 6.68 กก. ตอบ

3. การหาปริมาณลวดผูกเหล็ก
วิธีคิด ปริมาณลวดผูกเหล็ก
= น้ําหนักเหล็กทั้งหมด (ขอ 2) x 0.018
= ( 18.43 + 6.68 ) x 0.018
= 25.11 x 0.018 กก.
= 0.45 กก. ตอบ
51

4. การหาปริมาณงานไมแบบ
4.1 การหาปริมาณไมแบบใตทองคาน ( ใชไมหนา 1” )
วิธีคิด ปริมาณไมแบบใตทองคาน
= ความกวางของคาน x ความยาวของคาน
= 0.15 x 5.00 ตร.ม.
= 0.75 ตร.ม.
ทํา ตร.ม. เปน ลบ.ฟ. = 0.75 x 0.912 ลบ.ฟ.
= 0.68 ลบ.ฟ. ตอบ

4.2 การหาปริมาณไมแบบขางคาน ( ใชไมหนา 1” )


วิธีคิด ปริมาณไมแบบขางคาน
= [( ความลึกของคาน + ความหนาของไมแบบใตคาน ) x ความ
ยาวของคาน ] x 2
= [( 0.30 + 0.025 ) x 5 ] x 2 ตร.ม.
= [( 0.325 ) x 5 ] x 2 ตร.ม.
= [ 1.625 ] x 2 ตร.ม.
= 3.25 ตร.ม.
ทํา ตร.ม. เปน ลบ.ฟ. = 3.25 x 0.912 ลบ.ฟ.
= 2.96 ลบ.ฟ. ตอบ
หมายเหตุ ถาเปนคานคอดิน (คานทีว่ างอยูบนดิน)คิดเฉพาะไมแบบขางคานเพราะทองคานวางดิน
(เอาดินเปนแบบทองคานแทน)

5. หาปริมาณตะปู
วิธีคิด การหาปริมาณตะปู
= ปริมาณไมแบบทัง้ หมดในขอ 4 x 0.25
= ( 0.75 + 3.25 ) x 0.25
= 1 กิโลกรัม ตอบ
52

งานโครงสรางพื้น
ในอดีตพื้นไมเปนที่นิยมมาใชเปนสวนประกอบของโครงสรางอาคารโดยเฉพาะอาคารที่
พักอาศัยเนื่องจากไมทําใหเกิดความรูสึกเปนธรรมชาติ มีสวยงามในตัว ปจจุบันไมที่มีคุณภาพหายาก
(โตไมทันคนตัด ) มีราคาแพง ถาไมมีเงินมากพอก็ไมสามารถใชพ้ืนไมที่มีคุณภาพได จึงทําใหพื้น
คอนกรีตมีบทบาทมากขึ้นเพราะหาไดงาย สะดวกในการทํางาน มีความแข็งแรงในตัว และราคาก็ไมสูง
เทากับพื้นไม จึงเปนที่นิยมมาก
พื้นเปนสวนสําคัญของตัวบานอีกสวนหนึ่งที่จะตองใหความสําคัญในดานของความแข็งแรงและ
ความคงทน เพราะพื้นเปนสวนที่ตองรับน้ําหนักของสิ่งตางๆทุกชนิดที่ตั้งอยูบนบาน ไมวาจะเปนตู โตะ
เตียง คน และอื่นๆ แลวถายน้ําหนักลงคาน เสา แลวถายลงฐานรากตามลําดับ
พื้นแบง ตามชนิดของโครงสรางพื้นออกเปน 3 ชนิด คือ
1. พื้นวางบนดิน ( Slab on Ground ) ลักษณะของพื้นบนดินจะเปนพื้นที่ใชกับอาคารชั้นที่ 1พื้น
ประเภทนี้จะใชดินหรือทรายเปนแบบและถายน้ําหนักลงดิน ดังนั้นดินหรือทรายที่ถมอยูใตพื้นจะถูกบด
อัดแนนพอที่จะรับน้ําหนักของของพื้นไดวัสดุที่ใชในพื้นชนิดนี้พอจะแยกออกเปนรายการดังนี้คือ
1.1 คอนกรีตโครงสราง (หนวยเปนลูกบาศกเมตร หรือ ลบ.ม.)
1.2 เหล็กเสริมคอนกรีต (หนวยเปนกิโลกรัม หรือ กก. )
1.3 ลวดผูกเหล็ก ( หนวยเปนกิโลกรัม หรือ กก. )

รูปที่ 3.5 แสดงลักษณะพื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก ชนิดวางบนดิน (Slab on Ground , GS)


ที่มา : วิเชียร ปญญาจักร

2. พื้นวางบนคาน ( Slab) พื้นประเภทนี้สวนมากจะถูกติดตั้งไวในสวนที่ยกลอยสูงจากดินขึ้น


ไปมากพอสมควร เชน พื้นชั้นที่ 2 ขึ้นไปโดยจะแยกออกตามความเหมาะสมตามลักษณะคือ พื้นทางเดียว
( One-way Slab ) และ พื้นสองทาง ( Two-way Slab ) วัสดุที่ใชในพื้นประเภทนี้แยกออกเปนรายการได
ดังนี้ คือ
2.1 คอนกรีตโครงสราง (หนวยเปนลูกบาศกเมตร หรือ ลบ.ม. )
2.2 เหล็กเสริมพื้น (หนวยเปนกิโลกรัม หรือ กก. )
2.3 ลวดผูกเหล็ก (หนวยเปนกิโลกรัม หรือ กก. )
2.4 ไมแบบ (หนวยเปนลูกบาศกฟุต หรือ ลบ.ฟ. )
2.5 ตะปู (หนวยเปนกิโลกรัม หรือ กก. )
53

รูปที่ 3.6 แสดงลักษณะพื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก ชนิดวางบนคาน (Slab on Beam , S)


ที่มา : วิเชียร ปญญาจักร

3. พื้นสําเร็จ พื้นประเภทนี้ออกแบบมาเพื่อการประหยัดทั้งเวลา , คาแรงงานและราคาคา


กอสราง เนื่องจากติดตั้งงายและสะดวกรวดเร็ว วัสดุที่ใชในพื้นประเภทนี้แยกออกเปนรายการไดดังนี้
คือ
3.1 พื้นสําเร็จ ( หนวยเปนตารางเมตร หรือ ตร.ม. )
3.2 คอนกรีตทับหนา (หนวยเปนลูกบาศกเมตร หรือ ลบ.ม. )
3.3 ตะแกรงเหล็กเสริม ( หนวยเปนตารางเมตร หรือ ตร.ม. )
3.4 ไมแบบ (หนวยเปนลูกบาศกฟุต หรือ ลบ.ฟ.)

รูปที่ 3.7 แสดงลักษณะพื้นคอนกรีตสําเร็จรูป (Precast Slab , PS)


ที่มา : วิเชียร ปญญาจักร
54

ตัวอยางที่ 4 จากรูปจงประมาณการแยกรายการวัสดุทใี่ ชในพื้นบนดิน (GS ) กวาง 3.00 เมตร ยาว 4.00


เมตร พื้นหนา 0.10 เมตร

รูปที่ 3.8 แสดงแปลนโครงสรางพื้นชนิดวางบนดินและแบบรูปตัดพื้น


ที่มา : วิเชียร ปญญาจักร

1. การประมาณการแยกรายการวัสดุพื้นบนดิน (GS )
1.1 ปริมาตรคอนกรีตโครงสราง
วิธีคิด จากสูตรการหาปริมาตร = ความกวาง x ความยาว x ความสูง ( ความหนา )
= 3.00 x 4.00 x 0.10 ลบ.ม.
= 1.20 ลบ.ม. ตอบ
55

การแยกปริมาณวัสดุทใี่ ชผสมคอนกรีตโครงสรางพื้น (ใชขอมูลตารางที่ 3.2) ได


(3) ปูนซีเมนตปอรตแลนด
= 1.20 x 342
= 410.40 กก.
หรือเปนจํานวนถุง (1 ถุง = 50 กก.)
= 410.40 / 50
= 8.21 ถุง
(2) ทรายหยาบ
= 1.20 x 0.57
= 0.68 ลบ.ม.
(3) หินเบอร 1-2 = 1.20 x 1.09
= 1.31 ลบ.ม.

(4) น้ํา = 1.20 x 180


= 216.00 ลิตร
1.2 ปริมาณเหล็กเสริมพื้น
1.2.1. เหล็กเสริมทางยาว ( RB 9 มิลลิเมตร)
วิธีคิด จากสูตรการหาเหล็กเสริมทางยาว
= [(ความกวาง / ระยะหาง )+ 1 ] x ( ความยาว – ระยะหุม
คอนกรีต 2 ขาง + ระยะงอปลาย 2 ขาง)
= [( 3.00 / 0.20 ) + 1 ] x ( 4.00 -0.05 + 0.24 ) ม.
= [( 15 ) + 1 ] x 4.19 ม.
= 16 x 4.19 ม.
= 67.04 ม.
ทําเปน กิโลกรัม = 67.04 x 0.499 กก.
= 33.45 กก. ตอบ

1.2.2. เหล็กเสริมทางสั้น ( RB 9 มิลลิเมตร)


วิธีคิด จากสูตรการหาเหล็กเสริมทางสั้น
= [(ความยาว / ระยะหาง )+ 1 ] x ( ความกวาง – ระยะหุม คอนกรีต 2
ขาง + ระยะงอปลาย 2 ขาง)
= [( 4.00 / 0.20 ) + 1 ] x ( 3.00 -0.05 + 0.24 ) ม.
56

= [( 20 ) + 1 ] x 3.19 ม.
= 21 x 3.19 ม.
= 66.99 ม.
ทําเปน กิโลกรัม = 66.99 x 0.499 กก.
= 33.43 กก. ตอบ

1.3 ปริมาณลวดผูกเหล็ก
วิธีคิด การหาปริมาณลวดผูกเหล็ก (เหล็กเสน 1 กิโลกรัม ใชลวด 0.018 กิโลกรัม)
= น้ําหนักเหล็กทั้งหมด (ขอ 1.2 ) x 0.018
= ( 33.45 + 33.43 ) x 0.018 กก.
= 66.88 x 0.018 กก.
= 1.20 กก. ตอบ
หมายเหตุ พื้นวางบนดินใชดนิ หรือทรายหยาบอัดแนนเปนแบบ ดังนั้นจึงไมมีไมแบบและตะปู

ตัวอยางที่ 5 จากรูปจงประมาณการแยกรายการวัสดุทใี่ ชในพื้นวางบนคาน (S ) กวาง 3.00 เมตร ยาว


4.00 เมตร พื้นหนา 0.10 เมตร

รูปที่ 3.9 แสดงแปลนโครงสรางพื้นชนิดวางบนคานและแบบรูปตัดพื้น


ที่มา : วิเชียร ปญญาจักร
57

2. การประมาณการแยกรายการวัสดุพื้นวางบนคาน (S )
2.1 ปริมาตรคอนกรีตโครงสราง
วิธีคิด จากสูตรการหาปริมาตร = ความกวาง x ความยาว x ความสูง ( ความหนา )
= ความกวาง x ความยาว x ความหนา
= 3.50 x 4.00 x 0.10 ลบ.ม.
= 1.40 ลบ.ม. ตอบ

การแยกปริมาณวัสดุทใี่ ชผสมคอนกรีตโครงสรางพื้น (ใชขอมูลตารางที่ 3.2) ได


(1) ปูนซีเมนตปอรตแลนด
= 1.40 x 342
= 478.80 กก.
หรือเปนจํานวนถุง (1 ถุง = 50 กก.)
= 478.80 / 50
= 9.58 ถุง
(2) ทรายหยาบ
= 1.40 x 0.57
= 0.80 ลบ.ม.
(3) หินเบอร 1-2 = 1.40 x 1.09
= 1.53 ลบ.ม.
(4) น้ํา = 1.40 x 180
= 252.00 ลิตร

2.2 ปริมาณเหล็กเสริมพื้น
2.2.1 เหล็กเสริมทางยาว ( RB 9 มิลลิเมตร)
วิธีคิด จากสูตรการหาเหล็กเสริมทางยาว
= [( ความกวางของพื้น / ระยะหางของเหล็กเสริม ) + 1 ] x
( ความยาวของพื้น – ระยะหุม คอนกรีต 2 ขาง + ระยะงอปลาย 2 ขาง )
= [ ( 3.50 / 0.10 ) + 1 ] x ( 4.00 – 0.05 + 0.24 ) ม.
= [( 35 ) + 1 ] x ( 4.19 ) ม.
= 36 x 4.19 ม.
= 150.84 ม.
ทําเปน กิโลกรัม = 150.84 x 0.499 กก.
58

= 75.27 กก. ตอบ

2.2.2 เหล็กเสริมทางสั้น ( RB 9 มิลลิเมตร)


วิธีคิด จากสูตรการหาเหล็กเสริมทางสั้น
= [( ความยาวของพื้น / ระยะหางของเหล็กเสริม ) + 1 ] x ( ความกวาง
ของพื้น – ระยะหุมคอนกรีต 2 ขาง + ระยะงอปลาย 2 ขาง )
= [ ( 4.00 / 0.10 ) + 1 ] x ( 3.50 – 0.05 + 0.24 ) ม.
= [( 40 ) + 1 ] x ( 3.69 ) ม.
= 41 x 3.69 ม.
= 151.29 ม.
ทําเปน กิโลกรัม = 151.29 x 0.499 กก.
= 75.49 กก. ตอบ

2.3 ปริมาณลวดผูกเหล็ก
วิธีคิด การหาปริมาณลวดผูกเหล็ก (เหล็กเสน 1 กิโลกรัม ใชลวด 0.018 กิโลกรัม)
= น้ําหนักเหล็ก (ขอ 2.2 ) x 0.018
= ( 75.27 + 75.49 ) x 0.018 กก.
= 150.76 x 0.018 กก.
= 2.71 กก. ตอบ

2.4 ปริมาณไมแบบ
วิธีคิด การหาปริมาณไมแบบ (ใชไมแบบหนา 1 นิว้ หรือ 0.025 เมตร)
2.4.1 หาปริมาณไมแบบทองพืน้
= ความกวางของพื้น x ความยาวของพื้น
= 3.50 x 4.00
= 14.00 ตร.ม.
ทําเปน ลูกบาศกฟุต = 14.00 x 0.912 ลบ.ฟ.
= 12.77 ลบ.ฟ. ตอบ
59

2.4.2 หาปริมาณไมแบบขางพื้น
= {[( ความกวางของพื้น + ความหนาของไมแบบ 2 ขาง ) x 2 ] + [(
ความยาวของพื้น + ความหนาของไมแบบ 2 ขาง ) x 2 ]} x ความ
หนาของพื้น
= {[( 3.50 + 0.05 ) x 2 ] + [( 4.00 + 0.05 ) x 2 ]} x 0.10 ตร.ม.
= {[( 3.55 ) x 2 ] + [( 4.05 ) x2 ]} x 0.10 ตร.ม.
= {[ 7.10 ] + [ 8.10 ]} x 0.10 ตร.ม.
= 15.20 x 0.10 ตร.ม.
= 1.52 ตร.ม.
ทําเปน ลูกบาศกฟุต = 1.52 x 0.912
= 1.39 ลบ.ฟ. ตอบ

2.5 หาปริมาณตะปู
วิธีคิด การหาปริมาณตะปู (ไมแบบ 1 ตารางเมตร ใชตะปู 0.25 กิโลกรัม)
= ปริมาณไมแบบทั้งหมด (ขอ 2.4) x 0.25 (คาคงที่)
= (14.00 + 1.52) x 0.25 กิโลกรัม
= 3.88 กิโลกรัม ตอบ

ตัวอยางที่ 6 จากรูปจงประมาณการแยกรายการวัสดุทใี่ ชในพื้นวางสําเร็จ (PS) กวาง 3.00 เมตร ยาว 4.00


เมตร เทคอนกรีตทับหนา (Topping) หนา 0.05 เมตร
60

รูปที่ 3.10 แสดงแปลนโครงสรางพื้นสําเร็จรูปและแบบรูปตัดพื้นสําเร็จ


ที่มา : วิเชียร ปญญาจักร

3. การประมาณการแยกรายการวัสดุพื้นสําเร็จ (PS )
3.1 ปริมาณพื้นสําเร็จ
วิธีคิด หาปริมาณพื้นสําเร็จรูป
= ความกวางของพื้นที่ x ความยาวของพื้นที่
= 3.00 x 4.00 ตร.ม.
= 12 ตร.ม. ตอบ

3.2 ปริมาณคอนกรีตเททับหนา
วิธีคิด หาปริมาณคอนกรีตทับหนา
= ความกวางของพื้นที่ x ความยาวของพื้นที่ x ความหนาของ
คอนกรีตทับหนา
= 3.00 x 4.00 x 0.05 ลบ.ม.
= 0.6 ลบ.ม. ตอบ
การแยกปริมาณวัสดุที่ใชผสมคอนกรีตโครงสรางพื้น (ใชขอมูลตารางที่ 3.2) ได
(4) ปูนซีเมนตปอรตแลนด
= 0.60 x 342
= 205.20 กก.
หรือเปนจํานวนถุง (1 ถุง = 50 กก.)
= 205.20 / 50
= 4.10 ถุง
61

(2) ทรายหยาบ
= 0.60 x 0.57
= 0.34 ลบ.ม.

(3) หินเบอร 1-2 = 0.60 x 1.09


= 0.65 ลบ.ม.

(4) น้ํา = 0.60 x 180


= 108 ลิตร

3.3 ปริมาณเหล็กตะแกรง
วิธีคิด หาปริมาณตะแกรงเหล็กเสริมพื้นสําเร็จรูป
= ความกวางของพื้นที่ x ความยาวของพื้นที่
= 3.00 x 4.00 ตร.ม.
= 12 ตร.ม. ตอบ
3.4 ปริมาณไมแบบ
วิธีคิด ไมแบบขางพื้น ( ใชไมหนา 1” )
= {[( ความกวางของพื้น + ความหนาของไมแบบ 2 ขาง ) x 2 ] +
[( ความยาวของพื้น + ความหนาของไมแบบ 2 ขาง ) x 2 ]} x
ความหนาของพื้น
= {[( 3.00 + 0.05 ) x 2 ] + [( 4.00 +0.05 ) x 2 ]} x 0.10 ตร.ม.
= {[( 3.05 ) x 2 ] + [( 4.05 ) x 2 ]} x 0.10 ตร.ม.
= {[ 6.10 ] + [ 8.10 ]} x 0.10 ตร.ม.
= { 14.20 } x 0.10 ตร.ม.
= 1.42 ตร.ม.
= 1.42 x 0.912 ลบ.ฟ.
= 1.30 ลบ.ฟ. ตอบ
หมายเหตุ พื้นสําเร็จไมตองมีไมแบบทองพื้น
62

3.5 หาปริมาณตะปู
วิธีคิด การหาปริมาณตะปู (ไมแบบ 1 ตารางเมตร ใชตะปู 0.25 กิโลกรัม)
= ปริมาณไมแบบทั้งหมด (ขอ 4) x 0.25 (คาคงที่)
= 1.42 x 0.25 กก.
= 0.36 กก. ตอบ

งานโครงสรางหลังคา
หลังคาเปนโครงสรางสวนบนของอาคาร ทําหนาที่คอยปกปองไมใหอาคารไดรับผลกระทบจาก
ปรากฏการทางธรรมชาติที่จะเกิดขึ้นตอตัวอาคาร เชน ฝนตก แดดออก ลมฟาอากาศที่เปลี่ยนตลอดเวลา
วัสดุงานหลังคาสวนมากจะประกอบดวยสวนตางๆ คือ อะเส ขื่อ ดั้ง อกไก จันทันเอก จันทัน
พลาง แปหรือระแนง สะพานรับจันทัน ตุกตา ค้ํายัน เชิงชาย ปดเชิงชาย กระเบื้องมุงหลังคา
เป น ต น การประมาณการสวนโครงหลังคามีความจํา เปน อยางยิ่งที่จะตองทราบมาตราสว นเพราะ
บางครั้งไมสามารถใชสูตรเพื่อคํานวณหาปริมาณวัสดุได จะตองใชสเกลในการวัดจึงจะไดปริมาณวัสดุ
นั้นๆได ผูประมาณการจึงตองระมัดระวังในเรื่องการอานแบบแปลนและสเกลของแบบ ซึ่งในแตละรูป
ของแบบอาจมีสเกลที่ไมเหมือนกัน

สวนประกอบของงานโครงสรางหลังคาประกอบดวย
สวนโครงหลังคาและหนาทีข่ องวัสดุ สวนนั้นๆ ในหนวยนี้จะประมาณการ โครงหลังคาเหล็กซึ่ง
เปนที่นิยมมากในปจจุบัน ประกอบดวย
1. อะเส คือสวนของโครงหลังคาที่วางพาดอยูบ นหัวเสา ลักษณะคลายๆ คาน ทําหนาทีย่ ึดและ
รัดหัวเสาและยังทําหนาที่รบั แรงจากโครงหลังคาถายลงสูเสาอีกดวย โดยทั่วไปแลวในการวางอะเสมักจะ
วางทางดานริมนอกของเสา และวางเฉพาะดานที่มีความลาดเอียงของหลังคา ดังนั้นหลังคามะนิลา (Gable
Roof) จะมีอะเสหลักเพียง 2 ดานในขณะทีห่ ลังคาปนหยา (Hip Roof) จะมีอะเสหลัก 4 ดาน
2. ขื่อ คือสวนของโครงสรางที่วาอยูบนหัวเสาในทิศทางเดียวกันกับจันทัน ทําหนาที่รับทั้งแรง
ดึงและยึดหัวเสา ในแนวคานสกัด และชวยยึดโครงผนัง
3. ดั้งเอก คือสวนของโครงสรางที่อยูในแนวสันหลังคา โดยวางอยูบนขื่อตัวฉากตรงขึ้นไป โดย
มีอกไกวางพาดตามแนวสันหลังคาเปนตัวยึด
4. อกไก คือสวนของโครงสรางที่วางพาดอยูบนดั้งบริเวณสันหลังคา ทําหนาที่รับจันทัน
5. จันทัน คือสวนของโครงสรางที่วางอยูบนหัวเสา โดยวางพาดอยูบนอะเสและอกไกรองรับ
แป หรือระแนงที่รับกระเบื้องมุงหลังคา จันทันยังแบงออกเปนจันทันเอกคือจันทันทีว่ างอยูบนหัวเสาและ
จันทันที่มิไดวางพาดอยูบนหัวเสา โดยทั่วไปจันทันจะวางทุกระยะประมาณ 1.00 ม. โดยระยะหางของ
จันทันขึ้นอยูกบั น้ําหนักของวัสดุมุงหลังคาและระยะแปดวย
63

6. แปหรือระแนง คือสวนของโครงสรางที่วางอยูบนจันทัน รองรับวัสดุมุงหลังคาประเภทตางๆ


โดยวางขนานกับแนวอกไก เริ่มจากสวนทีต่ ่ําสุดไปสูสวนที่สูงสุดของหลังคา
7. เชิงชาย คือสวนของโครงสรางที่ปดอยูบริเวณปลายจันทัน เพื่อปกปดความไมเรียบรอยของ
ปลายจันทัน อีกทั้งยังเปนสวนที่ใชยึดเหล็กรับรางน้ําและยังทําหนาทีเ่ ปนแผนปดดานสกัดของจันทันที่
ชวยกันมิใหฝนสาดยอนกลับดวย
8. ปนลม คือสวนของโครงสรางที่ปดไมใหเห็นสันกระเบื้องทางดานหนาจัว่ และปดหัวแป จะ
ใชกับอาคารประเภทมีหนาจัว่ เทานัน้
9. ไมปดลอน หรือไมเซาะตามลอนกระเบื้อง เปนไมที่มีลักษณะโคงตามขนาดลอนของวัสดุมุง
หลังคา เพื่อปดชองวางระหวางปลายกระเบื้องกับเชิงชายกันนกและแมลงเล็ดลอดเขาไปกอความรําคาญ
ในบานของทาน
10. ตะเฆสัน จะอยูบริเวณครอบมุมหลังคาที่มีความลาดเอียง 2 ดานมาบรรจบกัน โดยหันหนา
ออกจากกัน โดยมีครอบกระเบื้องและวัสดุมุงอีกที
11. ตะเฆราง เปนสวนที่ความลาดเอียงของหลังคาสองดานมาชนกันเปนราง ซึ่งบริเวณสวนนี้
จําเปนจะตองมีรางน้ํา เพื่อระบายน้าํ ออกจาก หลังคา

รูปที่ 3.11 แสดงรูปตัดดานหนาของโครงสรางหลังคา


ที่มา : วิเชียร ปญญาจักร
64

รูปที่ 3.12 แสดงรูปแปลนโครงสรางหลังคา


ที่มา : วิเชียร ปญญาจักร

1. วัสดุมุงหลังคาชนิดแผนกระเบื้อง สามรถแบงออกไดเปน
- กระเบื้องดินเผา เปนวัสดุธรรมชาติใชเปนวัสดุมุงหลังคากันมาแตโบราณปจจุบนั ใชมงุ หลังคา
ที่ตองการโชวหลังคาเชน บานทรงไทย โบสถ วิหารกระเบื้องชนิดนี้ใชมุงหลังคาที่มีความลาดเอียงมากๆ
มิฉะนั้นหลังคามีโอกาสจะรัว่ ได
- กระเบื้องคอนกรีตหรือกระเบื้องซีเมนต วัสดุมงุ หลังคาชนิดนี้มีความแข็งแรงและสวยงามแตมี
ราคาคอนคางแพงและมีน้ําหนักมาก ทําใหโครงหลังคาที่จะมุงดวยกระเบื้องชนิดนี้ตอ งแข็งแรงขึ้นเพื่อรับ
น้ําหนักวัสดุมงุ หลังคา กระเบื้องซีเมนตมีอยู 2 ชนิดดวยกันคือ กระเบือ้ งสี่เหลียมขนมเปยกปูน ขนาดเล็ก
ที่ใชมุงกับหลังคาที่มีความลาดเอียงตั้งแต 30-45 องศา สวนอีกชนิดนัน้ เปนกระเบื้องที่เรียกกันวา
กระเบื้องโมเนียซึ่งสามารถมุงหลังคาในความชันตั้งแต 17 องศาขึ้นไป กระเบื้องโมเนียมีขนาด 33x 42
เซนติเมตร ระยะซอนกัน 3.5 เซนติเมตร ระแนงหาง 32 – 34 เซนติเมตร 1 ตารางเมตร ใช 11 แผน ครอบ
สันหลังคาจั่ว มีความยาว 42.5 เซนติเมตร ซอนกัน 3.5 เซนติเมตร 1 เมตร ใช 2.6 แผน
- กระเบื้องคอนกรีตแผนเรียบ กระเบื้องคอนกรีตแผนเรียบ มีความสวยงามเพราะผิวกระเบื้องมี
ความเนียนเรียบ
- กระเบื้องซีเมนตใยหินหรือกระเบื้อง เอสเบสทอสซีเมนต กระเบื้องชนิดนี้มีคุณสมบัตกิ ันไฟ
และเปนฉนวนปองกันความรอน มีราคาไมแพงและมุงหลังคาที่มีความลาดชันตั้งแต 10 องศา กระเบื้อง
65

ซีเมนตใยหินสามารถแบงเปนประเภทตางๆ ตามที่พบในทองตลาดมี 2 ชนิดคือ กระเบื้องลูกฟูกลอนเล็ก


ใชกับบานพักอาศัย สวนลูกฟูกลอนใหญใชกับอาคารขนาดใหญตามสัดสวนที่รับกันพอดี
- กระเบื้องลอนคูระบายน้ําไดดีกวากระเบือ้ งลูกฟูกเนื่องจากมีลอน ที่ลึกและกวางกวา จึงนิยมใช
มุงหลังคามากกวา
2. วัสดุมุงหลังคาโลหะ หรือเรียกกันภาษาชางวาหลังคาเหล็กรีด ทําจากแผนเหล็กอาบสังกะสีดัด
เปนลอน นิยมใชในการมุงหลังคา ขนาดใหญเพิ่มสีสันใหกับอาคารสมัยใหม แตวสั ดุชนิดนี้มีปญ  หาเรื่อง
ความรอน เนือ่ งจากหลังคาโลหะกันความรอนไดนอยมาก และมีปญหาเรื่องเสียงในเวลาฝนตก
3. วัสดุประเภทพลาสติกหรือไพเบอร ที่เปนแผนโปรงใสทําเปนรูปรางเหมือนกระเบื้องชนิด
ตางๆ เพื่อใชมงุ กับกระเบื้องเหลานั้น ในบริเวณทีต่ องการแสงสวางจากหลังคาเชนหองน้ํา เปนตน
4. วัสดุประเภทแผนชิงเกิ้ล ซึ่งเปนประเภทวัสดุสงั เคราะห เริ่มเปนที่นิยมใชในบานเราโดยเฉพาะ
อาคารประเภท รีสอรทตากอากาศ เพราะเลนรูปทรงไดหลายรูปแบบ
5. วัสดุมุงประเภทอืน่ ๆ เชนวัสดุประเภททองแดงหรือแผนตะกั่ว เปนตนเนือ่ งจากบานนัน้ จุดเดน
ที่สะดุดตาที่สดุ ก็คือ หลังคา งานหลังคาเปนเรื่องที่ละเอียดออน ถาทําไมดีก็มีปญหารัว่ ซึม ซึ่งจะลามไป
ถึงปญหาตาง ๆ อีก แกไขกันลําบากเพื่อปองกันปญหาทีอ่ าจจะเกิดขึ้น ควรจะเริ่มจากการเลือกวัสดุมุง
หลังคา กันกอน ก็คงตองแลว แตรสนิยมของทาน เมื่อเลือกแลวก็มาดูความลาดเอียงของหลังคา เนื่องจาก
วัสดุหลังคา แตละประเภทนัน้ มีความลาดชันในการมุง ไดไมเทากันคือ
- กระเบื้องซีเมนตใยหินใชมุงความลาดชันตั้งแต 10 องศา
- กระเบื้องคอนกรีตรูปสี่เหลียมขนมเปยกปูน ใชมุงหลังคาความลาดเอียง 30-45 องศา
- กระเบื้องโมเนีย ใชมุงหลังคาความลาดชันตั้งแต 17 องศา
- กระเบื้องดินเผา ใชมุงหลังคาความลาดชันตั้งแต 20 องศา
สวนหลังคาประเภทอื่นๆ ก็ใชมุงกันที่ประมาณ 30-45 องศา ในบานเมืองรอนเชนบานเรานั้น การเลือกใช
หลังคา ทีมีความชันมาก จะสงผลดีตอการระบายน้ํา และการระบายความรอนใตหลังคา
การเลือกวัสดุมุงหลังคาคือ โครงหลังคาเพราะวัสดุมุงที่มีน้ําหนักมาก ก็จะเพิ่มราคาโครงหลังคา
ที่จะมารับน้ําหนักวัสดุมุงไดเหมือนกัน นอกจากนี้สิ่งที่สําคัญนอกเหนือจากวัสดุมุงหลังคาก็คือความลาด
ชันและระยะทับซอนโดยทัว่ ไปแลวระยะทับซอนจะแปรผันตามความลาดชัน ดังนี้
1. ความลาดชันของหลังคา 10-20 องศาระยะทับซอน 20 ซม.
2. ความลาดชันของหลังคา 21-40 องศาระยะทับซอน 15 ซม.
3. ความลาดชันของหลังคา 41-60 องศาระยะทับซอน 10 ซม.
4. ความลาดชันของหลังคา 60 องศาขึ้นไประยะทับซอน 5 ซม.
ระยะทับซอนดังกลาวเปนระยะอยางนอย หากมากกวานีก้ ็ไมวากัน แตจะทําใหเปลืองวัสดุมุงขึ้นอีก วัสดุ
ที่ใชสําหรับงานหลังคา อีกชิน้ ก็คือ ครอบหลังคา ก็ควรเลือกงาย ๆ คือ เลือกครอบหลังคาชนิดเดียวกัน
กับกระเบื้องมุงหลังคา สวนใหญเขาจะผลิตมาคูกันตามองศา ที่นิยมใช เปนสวนใหญ เชน ครอบหลังคา
66

30, 35, 40 องศา หากเปนมุงลาดชันอื่น ๆ ก็ใชครอบหลังคาปูนปน ซึ่งตองทําตามแบบอยางเครงครัดและ


ก็ไมลืมที่จะผสมน้ํายากันซึมดวย

การประมาณการหาวัสดุที่ใชในงานโครงสรางหลังคาประกอบดวย
1. เหล็กรูปพรรณ (หนวยที่ใชเปนเมตรหรือทอน)
2. วัสดุมุง (หนวยที่ใชเปนแผนหรือตารางเมตร )
3. ไม (หนวยที่ใชเปนลูกบาศกฟุตหรือตารางเมตร )
4. ครอบสันหลังคา (หนวยที่ใชเปนแผนหรือตัว )

ตัวอยางที่ 7 จากรูปที่ 3.13 จงคํานวณหาปริมาณงานโครงสรางหลังคา


67

จากรูปที่ 3.13 แสดงแปลนโครงสรางหลังคาและรูปตัดโครงสรางหลังคา


ที่มา : วิเชียร ปญญาจักร

1. หาปริมาณเหล็กอะเส (ใชเหล็กรูปพรรณ C- 100 x 50 x 20 x 2.3 มม. )


วิธีคิด อะเส คือสวนยึดหัวเสาดานขาง เผื่อดวยระยะยื่นออกไปรับปนลม 2 ขาง
ชวงเสาดานขาง = 3.00 + 3.00 ม.
ระยะยื่นรับปน ลม 2 ขาง = 1.00 + 1.00 ม.
รวมความยาว = 8.00 ม.
อะเสดานขาง 2 ขาง = 8.00 x 2 ม.
รวมความยาวอะเส = 16 ม. ตอบ

2. หาปริมาณเหล็กขื่อ (ใชเหล็กรูปพรรณ C-100 x 50 x 20 x 2.3 มม. )


วิธีคิด ขื่อคือสวนยึดหัวเสาทางดานกวาง
ชวงเสาดานกวาง = 4.00 ม.
ชวงเสาดานกวาง ทั้งหมด 3 ชวง = 4.00 x 3 ม.
รวมความยาวขื่อ = 12.00 ม. ตอบ
68

3. หาปริมาณเหล็กดั้ง (ใชเหล็กรูปพรรณ C-100 x 50 x20 x 2.3 มม. )


วิธีคิด ดั้งคือสวนสูงของโครงสรางหลังคาจากชวงหลังขื่อถึงหลังอกไก

ชวงสูงของดั้ง = 1.50 ม.
จํานวนดั้งทั้งหมด 3 ตัว = 1.50 x 3 ม.
รวมความยาวดั้ง = 4.50 ม. ตอบ

4. หาปริมาณเหล็กอกไก (ใชเหล็กรูปพรรณ C-100 x 50 x 20 x 2.3 มม. )


วิธีคิด อกไกคือสวนโครงสรางที่ยึดปลายดั้งเผื่อดวยระยะยืน่ ออกไปรับปนลม 2 ขาง เหมือนกับอะเส
ความยาวของอกไกระหวางดั้ง = 3.00 + 3.00 ม.
ระยะยื่นรับปน ลม 2 ขาง = 1.00 + 1.00 ม.
รวมความยาวอกไก = 8.00 ม. ตอบ

5. หาปริมาณเหล็กจันทัน (ใชเหล็กรูปพรรณ C - 100 x 50 x 20 x 2.3 มม.) จันทันเอก คือเหล็กสวนที่


ยึดระหวางอกไกกับอะเส ซึ่งตั้งอยูบนหัวเสาเทานั้น สวนจันทันพลาง คือเหล็กสวนที่ยึดอยู
ระหวางชวงเสา การประมาณราคาจันทันสามารถคิดได 2 วิธี คือ

วิธีคิด วิธีที่ 1. หาความยาวของจันทันแตละตัวโดยใชสเกลวัดตามมาตรสวนทีก่ ําหนดในแบบ แลวคูณ


ดวยจํานวนจันทันทั้งหมด เชน
จันทัน 1 ตัววัดตามมาตราสวนได = 3.75 ม.
เพิ่มความยาวเผื่อตัด = 0.50 ม.
รวมความยาวจันทัน 1 ตัว = 4.25 ม.
จันทันทั้งหมดมี 9 ตัว = 4.25 x 9 ม.
จันทันมี 2 ขาง = 38.25 x 2 ม.
รวมความยาวจันทันทั้งหมด = 76.50 ม. ตอบ

วิธีที่2. หาความยาวของจันทัน
2.1. หาความยาวของจันทัน 1 ตัว (หนวยที่ใชเปนเมตร )
2.2. หาจํานวนจันทัน ( หนวยทีใ่ ชเปนตัว )
2.1. หาความยาวของจันทัน โดยใช กฎ 3 : 4 : 5 ( จากรูป )
ความกวางของขื่อ / 2 (A ) = 2.00 ม.
ความสูงของดั้ง ( B ) = 1.50 ม.
69

หาความยาวดาน ( C ) = A2 + B 2
= 22 + 1.502
= 4 + 2.25
= 6.25
= 2.5 ม.
หาความยาวสวนยืน่ ชายคาใชสูตรสามเหลี่ยมคลาย
จากสูตรสามเหลี่ยมคลาย AB/ab = BC/bc = AC/ac
BC และ bc ไมตองการ ตัดทิ้ง
AB = 2.00
Ab = 1.00
AC = 2.50
ac = ?
แทนคาในสูตร AB/ab = AC/ac
2/1 = 2.5/ac
ac = 2.5/2
= 1.25 ม.
ความยาวทั้งหมดของจันทัน 1 ตัว = 2.50 + 1.25 ม.
= 3.75 ม.
เพิ่มความยาวเผื่อตัด = 0.50 ม.
รวมความยาวจันทัน = 4.25 ม.

2.2. หาจํานวนจันทัน = (ความยาวของอะเส / ระยะหางของจันทัน)


+1
จํานวนจันทันทั้งหมด = (8/1.00) + 1
= 9 ตัว
จันทันมี 2 ขาง = 9x2
= 18 ตัว
ดังนั้นความยาวรวมของจันทัน = ความยาวของจันทัน x จํานวนจันทัน
= 4.25 x 18
= 76.50 ม. ตอบ
70

6. การหาปริมาณเหล็กระแนง ( ใชเหล็กขนาด LG - 25 x 25 x 1.3 มม. ) จะตองทราบความยาว


ของจันทันกอนจึงคํานวณหาปริมาณระแนงที่ใชได
วิธีคิด ระแนง คือ สวนของหลังคาที่ใชรองรับกระเบื้อง ระยะหางของระแนงขึ้นอยูกับชนิดของ
กระเบื้อง
a. หาความยาวของระแนง 1 ตัว ( หนวยเปนเมตร )
6.2 หาจํานวนระแนงที่ใช ( หนวยเปนตัว )

6.1. หาความยาวของระแนง 1 ตัว = ความยาวของอะเส


= 8.00 ม.
6.2. หาจํานวนระแนง = (ความยาวของจันทัน 1 ตัว/ระยะหางของ
ระแนง ) + 1
= ( 4.25 / 0.32 ) + 1
= ( 13.28 ) + 1
= 14 + 1
= 15 ตัว
ระแนงมี 2 ขาง = 15 x 2
= 30 ตัว
ความยาวของระแนงทั้งหมด = ความยาวของระแนง 1 ตัว x จํานวนระแนง
= 30 x 8.00 ม.
= 240 ม. ตอบ

7. การหาปริมาณเหล็กสะพานรับจันทัน(ใชเหล็กรูปพรรณขนาด C–100 x 50 x 20 x 2.3 มม.)


วิธีคิด ความยาวของเหล็กสะพานรับจันทัน = ความยาวของเหล็กอะเส
= 8.00 ม.
สะพานรับจันทันมี 2 ขาง = 8.00 x 2
= 16 ม. ตอบ

8. การหาปริมาณเหล็กตุกตา (ใชเหล็กรูปพรรณขนาด C–100 x 50 x 20 x 2.3 มม.)


วิธีคิด ตุกตาคือสวนของหลังคาที่ใชรับน้ําหนักจากสะพานรับจันทันลงสูขื่อ
8.1 หาความยาวของตุกตา ( หนวยที่ใชเปนเมตร )
8.2 หาจํานวนตุกตา ( หนวยเปนตัว )
71

8.1. ความยาวของตุกตาหาไดจากการใชสเกลวัดตามาตราสวนในแบบ
วัดไดจากสเกล = 0.75 ม.
8.2. หาจํานวนตุกตา
ปริมาณตุก ตา = ความยาวของตุกตา x จํานวนตุกตา
= 0.75 x 6 ม.
= 4.50 ม. ตอบ

9. การหาปริมาณเหล็กค้ํายัน (ใชเหล็กรูปพรรณขนาด C–100 x 50 x 20 x 2.3 มม.)


วิธีคิด เหล็กค้ํายันคือสวนของโครงหลังคาที่ใชยึดระหวางขื่อกับสะพานรับจันทัน
9.1 หาความยาวของค้ํายัน ( หนวยที่ใชเปนเมตร )
9.2 หาจํานวนค้ํายัน ( หนวยที่ใชเปนตัว )
9.1. ความยาวของค้ํายันหาไดจากการใชสเกลวัดตามาตราสวนในแบบ
วัดไดจากสเกล = 1.00 ม.
9.2. หาจํานวนค้ํายัน
จํานวนค้ํายัน = จํานวนตุกตา
= 6 ตัว
ปริมาณค้ํายัน = จํานวนค้ํายัน x ความยาวค้ํายัน
= 1.00 x 6 ม.
= 6.00 ม. ตอบ

10. การหาปริมาณเชิงชาย (ใชไมขนาด 1” x 8” )


วิธีคิด เชิงชาย คือ สวนโครงสรางที่ทําหนาที่ยดึ ปลายจันทันในแนวอะเส (หนวยที่ใชเปน ลบ.ฟ. )
ปริมาณเชิงชาย = ความยาวของอะเส
= 8.00 ม.
เผื่อความยาวในการตัดตอ = 0.50 ม.
= 8.50 ม.
เชิงชายมี 2 ขาง = 8.50 x 2 ม.
รวมความยาวเชิงชาย 2 ขาง = 17.00 ม.
ทําเปน ลบ.ฟ. = 1” x 8” x 17.00 x 0.0228 ลบ.ฟ.
= 3.10 ลบ.ฟ. ตอบ
72

11. การหาปริมาณไมปดเชิงชาย ( ใชไมขนาด 1” x 6” )


วิธีคิด ปดเชิงชาย คือ สวนโครงสรางที่ใชปดทับไมเชิงชาย ( หนวยที่ใชเปน ลบ.ฟ. )
ปริมาณไมปดเชิงชาย = ความยาวของเชิงชาย
= 17.00 ม.
ทําเปน ลบ.ฟ. = 3/4” x 6” x 17.00 x 0.0228 ลบ.ฟ.
= 1.74 ลบ.ฟ. ตอบ

12. การหาปริมาณปนลม ( ใชไมขนาด 1” x 8” )


วิธีคิด ปนลม คือ สวนโครงสรางที่ใชปดจันทันตามแนวยาวของจันทัน ตัวแรก และตัวสุดทาย
( หนวยทีใ่ ชเปน ลบ.ฟ. )
ปริมาณไมปนลม = ความยาวของจันทัน 4 ตัว
= 4.25 x 4 ม.
= 17.00 ม.
ทําเปน ลบ.ฟ. = 1” x 8” x 17.00 x 0.0228 ลบ.ฟ.
= 3.10 ลบ.ฟ. ตอบ

13. การหาปริมาณไมปดปน ลม ( ใชไมขนาด 1” x 6” )


วิธีคิด ปดปนลม คือ สวนโครงสรางที่ใชปดทับไมปนลม ( หนวยทีใ่ ชเปน ลบ.ฟ. )
ปริมาณไมปดปนลม = ความยาวของไมปนลม
= 17.00 ม.
ทําเปน ลบ.ฟ. = 3/4” x 6” x 17.00 x 0.0228 ลบ.ฟ.
= 1.74 ลบ.ฟ. ตอบ

14. การหาปริมาณกระเบื้อง ( ใชกระเบื้องซีแพคโมเนีย )


วิธีคิด กระเบื้องคือสวนบนสุดของอาคารที่คอยปกปองคุมครองอาคารใหปลอดภัยจากปรากฏการณ
ทางธรรมชาติ การหาปริมาณกระเบื้องหาได 2 วิธีคือ
หาจากพื้นทั้งหมดของหลังคา
หาเปนพืน้ ที่ตอ 1 แผน
14.1. หาจากพื้นที่ทั้งหมดของหลังคา
ปริมาณกระเบือ้ ง = พื้นที่ทั้งหมดของหลังคา x จํานวนกระเบื้อง
ตอตารางเมตร
= ( 4.25 x 8.00 x 2 ดาน ) x 11
73

= 68 x 11 แผน
= 748 แผน ตอบ

14.2. หาเปนพืน้ ที่กระเบื้องตอ 1 แผน


ปริมาณกระเบือ้ ง = ( จํานวนกระเบื้องตอแถว ) x ( จํานวนแถว )
= ( ความยาวของหลังคา / ความกวางของ
กระเบื้อง ) x ( ความยาวของจันทัน /
ระยะหางของระแนง )
= ( 8.00 / 0.295 ) x ( 4.25 / 0.32 )
= ( 27.12) x ( 13.28 )
= 361 แผน
มุงกระเบื้อง 2 ขาง = 361 x 2 แผน
= 722 แผน ตอบ
หมายเหตุ ถาสังเกตผลลัพธจาก 14.1 และ 14.2 จะแตกตางกันเนื่องจากการปดเศษของจุดทศนิยมใน
แตละขอ

15. การหาปริมาณครอบสันหลังคา
วิธีคิด ความยาวของสันหลังคา = 8 ม.
ใชครอบสัน 2.6 ตัว ตอความยาว 1 เมตร = 8 x 2.6
ใชครอบสันหลังคาทั้งหมด = 20.80 ตัว
ดังนั้นใชครอบสันหลังคา = 21 ตัว ตอบ
74

สรุป
การประมาณราคาโครงสราง ตองอาศัยความละเอียดรอบคอบในการศึกษาแบบรายละเอียดงาน
โครงสรางเพราะงานโครงสรางนั้นมีรายละเอียดมากซึ่งถาขาดตกบกพรองไปจะผลตอราคาคากอสราง
โดยตรงดังนั้นถือวางานโครงสรางมีความสําคัญมากทั้งในดานของราคาและความปลอดภัย องคประกอบ
หลักของงานโครงสรางประกอบดวยฐานราก เสา คาน พื้น และโครงหลังคา ในการคิดปริมาณวัสดุงาน
โครงสรางจะตองทําการคิดปริมาณงานคอนกรีต งานเหล็กเสริม งานไมแบบ งานลวดผูกเหล็ก งาน
ตะปู งานโครงสรางหลังคา
75

แบบฝกหัด
หนวยที่ 3 การหาปริมาณงานโครงสราง

คําชี้แจง จากแบบแปลนโครงสรางและแบบขยายโครงสรางที่กําหนดให
จงหาปริมาณวัสดุงานโครงสรางตอไปนี้
1. ปริมาณงานโครงสรางฐานราก
2. ปริมาณงานโครงสรางเสา
3. ปริมาณงานโครงคาน
4. ปริมาณงานโครงสรางพื้น
5. ปริมาณงานโครงสรางหลังคา
76
77
78
79
80
หนวยที่ 4
การหาปริมาณงานสถาปตยกรรม

หัวขอเรื่อง
การหาปริมาณงานผนัง
การหาปริมาณงานประตูและงานหนาตาง
การหาปริมาณงานสี
การหาปริมาณงานตกแตงผิวพื้นและงานตกแตงผิวผนัง
การหาปริมาณงานฝาเพดาน

สาระสําคัญ
งานสถาป ต ยกรรมนั้ น จะเน น การตกแต ง และความสวยงามเป น หลั ก การหาปริ ม าณงาน
สถาปตยกรรมประกอบดวยงานหลักๆคือ งานผนัง งานประตู - หนาตาง งานสี งานตกแตงผิวพื้นงาน
ตกแตงผิวผนัง และงานฝาเพดาน
 
จุดประสงคการเรียนรู
เมื่อเรียนบทที่ 4 จบแลวผูเรียนสามารถ
1. คํานวณหาปริมาณงานผนังได
2. คํานวณหาปริมาณงานประตูและงานหนาตางได
3. คํานวณหาปริมาณงานสีได
4. คํานวณหาปริมาณงานตกแตงผิวพื้นและงานตกแตงผิวผนังได
5. คํานวณหาปริมาณงานฝาเพดานได
82

บทนํา
งานโครงสรางเปรียบเสมือนโครงกระดูก งานสถาปตยกรรมก็เปรียบเปนผิวหนังตกแตงหรือ
หอหุมตัวโครงกระดูกเพื่อใหอาคารมีความสมบูรณ สามารถตอบสนองความตองการของผูอยูอาศัยได
ทําใหไดรับความสะดวกสบายและปลอดภัยจากสิ่งรวบกวนตางๆ นอกจากนี้งานสถาปตยกรรมยังเปน
การแสดงใหเห็นถึงศิลปะของแตละยุคสมัย วัสดุที่นํามาใชในงานตกแตงมีอยูมากมาย สถาปนิกจะเปนผู
กําหนดใหเกิดความเหมาะสมทั้งในดานความสวยงาม ประโยชนใชสอย และดานราคา เพราะมูลคาของ
งานตกแตงทางดานสถาปตยกรรมสูงถึงประมาณครึ่งหนึ่งของมูลคาราคาโครงการทั้งหมด ยิ่งถาวัสดุที่
นํามาตกแตงมีราคาสูงหรือหาไดยาก เชน หินออน การฝงแกวสีตางๆ ก็จะยิ่งทําใหราคาสูงขึ้นอีก ผู
ประมาณราคาในหมวดงานสถาปตยกรรมจึงตองถอดแบบดวยความรัดกุม ตองรูชนิดและประเภทของ
วัสดุตางๆ ไดเปนอยางดี
ลักษณะของงานในหมวดงานสถาปตยกรรมสามารถแบงออกไดเปนงานหลักๆ ดังนี้
1. งานผนัง
2. งานประตูและงานหนาตาง
3. งานงานสี
4. งานตกแตงผิวพื้นและงานตกแตงผิวผนัง
5. งานฝาเพดาน

งานผนัง
ผนัง นั้นเรียกไดวาเปนผิวหนังของบาน( skin ) สําหรับผนังภายนอกนั้นคอยปกปองตัวบาน จาก
ความเปลี่ยนแปลงของ อากาศ รอนหนาว แดด ลม ฝน ภายนอกบาน สวนผนังภายในนั้น ทําหนาที่แบง
สวนใชสอยตาง ๆ ภายในบาน ใหเปนสัดสวน ตามการใชสอย ผนังในบานนั้นมีทั้งผนัง ที่ทําหนาที่เปน
โครงสรางหรือที่เราเรียกวา ผนังรับน้ําหนัก ( ซึ่งแยกยอยไปอีก เปน ผนังรับน้ําหนัก ที่เปน คอนกรีตเสริม
เหล็ก และผนังรับน้ําหนัก ที่ใชการกออิฐเต็มแผน) ผนังลักษณะนี้ใหนึกภาพงาย ๆ วาเปนเสาที่ยึดยาว
ออกไปเปนผนังนั่นเอง ผนังชนิดนี้จึงมีราคาคอนขางแพงกวาผนังปกติสวนผนังอีกประเภท เปนผนังที่
นิยมใชกันอยูทั่วไป คือ ผนังที่ไมไดทําหนาที่รับน้ําหนัก หรือมิไดทําตัวเปนโครงสรางสวนมากเปนผนัง
กอดวยอิฐ หรืออาจใชเปนแผนยิปซั่มบอรดก็ได ตัวผนังเองก็มีหลายชนิด เชน ผนังกออิฐ ผนังหิน ผนัง
คอนกรีตบล็อกผนัง Glass Block หรือผนังแกว นอกจากนี้ก็ยังมีผนังที่เปน ผนังกระจก ( curtain wall )
นิยมใชกันมากในตึกสูง และมีการนํามาใชกับ บานพักอาศัยในสวนที่ ตองการเปดมุมมองสูภายนอก เชน
หองรับแขก หองพักผอน เปนตน ในวิธีการกอสรางนั้นผนังแตละอยาง ก็มีรายละเอียดปลีกยอยแตกตาง
กันออกไปตามประเภท
กลาวถึงผนังที่ใชกนั อยูทั่วไปนั่นคือผนังกออิฐมีสองลักษณะการกออิฐโชวแนวและผนังกออิฐ
ฉาบปูน
83

ผนังกออิฐโชวแนวคือ ผนังที่มีการกออิฐเรียงกัน และไมมีการฉาบทับ เพื่อตองการโชวแนวของ


อิฐผนังชนิดนี้ จึงไมมีปูนฉาบหนา กันความชื้น ดังนั้นในการกออิฐโชวแนวสําหรับผนัง ดานนอกอาคาร
ไมควรจะกอโชวทั้งสองดาน เพราะเวลาฝนตก หรือมีความชื้น เขากระทบผนัง น้ําจะซึมเขาดานในได
โดยงาย ขอควรระวัง อีกประการ ก็คือ อยากอในบริเวณที่มีรถวิ่งผานหรือวิ่งเฉียด (เชนโรงรถ ขางถนน
เปนตน) เพราะหากมีการกระทบใหอิฐโชวแนวมีรอย การแกไขทําไดยาก สวนใหญมักตองทุบผนังทั้ง
แผงออก และกอขึ้นใหม
ผนังกออิฐฉาบปูนนั้น เปนผนังทีใ่ ชอิฐกอขึ้นมาและฉาบทับดวยปูน เพื่อความเรียบรอยสําหรับ
การกออิฐในผนังชนิดนีจ้ ะตางจากการกออิฐของผนังกออิฐโชวแนว เพราะจะตองกออิฐใหผิวคอนกรีตมี
รอยบุมลึกประมาณ 3-5 มิลลิเมตร เพื่อเวลาฉาบปูนจะไดยึดเกาะผิวคอนกรีตไดแนนหนา กอนฉาบปูนก็
ควรทําความสะอาดผนังดวยไมกวาดหรือลมเปาใหเศษหรือฝุนปูนหลุดออกเสียกอนและทําการรดน้าํ ให
ชุมเสียทิ้งไวซกั ครึ่งนาทีกอนใหอิฐดูดน้ําใหเต็มที่ปองกันไมไหอฐิ ดูดน้ําไปจากปูน อันจะกอใหเกิดการ
แตกราวของผนังได
สําหรับงานผนังกออิฐไมวาจะเปนผนังกออิฐโชวแนวหรือผนังกออิฐฉาบปูน นั้นควรตรวจสอบ
วาไดมกี ารเตรียมเหล็กนวดกุง ยื่นออกมาจากเสาเพื่อยึดประสานระหวางเสาและผนังบาน ปองกันการราว
ของผนัง ขอควรระวังอีกอยางหนึ่งทีจ่ ะปองกันการราวของผนังโดยเฉพาะผนังทางดานทิศตะวันตกกับ
ดานทิศใตทไี่ ดรับแดดและความรอนมาก มีการยืดหดมากและมีโอกาสที่จะแตก(ลายงา)ไดมากหากมี
งบประมาณเพียงพอเวลาจะฉาบปูนใหเอาลวดกรงไกบทุ ี่ผนังเสียกอนเพราะลวดกรงไกนี้จะทําหนาที่เปน
ตัวยึดปองกันการแตกราวได สวนผนังดานที่มีประตู หนาตาง หรือชองเปดเปนสวนประกอบและทุก ๆ
ความสูงของผนัง 3 เมตร ตองทําเสาเอ็น นอกจากผนังกออิฐฉาบปูนและผนังกออิฐโชวแนวแลวยังมีผนัง
ที่เปนบลอคอิฐแกว ผนังกระจกและผนังยิปซั่มบอรด หรือผนังเบา
ผนังกออิฐฉาบปูนเปนผนังที่นิยมกันมากในปจจุบันเมื่อเทียบการกอสรางดวยผนังไมแลวผนังกอ
อิฐฉาบปูนเปนผนังที่ดูแลวเรียบงายเหมือนเปนผนังธรรมดาทั่วไปแตมีวิธีการและขั้นตอนในการทํางาน
ที่ชางระดับปฏิบัติการจะตองมีความเขาใจ ประณีตและรอบคอบมากพอสมควร เมื่อเปรียบเทียบการ
ประมาณราคากันผนังปูนจะประมาณราคางายกวาผนังไมลวนๆถึงแมจะมีความสลับซับซอนในตัวแต
สามารถอานแบบเขาใจงาย
การประมาณราคางานปูน ถาทราบระยะความกวางของผนังแตละสวนแลวนําความสูงของผนัง
แต ละชั้นมาคู ณ กัน เป นพื้ น ที่ ผนั งรวมทั้งหมดในแตละสวน ถาผนั งในสว นดังกลาวเกิดมี ประตูห รื อ
หนาตางรวมอยูดวยก็ดําเนินการหาพื้นที่ประตู - หนาตาง นํามาหักลบออกจากพื้นผนังทั้งหมด
เพื่อตองการหาพื้นที่สุทธิของผนัง จากนัน้ ก็ทําการแยกรายการหาปริมาณวัสดุทใี่ ชในผนังนั้นๆ
ถาเปนผนังฉาบปูนจะตองนําพื้นที่สุทธิมาคูณ 2 ดานเพื่อแยกหาวัสดุฉาบปูน
84

การประมาณการแยกรายการหาปริมาณวัสดุผนังประกอบดวย
1. การหาพื้นที่ผนังรวมทั้งหมด ( เฉพาะสวน )
2. การหาพื้นที่ประตู – หนาตาง – ชองแสง
3. การหาพื้นที่สทุ ธิของผนัง
4. การแยกรายการวัสดุที่ใชในงานผนัง

การหาปริมาณงานผนัง
ปริมาณวัสดุที่ตองใชสําหรับงานผนัง คิดหนวยเปนตารางเมตร โดยตองแยกวัสดุตามชนิดและ
ขนาด เชน อิฐมอญ ซีเมนตบล็อก ไมอัดยาง เปนตน โดยคิดหนวยเปนกอนหรือแผนใน 1 ตารางเมตร
รวมทั้งเผื่อการเสียหายดวย แลวหาปริมาณวัสดุสําหรับกอเปนผนังหรือประกอบเปนฝา ใน 1 ตารางเมตร
ซึ่งตองเผื่อเสียหายเชนกัน สวนคาแรงคิดจากปริมาณงานผนังหรือฝา ตามตารางเมตรของงานที่ตองทํา
ตารางที่ 4.1 ปริมาณปูนกอตอ 1 ลูกบาศกเมตร (เผื่อเสียหายแลว)

สวนผสมโดยปริมาตร ปูนซีเมนตผสม, กก. ปูนขาว, ลบ.ม. ทรายหยาบ,ลบ.ม. หมายเหตุ


1:1:3 380 0.31 0.95
1:1:4 325 0.27 1.06
1:2:8 175 0.29 1.18
1:4 320 - 1.05 ใชน้ํายาเคมีแทนปูน ขาว

ตารางที่ 4.2 เกณฑการประมาณงานผนังกอปูน1 : 1 : 4 หนาไมเกิน 1.5 เซนติเมตร ใน 1 ตารางเมตร


(เผื่อเสียหายแลว)

ผนัง จํานวนอิฐ, แผน ปูนซีเมนตผสม, กก. ปูนขาว, ถุง ทรายหยาบ, ลบ.ม.


อิฐมอญ ครึ่งแผน 138 10 0.54 0.032
อิฐชลบุรีครึ่งแผน 140 10 0.54 0.032
อิฐ บปก. ครึ่งแผน 54 10.4 0.58 0.034
บลอค 7x19x39 ซม. 13 4 0.22 0.013
บลอค 9x19x39 ซม. 13 5 0.27 0.016
อิฐมอญ เต็มแผน 275 23 1.26 0.075
อิฐกลวง หนา 8 ซม. 31 5 0.27 0.016
ปูนขาว 1 ถุง หนัก 8.25 กิโลกรัม ปริมาตร 0.015 ลูกบาศกเมตร
85

ตัวอยางที่ 1 ผนังกออิฐมอญครึ่งแผนกวาง 3.00 เมตร สูง 2.60 เมตร มีประตูขนาดกวาง 0.80 เมตร สูง
2.00 เมตร 2 บาน และปูนกอใชอัตราสวน 1 : 1 : 4 หนาไมเกิน 1.5 ซม.

รูปที่ 4.1 แสดงผนังกออิฐครึ่งแผน


ที่มา : วิเชียร ปญญาจักร

1. การหาปริมาณงานผนังกออิฐครึ่งแผน
1.1 หาปริมาณผนัง
วิธีคิด พื้นที่ผนัง = พื้นทั้งหมด – (พื้นที่ประตู – หนาตาง และชองเปดตางๆ)
พื้นที่ผนัง = (3.00 x 2.60) - (0.80 x 2.00 x 2)
= 4.60 ตร.ม. ตอบ

1.2 หาปริมาณอิฐมอญ
วิธีคิด จํานวนอิฐมอญ = พื้นที่ผนัง x จํานวนอิฐมอญตอหนึ่งตารางเมตร
จํานวนอิฐมอญ = 4.60 x 138 (1 ตารางเมตรใชอิฐมอญ 138 กอน จากตารางที่ 4.2)
= 634.80 กอน ตอบ

1.3 หาปริมาณปูนกอ
วิธีคิด ปูนซีเมนตผสม = พื้นที่ผนัง x 10 (จากตารางที่ 4.2 )
= 4.60 x 10
= 46.00 กก. ตอบ
86

ปูนขาว = พื้นที่ผนัง x 0.54 ถุง (จากตารางที่ 4.2)


= 4.60 x 0.54
= 2.48 ถุง
ทําเปน ลบ.ม. = 2.48 x 0.015 (จากตารางที่ 4.2)
= 0.04 ลบ.ม. ตอบ

ทรายหยาบ = พื้นที่ผนัง x 0.032 (จากตารางที่ 4.2)


= 4.60 x 0.032
= 0.15 ลบ.ม. ตอบ

ตัวอยางที่ 2 ผนังกอบล็อกขนาดกวาง 3.50 เมตร สูง 2.50 เมตร มีประตูขนาดกวาง 0.80 เมตร สูง 2.00
เมตร 2 บาน มีหนาตางขนาดกวาง 0.65 เมตร สูง 1.2 เมตร และปูนกอใชอัตราสวน 1 : 1 : 4 หนาไมเกิน
1.5 ซม เลือกใชขนาดบลอค 7x 19 x 39 เซนติเมตร

รูปที่ 4.2 แสดงผนังกอบล็อค


ที่มา : วิเชียร ปญญาจักร

2. การหาปริมาณงานผนังกอบลอค
2.1 หาปริมาณผนัง
วิธีคิด พื้นที่ผนัง = พื้นทั้งหมด – (พื้นที่ประตู – หนาตาง และชองเปดตางๆ)
พื้นที่ผนัง = (3.50 x 2.50) - (0.80 x 2.00 x 2) - (0.65 x 1.20 )
= 4.77 ตร.ม. ตอบ
87

2.2 หาปริมาณบลอค
วิธีคิด จํานวนบล็อก = พื้นทีผ่ นัง x จํานวนบลอคตอหนึ่งตารางเมตร
จํานวนบลอค = 4.77 x 13 (1 ตารางเมตรใชบลอค 13 กอน จากตารางที่ 4.2)
= 62.01 กอน ตอบ

2.3 หาปริมาณปูนกอ
วิธีคิด ปูนซีเมนตผสม = พื้นที่ผนัง x 4 (จากตารางที่ 4.2)
= 4.77 x 4
= 19.08 กก. ตอบ

ปูนขาว = พื้นที่ผนัง x 0.22 ถุง (จากตารางที่ 4.2)


= 4.77 x 0.22
= 1.05 ถุง
ทําเปน ลบ.ม. = 1.05 x 0.015 (จากตารางที่ 4.2)
= 0.02 ลบ.ม. ตอบ

ทรายหยาบ = พื้นที่ผนัง x 0.013 (จากตารางที่ 4.2)


= 4.77 x 0.013
= 0.06 ลบ.ม. ตอบ
88

ตัวอยางที่ 3 ผนังกออิฐมอญเต็มแผนกวาง 3.00 เมตร สูง 2.60 เมตร มีประตูขนาดกวาง 0.80 เมตร สูง
2.00 เมตร 2 บาน มีหนาตางขนาดกวาง 0.65 เมตร สูง 1.2 เมตร และปูนกอใชอัตราสวน 1 : 1 : 4 หนาไม
เกิน 1.5 ซม.

รูปที่ 4.3 แสดงผนังกออิฐเต็มแผน


ที่มา : วิเชียร ปญญาจักร

3. การหาปริมาณงานผนังกออิฐเต็มแผน
3.1หาปริมาณผนัง
วิธีคิด พื้นที่ผนัง = พื้นทั้งหมด – (พื้นที่ประตู – หนาตาง และชองเปดตางๆ)
พื้นที่ผนัง = (3.00 x 2.60) - (0.80 x 2.00 x 2) – (0.65 x 1.20)
= 3.82 ตร.ม. ตอบ

3.2 หาปริมาณอิฐมอญ
วิธีคิด จํานวนอิฐมอญ = พื้นที่ผนัง x จํานวนอิฐมอญตอหนึ่งตารางเมตร
จํานวนอิฐมอญ = 3.82 x 275 (1 ตารางเมตรใชอิฐมอญ 275 กอนจากตารางที่ 4.2)
= 1050.5 กอน ตอบ

3.3 หาปริมาณปูนกอ
วิธีคิด ปูนซีเมนตผสม = พื้นที่ผนัง x 23 (จากตารางที่ 4.2)
= 3.82 x 23
= 87.86 กก. ตอบ
89

ปูนขาว = พื้นที่ผนัง x 1.26 ถุง (จากตารางที่ 4.2)


= 3.82 x 1.26
= 4.81 ถุง
ทําเปน ลบ.ม. = 4.81 x 0.015 (จากตารางที่ 4.2)
= 0.07 ลบ.ม. ตอบ

ทรายหยาบ = พื้นที่ผนัง x 0.075 (จากตารางที่ 4.2)


= 3.82 x 0.075
= 0.29 ลบ.ม. ตอบ

งานประตูและงานหนาตาง
ประตู หมายถึง ชองทางเขา ทางออกของบานเรือน มีบานเปดปดได ประตูสามารถแบงออกเปน
ลักษณะใหญๆได 2 ลักษณะ คือ ประตูภายนอกและประตูภายใน ประตูเปนสิ่งที่แบงเนื้อที่ใชสอยที่
แตกตางจากกัน เพื่อความเปนสวนตัว เชน ประตูหองนอน ประตูหองน้ํา สวนประตูภายนอกนั้นเปน
การแบงเนื้อที่
ประตูชนิดตางๆแบงตามวิธีการเปด
1. ประตูบานเปด
2. ประตูบานผลักสองทาง
3. ประตูบานเลื่อน
4. ประตูบานเฟยม
5. ประตูบานหมุน
6. ประตูบานมวน
7. ประตูบานยืด
8. ประตูบานมาน
หนาตาง หมายถึง ชอง ที่อยูที่ผนัง โดยทั่วไป อาคาร บาน ที่อาศัย จะไดรับการออกแบบใหมีพื้นที่
บางส ว นของผนั ง เป น หน า ต า ง และถื อ ได ว า หน า ต า งเป น ส ว นประกอบหลั ก ของอาคารทุ ก ชนิ ด
วัตถุประสงคหลักก็คือตองการระบายอากาศ รับแสงสวางจากธรรมชาติ และใหเห็นทัศนียภาพภายนอก
แตสําหรับอาคารในปจจุบันนิยมติดตั้งหนาตางกระจกเพื่อใหอาคารดูทันสมัย ยิ่งถาเปนอาคารขนาดใหญ
หรืออาคารสูงมักนิยมกอสรางผนังอาคารเปนกระจกเนื่องจากสามารถกอสรางไดรวดเร็วกวาผนังทึบ
หนาตางชนิดตางๆแบงตามวิธีการเปด
1. หนาตางชนิดบานเลื่อนขึน้ ลง (Double or Single Hung Windows) ลักษณะบานหนาตางจะ
เปนแบบสี่เหลีย่ มเลื่อนขึ้น เลือ่ นลงได หนาตางชนิดนีอ้ าจไมสะดวกนักในการใชงานเพราะจะเปดรับ
90

ลมและรับแสงสวางไดเพียงครึ่งหนึ่งของหนาตางทัว่ ไปเทานั้น
2. หนาตางชนิดบานเลื่อนดานขาง (Sliding Windows) เปนหนาตางทีเ่ หมาะสําหรับการรับแสง
สวางจากธรรมชาติเพราะสามารถรับแสงสวางที่สองเขามาไดอยางเต็มที่ โดยไมตองใชพื้นทีภ่ ายนอก
สําหรับการเปด-ปด เพียงแตมีราคาแพง เพราะตองทํารางเลื่อนรองรับ และการเปดหนาตางบานเลื่อนจะ
เปดไดเพียงครึง่ หนึ่งเทานัน้
3. หนาตางชนิดบานกระทุง (Awning Windows) เวลาเปดตองผลักตัวกรอบหนาตางออกไป
สวนเวลาปดตองใชแรงดึงเขาหาตัว บานพับของหนาตางชนิดนี้จะอยูสว นบนของบานหนาตาง เวลาใช
งานจึง ไมสะดวกนัก เพราะเปด-ปดลําบากและทําความสะอาดยาก แตมีขอดีตรงที่รับลมและแสงสวาง
จากธรรมชาติ ไดดี
4. หนาตางชนิดบานเปดขาง (Casement Windows) เปนหนาตางที่สามารถรับลมและแสงสวาง
จากธรรมชาติไดอยางเต็มที่ จึงเปนที่นยิ มใชกันตามบานเรือนทั่วไป โดยเฉพาะบานไมนิยมใชหนาตาง
ชนิดนี้กนั มาก เพราะสะดวกในการเปด-ปดและงายตอการทําความสะอาด
5. หนาตางชนิดบานพลิก (Center pivot Windows) หนาตางชนิดนี้เปดรับลมและแสงสวางจาก
ธรรมชาติไดดี มีทั้งแบบที่เปนบานพลิกแนวนอนและแนวตั้ง แตมีขอเสียตรงที่ตองรับฝุนตลอดเวลา ทํา
ให ฝุนเขามาภายในบานไดงา ย และหากจะติดมุงลวดก็ไมสามารถทําได
6. หนาตางชนิดบานเกล็ด (Jalousie Windows) หนาตางชนิดนี้จะไมมบี านเปด-ปดออกสูภายใน
หรือภายนอก ใชสําหรับเพื่อระบายอากาศหรือรับลมและแสงสวางจากภายนอก เพียงแคหมุนบานเกล็ดก็
สามารถรับลมจากภายนอกไดแลว โดยทั่วไปบานเกล็ดมักเปนกระจก เพื่อใหมองเห็นภายนอกไดอยาง
ชัดเจน บานพักอาศัยสวนใหญมักใชบานเกล็ดชนิดนี้

การหาปริมาณงานประตูและงานหนาตาง
งานประตูและงานหนาตาง การคํานวณหาปริมาณเนื้องานมีหนวยเปนชุด โดยคิดแยกปริมาณ
เนื้องานตามสัญลักษณและชนิดของประตู – หนาตางแตละแบบ เชน ประตูไม ป1, หนาตางไม น1 ,
ประตูเหล็ก ป2 , หนาตางอลูมิเนียม น2 เปนตน แลวนับจํานวนตามแบบแปลนและรวมกันมีหนวยเปน
ชุด
91

ตัวอยางที่ 4 จากรูปที่ 4.4 จงหาปริมาณงานประตูและงานหนาตาง

รูปที่ 4.4 แสดงแปลนพื้นชั้นลาง


ที่มา : วิเชียร ปญญาจักร

หาปริมาณงานประตู
วิธีคิด 1. หาปริมาณงานประตู ป1 (โดยการนับจุดที่แสดงในแปลน )
ปริมาณงานประตู ป1 = ปริมาณประตูทั้งหมดที่แสดงในแปลน
= 1 ชุด
= 1 ชุด ตอบ
92

2. หาปริมาณงานประตู ป2 (โดยการนับจุดทีแ่ สดงในแปลน )


ปริมาณงานประตู ป2 = ปริมาณประตูทั้งหมดที่แสดงในแปลน
= 3 ชุด
= 3 ชุด ตอบ

3. หาปริมาณงานประตู ป3 (โดยการนับจุดทีแ่ สดงในแปลน)


ปริมาณงานประตู ป3 = ปริมาณประตูทั้งหมดที่แสดงในแปลน
= 1 ชุด
= 1 ชุด ตอบ

4. หาปริมาณงานประตู ป4 (โดยการนับจุดทีแ่ สดงในแปลน )


ปริมาณงานประตู ป4 = ปริมาณประตูทั้งหมดที่แสดงในแปลน
= 1 ชุด
= 1 ชุด ตอบ

หาปริมาณงานหนาตาง
วิธีคิด 1. หาปริมาณงานประตู น1 (โดยการนับจุดที่แสดงในแปลน )
ปริมาณงานประตู น1 = ปริมาณประตูทั้งหมดที่แสดงในแปลน
= 9 ชุด
= 9 ชุด ตอบ

2. หาปริมาณงานประตู น2 (โดยการนับจุดทีแ่ สดงในแปลน)


ปริมาณงานประตู น2 = ปริมาณประตูทั้งหมดที่แสดงในแปลน
= 1 ชุด
= 1 ชุด ตอบ
93

งานสี
สี คื อ ส ว นประกอบของอาคารทางด า นสถาป ต ยกรรมที่ เ น น ความสวยงามและสร า งสรรค
บรรยากาศในการทํางาน นาอยู เปนที่ประทับใจแกผูอยูอาศัยและผูพบเห็น ดังนั้นบริเวณที่จะทําการทาสี
จะถู ก เน น ที่ ผิว ให เ รี ย บปราศจากคราบฝุ น สกปรก เช น ผิ ว พื้ น ผิ ว ผนั ง เป น ต น สี ที่ใ ช กั บ อาคาร
โดยทั่วไปแยกออกเปนประเภทตางๆดังนี้ คือ
1. สีน้ําพลาสติก ใชกับผิวผนังที่เปนผิวปูนหรือแผนยิบซัมบอรดใชน้ําเปนสวนผสม สีชนิดนี้จะ
ประกอบดวยวัสดุผสมที่ปองกันเชื้อราในตัว จะตองเตรียมผิวงานใหสะอาดปราศจากคราบฝุนหรือสิ่ง
สกปรกใหเรียบรอยกอนการทาสี นอกจากนี้สีน้ําพลาสติกยังแยกออกเปน
1.1. สีรองพื้นปูนใหม เปนสีที่เหมาะสําหรับการทาในผนังที่กอสรางเสร็จใหมยังไมมีการ
ทาสีใดๆ ไมสามารถใชกับผนังปูนที่ผานการทาสีมาแลว การทาสีรองพื้นจะทา 1 ครั้งกอนทาสีจริง
(หนวยที่ใชในการประมาณราคาเปนตารางเมตร )
1.2. สีภายใน ใชทาไดทั้ง ผนังปูนเกา หรือปูนใหม ไมสามารถนําไปทาบริเวณภายนอก
อาคารได การทาสีภายในอยางนอยควรทา 2 ครั้งแตละครั้งควรทิ้งไวใหแหงสนิท หรือประมาณ 2 ชั่วโมง
กอนทาทับครั้งที่ 2 หรือครั้งตอๆไป
1.3. สีภายนอก ใชทาไดทั้ง ผนังปูนเกา หรือปูนใหมเหมือนสีภายในแตสีภายนอกสามารถ
นําไปทาภายในได แตไมคอยนิยมเพราะราคาที่แพงกวาสีภายใน การทาสีภายนอกควรทาอยางนอย 2
ครั้ง แตละครั้งควรทิ้งไวใหแหงสนิทหรือประมาณ 2 ชั่วโมงจึงจะทาครั้งที่ 2 หรือครั้งตอๆไป
2. สีน้ํามัน เหมาะสําหรับการทาวัสดุไมหรือเหล็ก ใชน้ํามันซักแหง น้ํามันสน เปนสวนผสม
กอนทาสีน้ํามันตองทําความสะอาดบริเวณพื้นผิวที่จะทากอน
3. สีน้ํามันเคลือบผิวหรือโชวผิวไม ใชแอลกอฮอล น้ํามันซักแหง หรือน้ํามันสนเปนสวนผสม
เชน แชลแลค แลคเกอร ยูรีเทน วูดเทค เปนตน วัสดุบางชนิดใชไดเฉพาะที่เชน แชลแลค แลคเกอร
ใชไดเฉพาะภายใน บางชนิดก็สามารถใชไดทั้งภายในและภายนอก ผูประมาณราคาจงควรแยกประมาณ
ราคาใหถูกตอง ( หนวยที่ใชในการประมาณราคาเปนลูกบาศกเมตร )
4. สีรักษาเนื้อไม เชน เชลลไดร โซลิกนัม ฯลฯ สีชนิดนี้เหมาะสําหรับการทาเพื่อรักษาเนื้อไม
และยั งช ว ยป อ งกั น ปลวกและแมลงต า งๆไดด ว ย ใช น้ํ า มั น สน น้ํา มั น ซัก แหง หรื อน้ํ า มั น กา ดเป น
สวนผสม ( หนวยที่ใชในการประมาณราคาเปนตารางเมตร )
สีโดยทั่วไปบรรจุในกระปองขนาด 1 แกลลอน (ประมาณ 3.5 ลิตร หรือ 5 ลิตร ) แลวแตชนิด
หรือประเภทของสี เชน สีน้ําพลาสติกบรรจุแกลลอนละ 3.5 ลิตร สวนสีน้ํามันวูดเทค บรรจุแกลลอนละ
5 ลิตร เปนตน แตถาตองการใชสีเปนจํานวนมากสีบางชนิดก็บรรจุเปนถัง ประมาณ 9 ลิตร หรือ 18
ลิตรก็ได สรุปสีแตละชนิดผูประมาณราคาสามารถประมาณราคาเปนตารางเมตร
94

สําหรับปริมาณหรืออัตราการใชสีจะใชมากหรือนอยขึ้นอยูกับการเลือกใชโทนสี บางสีอาจตอง
ทาจํานวนมากครั้ง ทั้งนี้ก็ยังขึ้นอยูกับปจจัยดังนี้
1. การเตรียมพื้นผิวกอนทาสี
2. คุณภาพของเนือ้ สีแตละยี่หอจะมีเนื้อสีแตกตางกัน
3. ลักษณะของของการดูดซึมสีของผนังที่ไมเหมือนกัน เชนผนังกออิฐโชวแนวจะมีการดูดซึม
สีมากกวา
4. ลักษณะของชิน้ งาน เชนถาเปนงานเล็กๆ จะใชสีเปลืองมากกวาพื้นทีก่ วางๆ เชนขอบบัวปูน
ปน ราวบันได ฯลฯ
5. ความยากงายของการทาสี เชน การทาสีในที่สูง ที่จํากัด หรือที่อันตราย

การประมาณราคางานสีโดยวิธีหาพื้นที่แยกจากประเภทของงานและชนิดของสีดังนี้
1. การหาปริมาณสีรองพื้นพลาสติกหาจากพืน้ สวนที่เปนปูนทั้งหมด (หนวยที่ใชเปนตาราง
เมตร )
1.1 ผนังกออิฐฉาบปูนทั้งหมด คิดทั้ง 2 ดาน
1.2 คานคอนกรีต
1.3 เพดานที่ฉาบดวยปูนฉาบ
2. การหาปริมาณสีน้ําพลาสติกภายในหาจากพื้นที่ (หนวยที่ใชเปนตารางเมตร )
2.1 ผนังกออิฐฉาบปูนสวนที่เปนภายในทั้งหมด
2.2 คานหรือคอนกรีตสวนที่โชว
2.3 เพดานภายใน สวนที่เปนแผนยิบซัมบอรดฉาบเรียบและสวนที่ฉาบดวยปูน
3. การหาปริมาณสีน้ําพลาสติกภายนอกหาจากพื้นที่ (หนวยที่ใชเปนตารางเมตร )
3.1 ผนังกออิฐฉาบปูนสวนที่เปนภายนอกทั้งหมด
3.2 คานคอนกรีตหรืองานกออิฐโชวแนว
3.3 ผนังที่เปนวัสดุสําเร็จรูป เชนไมฝาเฌอรา ไมฝาตราชาง ฯลฯ
3.4 ไมระแนงภายนอกที่เปนวัสดุสําเร็จรูป เชนไมระแนงคอนวูด ไมระแนงตราชาง
ฯลฯ
4. การหาปริมาณสีน้ํามันหาไดจากพื้นที่ (หนวยที่ใชเปนตารางเมตร )
4.1 เชิงชาย หรือ ปดเชิงชายสวนที่เปนไมเนือ้ แข็ง
4.2. ประตู – หนาตางที่ตองการทาสีน้ํามัน
4.3 ราวระเบียง หรือราวบันได
4.4 สวนประดับตกแตง หรืองานโชว เชน โตะ เตียง ตูเ สื้อผา ฯลฯ
95

5. การหาปริมาณสีน้ํามันเคลือบผิวหรือโชวผิวไมหาไดจากพืน้ ที่ (หนวยที่ใชเปนตารางเมตร )


5.1 เชิงชาย หรือ ปดเชิงชายสวนที่เปนไมเนื้อแข็ง
5.2 ประตู – หนาตางที่ตองการทาสีน้ํามันโชวลายไม
5.3 ราวระเบียง หรือราวบันได
5.4 สวนประดับตกแตง หรืองานโชว เชน โตะ เตียง ตูเ สื้อผา ฯลฯ
6. การหาปริมาณสีรักษาเนือ้ ไม (หนวยทีใ่ ชเปนตารางเมตร )
6.1 ไมเชิงชายหรือปดเชิงชาย กอนทาสีจริง
6.2 ไมสวนที่เปนโครงเคราทั้งหมดกอนทาสีจริง

การหาปริมาณงานสี
การหาปริมาณเนื้องานมีหนวยเปนตารางเมตร โดยคิดแยกปริมาณเนื้องานตามวัสดุที่ใช เชน
งานทาสีน้ํามันใชทาไมหรือเหล็ก งานทาสีพลาสติกใชทาผนังฉาบปูนหรือฝาเพดานยิบซั่มบอรด งาน
ทาสีเหล็กกันสนิมและงานพนสีระเบิด เปนตน การหาเนื้องานทาสีจะตองพยายามดูแบบและรายการ
ประกอบแบบใหละเอียด เพราะอาจเกิดขอผิดพลาดในเรื่องของขอบเขตการทาสีและชนิดของสีที่จะทา
ได เนื่องจากวัสดุบางรายการที่ไดมีการทาสีมาจากโรงงานแลว เปนตน

ตัวอยางที่ 5 โกดังเก็บของกวาง 10.00 เมตร ยาว 15.00 เมตร ผนังสูง 5.00 เมตร มีหนาตางขนาด กวาง
1.20 เมตร ยาว 1.50 เมตร จํานวน 10 ชุด จงหาปริมาณงานสี เมื่อทาสีรองพื้น 2 รอบ และสีจริง 1 รอบ
วิธีคิด 1. หาปริมาณสีน้ําพลาสติกรองพื้น
พื้นที่ทาสี = พื้นทั้งหมด – ( พื้นที่ประตูและหนาตาง และชองเปดตางๆ)
= {(10 x 5 x 2 ) + (15 x 5 x 2 )} - (1.20 x 1.50 x 10)
= 232.00 ตร.ม.
= 232.00 x 2 (ทา 2 ดาน)
= 464.00 ตร.ม. ตอบ

ปริมาณสีรองพื้น = พื้นทีท่ าสี x จํานวนรอบที่ทาสี


= 464.00 x 2 (ทา 2 รอบ)
= 928.00 ตร.ม. ตอบ
96

2. การหาปริมาณสีน้ําพลาสติกทาภายใน
พื้นที่ทาสีภายใน = พื้นทัง้ หมดที่เปนผนังภายใน

= {(10 x 5 x 2 ) + (15 x 5 x 2 )} - (1.20 x 1.50 x 10)


= 232.00 ตร.ม. ตอบ

3. การหาปริมาณสีนา้ํ พลาสติกทาภายนอก
พื้นที่ทาสีภายนอก = พื้นทัง้ หมดที่เปนผนังภายนอก
= {(10 x 5 x 2 ) + (15 x 5 x 2 )} - (1.20 x 1.50 x 10)
= 232.00 ตร.ม. ตอบ

4. การหาปริมาณสีน้ํามัน
พื้นที่ทาสีนา้ํ มัน = พื้นทีท่ ั้งหมดของประตูและหนาตาง
= 1.20 x 1.50 x 10
= 18.00 ตร.ม.
= 18.00 x 2 ( ทา 2 รอบ)
= 36.00 ตร.ม. ตอบ

ตัวอยางที่ 6 ตองการทาสีรั้วรอบบาน รั้วสูง 2.00 เมตร ยาว 300.00 เมตร มีประตูหนาบานกวาง 5.00
เมตร จงหาปริมาณงานสี เมือ่ ทาสีรองพื้น 2 รอบ และสีจริง 1 รอบ
วิธีคิด 1. หาปริมาณสีน้ําพลาสติกรองพื้น
พื้นที่ทาสี = พื้นทั้งหมด – ( พื้นที่ประตูและหนาตางและชองเปดตางๆ)
= (2.00 x 300.00 ) – (2.00 x 5.00)
= 590.00 ตร.ม.
= 590.00 x 2 (ทา 2 ดาน)
= 1180.00 ตร.ม. ตอบ

ปริมาณสีรองพื้น = พื้นทีท่ าสี x จํานวนรอบที่ทาสี


= 1180.00 x 2 (ทา 2 รอบ)
= 2360.00 ตร.ม. ตอบ
97

2. การหาปริมาณสีน้ําพลาสติกทาภายใน
พื้นที่ทาสีภายใน = พื้นทัง้ หมดที่เปนผนังภายใน
= สีภายในไมมีเนื่องจากรัว้ อยูภ ายนอกถูกแดดและฝน ตอบ

3. การหาปริมาณสีนา้ํ พลาสติกทาภายนอก
พื้นที่ทาสีภายนอก = พื้นทัง้ หมดที่เปนผนังภายนอก
= (2.00 x 300.00 ) – (2.00 x 5.00)
= 590.00 ตร.ม.
= 590.00 x 2 (ทา 2 ดาน)
= 1180.00 ตร.ม. ตอบ

4. การหาปริมาณสีน้ํามัน
พื้นที่ทาสีนา้ํ มัน = พื้นทัง้ หมดของประตูและหนาตาง
= 2.00 x 5.00
= 10.00 ตร.ม.
= 10.00 x 2 (ทา 2 ดาน)
= 20.00 ตร.ม. ตอบ

งานฝาเพดาน
ฝาเพดานเปนสวนของโครงสรางอาคารที่ กั้นระหวางพื้นกับสวนของหลังคาหรือพื้นในชั้น
ตอไปเพื่อความสวยงามและกันความรอนลงสูภายในหอง ซึ่งในแตละอาคารอาจถูกกําหนดใหมีหรือไมมี
ก็ได ขึ้นอยูกับกําลังทรัพยของเจาของอาคาร
การคิดงานฝาเพดาน อาจทําอยางละเอียด โดยหาปริมาณวัสดุแผนฝาเพดาน แยกออกตามชนิด
ขนาด และความหนา โดยคิดหนวยเปนแผน รวมทั้งสวนที่ตองเผื่ออันอาจเสียเศษใชงานไมได หรือชํารุด
ปริมาณวัสดุ (ไม, อลูมิเนียม) ที่ใชทําเคราฝาเพดานและตัวยึด หรือทับขอบฝา เชน ไมเนื้อแข็ง หรือไมยาง
อัดน้ํายาก็คิดหนวยเปนลูกบาศกฟุต โดยแยกออกตามขนาด และระยะหางของการตีหรือวางเปนตะแกรง
สําหรับคาแรงงานตั้งเครา ตีแผนฝา และไมทับขอบฝาคิดจากพื้นที่ของฝาเพดาน หนวยเปนตารางเมตร
ในบางครั้งการหาปริมาณวัสดุก็คิดจากพื้นที่ของฝาเพดาน หนวยเปนตารางเมตรแลวคูณดวย
ปริมาณวัสดุที่ตองใชตอตารางเมตร ตามสถิติขอมูลที่มีในอดีตหรืออาจคูณดวยราคาของวัสดุตอตาราง
เมตร ก็จะไดราคาวัสดุของงานนั้น
98

ตารางที่ 4.3 เกณฑการประมาณวัสดุของงานฝาเพดานในเนื้อที่ 1 ตารางเมตร (เผื่อเสียหายแลว)

งานฝาเพดาน วัสดุฝาที่ตองใช เคราไม, ไมโยงยึด ตะปู หมายเหตุ


แผนสําเร็จรูป แผนฝาสําเร็จรูป 0.42 ลบ.ฟุต 0.25 กก. ไมเครา 1 ½ x 3 นิ้ว
(ไมมีไมโยงยึดเครา) 1.10 ตารางเมตร @ 0.60 ม. สองทาง
แผนสําเร็จรูป แผนฝาสําเร็จรูป 0.64 ลบ.ฟุต 0.30 กก. ไมเครา 1 ½ x 3 นิ้ว
(มีไมโยงยึดเครา) 1.10 ตารางเมตร @ 1.00 ม. ยาว 1 เมตร
ใชไมขนาด ½ นิ้ว ไมฝาเพดาน 0.42 ลบ.ฟุต 0.25 กก. ไมเครา 1 ½ x 3 นิ้ว
(ความกวางตาง ๆ) 0.50 ลบ.ฟุต @ 0.40 ม. ทางเดียว

ปจจุบันเกิดเทคโนโลยีขึ้นมาใหมมากมายและเศรษฐกิจที่ทุกคนจะตองคํานึงถึง ทําใหคานิยม
ของคนเปลี่ยนไป หันไปตามเทคโนโลยีเนื่องจากความสะดวก ความสวยงาม และที่สําคัญราคาประหยัด
ฝาเพดานที่ใชในอาคารแตละงานสามารถดูไดจาก สวนแปลนพื้น และรูปตัดของแบบแปลนนั้นๆ ซึ่งใน
แตละแบบแปลน ฝาเพดานที่นิยมใชในปจจุบันคือฝาเพดานแบบฉาบเรียบเนื่องจากเปนชนิดที่มีราคา
ประหยัด ทํางานงาย และสวยงาม การประมาณการจะคิด ออกมาเปนตารางเมตร โดยแยกสวนโครงเครา
ที่ใช และแผนฝาเพดาน
การประมาณการฝาเพดานประกอบดวย
1. คิดหาปริมาณพื้นที่ฝาเพดานทั้งหมดที่ใชในอาคาร (ฝาภายใน )หรือนอกอาคาร(ฝาภายนอก )
2. คิดแยกวัสดุแตละชนิดของฝาเพดานโดยแบงออกเปน งานโครงเคราฝาเพดาน งานแผนฝา
เพดาน งานอุปกรณติดตั้ง

การหาปริมาณงานฝาเพดาน
การคํานวณปริมาณเนื้องานมีหนวยเปนตารางเมตร โดยคิดแยกปริมาณเนื้องานของการทําฝา
เพดานแตละแบบ เชน ฝาเพดานกระเบื้องแผนเรียบ ฝาเพดานยิบซั่มบอรด ฝาเพดานไม เปนตน แลวหา
พื้นที่ของฝาเพดานขนาดความกวางคูณความยาวตามแบบแปลนและมีหนวยเปนตารางเมตร

ตัวอยางที่ 7 ฝาเพดานภายในกวาง 3.60 เมตร ยาว 6.00 เมตร ใชแผนสําเร็จรูป เปนฝาเพดานชนิดโครง


เคราสังกะสี ระยะหาง 0.40 เมตร ฝาแผนยิบซัมบอรดชนิดขอบลาดฉาบเรียบ จงคํานวณหาปริมาณวัสดุที่
ใชฝาเพดานโครงเคราสังกระสี
วิธีคิด 1. หาปริมาณฝาเพดานทั้งหมด
= ความกวาง x ความยาว
= 3.60 x 6.00 ตร.ม.
99

พื้นที่ฝาเพดานทั้งหมด = 21.60 ตร.ม. ตอบ

3 คิดแยกรายการวัสดุที่ใชแตละชนิด
หาปริมาณโครงเครา
2.1.1. โครงเคราหลัก = [( ความยาว / ระยะหาง ) + 1] x ความกวาง
= [( 6.00 / 1.00 ) + 1] x 3.60 ม.
= [ 6 + 1 ] x 3.60 ม.
= 7 x 3.60 ม.
= 25.20 ม. ตอบ

2.1.2. โครงเคราสําหรับยึดแผนฝา
= [( ความกวาง / ระยะหาง ) + 1] x ความยาว
= [( 3.60 / 0.40 ) + 1 ] x 6.00 ม.
= [ ( 9 ) + 1 ] x 6.00 ม.
= 10 x 6.00 ม.
= 6.00 ม. ตอบ

2.2.3. หาปริมาณแผนฝาเพดานยิบซัมบอรดขนาดกวาง 1.20 เมตร ยาว 2.40 เมตร


= พื้นที่ทั้งหมด / พื้นทีแ่ ผนยิบซัมบอรด 1 แผน
= 21.60 / ( 1.20 x 2.40 ) ตร.ม.
= 21.60 / 2.88 ตร.ม.
= 7.50 แผน ตอบ

3. หาปริมาณอุปกรณติดตั้ง
3.1. ลวดแขวนเพดานใช 1 เสน ตอ 1 ตารางเมตร
= พื้นที่ทั้งหมด x 1
= 21.6 x 1 เสน
= 21.6 เสน
= 22 เสน ตอบ
100

3.2. เหล็กสปริงล็อกโครงเครากับลวดแขวนใช 2 ตัว ตอลวด 1 เสน


= จํานวนลวดทั้งหมด x 2
= 22 x 2 ตัว
= 44 ตัว ตอบ

3.3. ขอเหล็กลอกโครงเครากับลวดแขวนใช 2 ตัว ตอลวด 1 เสนหรือเทากับเหล็ก


สปริง
= จํานวนลวดทั้งหมด x 2
= 22 x 2 ตัว
= 44 ตัว ตอบ

ตัวอยางที่ 8 ฝาเพดานภายในกวาง 4.00 เมตร ยาว 6.00 เมตร ใชแผนสําเร็จรูป (มีไมโยงยึดเครา) โครง
เคราไม 1 ½ x 3 นิ้ว ระยะหาง 1.00 เมตร ยาว 1.00 เมตร จงคํานวณหาปริมาณวัสดุที่ใชฝาเพดานโครง
เคราไม
วิธีคิด 1. หาปริมาณฝาเพดานทั้งหมด
= ความกวาง x ความยาว
= 4.00 x 6.00 ตร.ม.
พื้นที่เพดานทัง้ หมด = 24.00 ตร.ม. ตอบ

2. หาปริมาณโครงเครา
2.1.1 เคราไม,ไมโยงยึด = ปริมาณฝาทั้งหมด x 0.64 (ใชขอมูลตารางที่ 4.3)
= 24.00 x 0.64
= 15.36 ลบ.ฟ. ตอบ

2.1.2 หาปริมาณแผนฝาเพดานสําเร็จรูปขนาด 1.10 ตารางเมตร


= พื้นที่ทั้งหมด / พืน้ ที่แผนยิบซัมบอรด 1 แผน
= 24.00 / 1.10 ตร.ม. (ใชขอมูลตารางที่ 4.3)
= 21.82 แผน ตอบ
3. หาปริมาณอุปกรณติดตั้ง
3.1 ตะปูที่ใช = พื้นที่ทั้งหมด x 0.30 (ใชขอมูลตารางที่ 4.3)
= 24.00 x 0.30 กก.
= 7.20 กก. ตอบ
101

งานตกแตงผิวพื้นและผิวผนัง
งานตกแตงผิวพื้นหรือผนัง ไดแก งานผิวพื้นหรือผนังหินขัด งานผิวพื้นหรือผนังปูกระเบื้อง
เซรามิค งานผิวพื้นปูกระเบื้องยาง งานผิวพื้นปูปารเก การหาปริมาณวัสดุจะตองแยกออกเปนประเภทของ
งาน ตามชนิดและขนาดของวัสดุ โดยคิดหนวยเปนตารางเมตร โดยเผื่อเสียหายไวดวย และตองหา
ปริมาณวัสดุที่ใชประกอบดวย เชน ปุนทรายรองพื้นหรือผนัง ปูนทรายสําหรับยึดแผนกระเบื้อง เสน
ทองเหลืองที่ใชแบงพื้น วัสดุกาวยึด เปนตน สวนคาแรงในการทําความสะอาดเตรียมผิวพื้น และตกแตง
พื้นใหเรียบรอย ก็คิดตามตารางเมตรของงาน
พื้นชั้นลางควรปูดวยวัสดุที่มีความทนทานสูง เนื่องจากเปนพื้นที่ทํากิจกรรมบอยกวาชัน้ บน ชั้น
ลางนิยมปูดว ยกระเบื้องเซรามิก,แกรนิต,หินออนสวนชัน้ บนนิยมใชพื้นผิวที่มีความรูส ึกสบาย เชน ไมเขา
ลิ้นขนาดตางๆ กันอาจเปนไมเนื้อแข็ง,ไมแดง,ไมมะคา,ไมสักแลวเคลือบแข็งดวยยูริเทนอยางนอย 2 เที่ยว
ผนังภายในบานนิยมฉาบปูนเรียบถาเปนหองน้ําอาจจะกรุดวยกระเบื้องเซรามิก ผนังภายนอก
บานนอกจากฉาบเรียบแลวบางหลังอาจตกแตงดวยกระเบื้องหรือไมฝา เพื่อเพิ่มรายละเอียดกับตัวบานให
มากขึ้น

การคิดงานวัสดุผวิ ผนัง
การคํานวณหาปริมาณเนื้องานมีหนวยเปนตารางเมตร โดยคิดแยกปริมาณเนื้องานของวัสดุผิว
ผนังแตละแบบ เชนผนังบุกระเบื้องเคลือบ ผนังบุหินออน ผนังหินลางและทรายลางเปนตน แลวหา
พื้นที่ของวัสดุผิวผนังแตละงานตามแบบแปลนและรวมกันเปนตารางเมตร

การคิดงานวัสดุผิวพื้น
การคํานวณหาปริมาณเนื้องานมีหนวยเปนตารางเมตร โดยคิดแยกปริมาณเนื้องานของวัสดุผิว
พื้นแตละแบบ เชนพื้นบุกระเบื้องเคลือบ พื้นบุหินออน พื้นหินลางและทรายลางเปนตน แลวหาพื้นที่
ของวัสดุผิวผนังแตละงานตามแบบแปลนและรวมกันเปนตารางเมตร

ตารางที่ 4.4 เกณฑการประมาณวัสดุของปูนทรายรองพื้นตอ 1 ลูกบาศกเมตร (เผื่อเสียหายแลว)

สวนผสมโดยปริมาตร ปูนซีเมนตผสม, กก. ทรายหยาบ, ลบ.ม.


1:3 400 0.98
1:4 320 1.05
102

ตารางที่ 4.5 ปูนทราย สวนผสม 1 : 3 พืน้ ที่ 1 ตารางเมตร (เผื่อเสียหายแลว)

งานปูนทรายรองพื้น ปูนซีเมนตผสม, กก. ทรายหยาบ, ลบ.ม.


หนา 2 ซม. ผิวหนัง ผิวพื้นซีเมนตขัดมันและขัดหยาบ 8 0.02
หนา 3 ซม. ผิวหนังบุวัสดุแผน ผิวหนังทรายลาง กรวดลาง 12 0.03
หนา 5 ซม. ผิวพื้นทรายลาง กรวดลาง หินขัด 20 0.05

วัสดุแผนสําเร็จรูปสําหรับปูพื้นหรือบุผนัง ใหหาจํานวนแผนที่ตองใชจริงใน 1 ตารางเมตร แลวเผือ่


เสียหาย 5%

ตัวอยางที่ 9 พื้นกวาง 3.00 เมตร ยาว 3.50 เมตร มี 6 พื้น ใชกระเบื้องดินเผาขนาด 8” x 8”


จงคํานวณหาปริมาณวัสดุทใี่ ช

1. การหาปริมาณงานตกแตงผิวพื้นดวยกระเบื้องดินเผาขนาด 8” x 8”
1.1 หาปริมาณงานผิวพื้น
วิธีคิด พื้นที่ผิวพื้น = ความกวางของพื้น x ความยาวของพืน้ x จํานวนพื้น
พื้นที่ผิวพื้น = 3.00 x 3.50 x 6
= 63.00 ตร.ม. ตอบ

1.2 หาปริมาณกระเบื้องดินเผาที่ใชตกแตงผิวพืน้
วิธีคิด จํานวนเบื้องดินเผา = พื้นที่ผิวพื้น x 25 ( 1 ตารางเมตร ใช 25 แผน)
จํานวนเบื้องดินเผา = 63.00 x 25
= 1575.00 แผน ตอบ

1.3 หาปริมาณปูนทรายรองพื้น
วิธีคิด ปูนซีเมนตผสม = พื้นที่ผวิ พื้น x 12 (ใชขอมูลตารางที่ 4.5)
= 63.00 x 12
= 756.00 กก. ตอบ

ทรายหยาบ = พื้นที่ผิวพื้น x 0.03 (ใชขอมูลตารางที่ 4.5)


= 63.00 x 0.03
= 1.89 ลบ.ม. ตอบ
103

ตัวอยางที่ 10 พื้นกวาง 4.50 เมตร ยาว 5.00 เมตร มี 5 พื้น ทําเปนพืน้ ผิวหินขัดจงคํานวณหาปริมาณวัสดุ
ที่ใช

1. การหาปริมาณงานตกแตงผิวพื้นดวยหินขัด
1.1 หาปริมาณงานผิวพื้น
วิธีคิด พื้นที่ผิวพื้น = ความกวางของพื้น x ความยาวของพื้น x จํานวนพื้น
พื้นที่ผิวพื้น = 4.50 x 5.00 x 5
= 112.50 ตร.ม. ตอบ

1.2 หาปริมาณปูนทรายรองพื้น
วิธีคิด ปูนซีเมนตผสม = พื้นที่ผวิ พื้น x 20 (ใชขอมูลตารางที่ 4.5)
= 112.50 x 20
= 2250.00 กก. ตอบ

ทรายหยาบ = พื้นที่ผิวพื้น x 0.05 (ใชขอมูลตารางที่ 4.5)


= 112.50 x 0.05
= 5.63 ลบ.ม. ตอบ

ตัวอยางที่ 11 ผนังกวาง 5.00 เมตร สูง 1.20 เมตร มีจํานวน 3 แผง ทําเปนผิวผนังเปนกรวดลาง
จงคํานวณหาปริมาณวัสดุทใี่ ช

รูปที่ 4.5 แสดงรูปดานผิวผนังฉาบดวยกรวดลาง


ที่มา : วิเชียร ปญญาจักร
104

3. การหาปริมาณงานตกแตงผิวผนังดวยกรวดลาง
3.1 หาปริมาณงานผิวผนัง
วิธีคิด พื้นที่ผิวผนัง = ความกวางของผนัง x ความยาวของผนัง x จํานวนผนัง
พื้นที่ผิวผนัง = 5.00 x 1.20 x 3
= 18.00 ตร.ม. ตอบ

3.2 หาปริมาณปูนทรายรองพื้น
วิธีคิด ปูนซีเมนตผสม = พื้นที่ผวิ พื้น x 20 (ใชขอมูลตารางที่ 4.5)
= 18.00 x 20
= 360.00 กก. ตอบ
ทรายหยาบ = พื้นที่ผิวพื้น x 0.05 (ใชขอมูลตารางที่ 4.5)
= 18.00 x 0.05
= 0.90 ลบ.ม. ตอบ
105

สรุป
งานสถาปตยกรรมเปนงานที่เนนความสวยงาม แสดงถึงศิลปะของแตละยุกตสมัยวัสดุที่นํามาใช
ตกแตงอาคารมีหลากหลายชนิด สถาปนิกเปนผูกําหนดใหเกิดความเหมาะสมทั้งในดานความสวยงาม
ประโยชนใชสอย และดานราคา เพราะมูลคาของงานสถาปตยกรรมมีราคาสูง ผูประมาณราคาในหมวด
งานสถาปตยกรรมจึงตองถอดแบบดวยความรอบคอบ รัดกุม ตองรูชนิดและประเภทของวัสดุตางๆ ได
เปนอยางดี งานสถาปตยกรรมแบงเปนงานหลักๆ คือ งานผนัง งานประตูและหนาตาง งานสี งาน
ตกแตงผิวพื้นและผิวผนัง และงานฝาเพดาน
106

แบบฝกหัด
หนวยที่ 4 การหาปริมาณงานสถาปตยกรรม

คําชี้แจง จากแบบแปลนที่กําหนดให จงหาปริมาณวัสดุงานสถาปตยกรรมตอไปนี้


1. การหาปริมาณงานผนัง
2. การหาปริมาณงานประตูและงานหนาตาง
3. การหาปริมาณงานสี
4. การหาปริมาณงานตกแตงผิวพื้นและงานตกแตงผิวผนัง
5. การหาปริมาณงานฝาเพดาน
107
108
109
110
111
112
หนวยที่ 5
การหาปริมาณงานไฟฟา

หัวขอเรื่อง
ชนิดของหลอดไฟและโคมไฟ
การหาปริมาณงานไฟฟา

สาระสําคัญ
การประมาณราคางานไฟฟา ผูประมาณการตองศึกษารูปแบบรายละเอียดและขอกําหนดทาง
เทคนิคของงานนั้นใหรอบคอบครบถวนจากแบบแปลน และสัญลักษณตางๆของงานไฟฟา การคิดงาน
ไฟฟาคิดเปนชุด

จุดประสงคการเรียนรู  
เมื่อเรียนบทที่ 5 จบแลวผูเรียนสามารถ
1. บอกชนิดของหลอดไฟและดวงไฟได
2. คํานวณหาปริมาณงานไฟฟาได
114

บทนํา
การประมาณราคางานไฟฟาผูประมาณการตองศึกษารูปแบบรายละเอียดและขอกําหนดทาง
เทคนิคจากแบบแปลนการกอสรางนั้นๆใหรอบคอบกอนเนื่องจากบางครั้งการออกแบบอาจขัดแยงกันเอง
จากแบบแปลนจนอาจเกิดปญหาจนทําใหผูรับจางทิ้งงานไปเลยก็ได
ระบบไฟฟา หมายถึง ลักษณะการสงจายกระแสไฟฟ าจากแหลงกํานิดไปยังผูใชไฟฟา ตาม
ประเภทการใชงาน โดยสงจากสถานีไฟฟาผานสายไฟฟาแรงสูง สถานีไฟฟายอย หมอแปลงแปลงไฟฟา
ใหต่ําลง ไปยังบานพักอาศัย สํานักงาน หรือโรงงานอุตสาหกรรม

การเดินสายไฟฟา มี 2 วิธีคือ
ประเภทแรกคือ การเดินสายไฟบนผนังหรือที่เรียกวา เดินลอยวิธีนี้คาใชจายถูกกวาแตจะมองเห็น
สายไฟบนผนังไมคอยเรียบรอย การตกแตงหองลําบากกวาแตสามารถตรวจสอบความเสียหายไดงาย
รวมทั้งการเปลี่ยนสายไฟก็งา ย เพราะมองเห็น
ประเภทที่สองคือ การเดินผานทอซึ่งฝงในผนังอาคารหรือที่เรียกวาเดินรอยสายผานทอวิธีนจี้ ะได
งานที่เรียบรอยเพราะมองไมเห็นจากภายนอก ทอสายไฟจะฝงอยูใ นผนังตองทําพรอมการกอสรางอาคาร
การตกแตงหองจะงายกวาและมีทอปองกันสายไฟไวคาใชจายสูงกวาแบบแรก การติดตั้งก็ยุงยากกวา
รวมถึงการตรวจสอบและการเปลี่ยนภายหลังก็ทําได ลําบากกวาแบบแรก
ระบบไฟฟาภายในบาน ควรแยกวงจรเปนสวนๆไว เชน แยกตามชั้นตางๆ หากเกิดไฟฟา
ขัดของขึ้นที่ชั้นไหนก็สามารถสับคัตเอาท ปดไฟเฉพาะสวนชั้นนั้น เพื่อซอมแซมได และที่สําคัญสวน
หองครัว ควรแยกวงจรไวตางหาก ดวย เวลาไมอยูบานนานๆจะไดปดไฟทั้งหมด เหลือเฉพาะสวนครัวไว
ตูเย็นในครัวจะใชงานได อาหารตางๆ จะไดไมเสีย

ชนิดของหลอดไฟ
หลอดไฟที่ใชกันอยูทวั่ ไปมี 2 ประเภท คือ
1. หลอดอินแคนเดสเซนตหรือหลอดแบบมีไสทํางาน โดยการปลอยกระแสไฟเขาสูข ดลวด
เพื่อใหเกิดความรอนแลวเปลงแสงออกมาหลอดชนิดนี้จะกินไฟมากมีอายุการใชงานประมาณ 750
ชั่วโมง
2. หลอดฟลูออเรสเซนตหรือหลอดนีออนเปนหลอดที่นิยมใชกันมาก ในปจจุบนั เพราะมี
ประสิทธิภาพสูง มีราคาสูง (การทํางานซับซอนกวาจะไดแสงมา) มีอายุการใชงานประมาณ 8,000 ชั่วโมง

ชนิดของโคมไฟ
ชนิดของโคมไฟแบงตามชนิดของการใชงานได ดังนี้
1. โคมสองหองโดยทั่วไป จะเปนโคมที่ติดบนฝาเพดาน หรือผนังก็ได ความสวางจะปานกลาง
115

เพื่อใหเห็นหองโดยทั่ว ไปรวมถึงทางเดินและบันไดดวย
2. โคมสองเฉพาะจุด จะมีความสวางมากกวา จะใชสอง เฉพาะจุดทีจ่ ะเนนความสําคัญ เชน
รูปภาพ ตนไม หรือจุดที่ ตองทํางานเปนพิเศษ เชน มุมอานหนังสือ สวนทํางาน หรือ เตรียมอาหาร
3. โคมสําหรับตั้งพื้น จะมีความสวางนอยที่สดุ จะใชเพื่อ นั่งพักผอน ดูทวี ี ฟงเพลง หองนอน
เพื่อบรรยากาศที่ดี ไม ตองการแสงสวางมารบกวนมากจนเกินไป

งานระบบไฟฟาที่ตองประมาณการประกอบดวย
1. ระบบไฟฟากําลังและแสงสวาง ( Power and Lighting System ) ระบบไฟฟากําลัง (Power )
คือ ระบบที่ใชเปนตัวควบคุมหรือตัวปดกัน้ การจายกระแสไฟฟาไดแก แผงควบคุมไฟฟา ( Center Load )
หรือ MDB , มิเตอรไฟฟาหรือหมอแปลงไฟฟา , ปลั๊กหรือเตารับ , เตารับที่วี และเตารับโทรศัพท เปนตน
อุปกรณดังกลาวมานี้สามารถนับจํานวนหนวยไดจากแบบแปลนไฟฟา
ระบบแสงสวาง ( Lighting ) ไดแก ดวงโคมไฟฟาภายในและรอบนอกอาคาร จากแบบแปลนไฟฟา
จะระบุจุ ดและชนิด ของอุปกรณไวอยางละเอียดทําใหสะดวกตอการนับมากประมาณการจะตองใช
ประสบการณและวิธีการศึกษาจากแบบแปลนอยางละเอียดวาในแบบแปลนนั้นๆระบุไววาจะตองใช
อุปกรณชนิดใดที่สามารถนับไดอีก
2. ระบบตัวนําไฟฟาหรือสายไฟฟา ระบบนี้ที่จริงแลวถาคิดประมาณการอยางละเอียดจริงๆแลว
เปนอุปกรณที่สามารถจะนับได ซึ่งผูประมาณการจะตองเปนคนละเอียดรอบคอบมากหรือใหความสําคัญ
ตอการประมาณการมากโดยการประมาณการจะตองหาเสนทางการเดินสายไฟฟาจากแบบแปลนไฟฟา
ใหไดกอนวาจะเดินทางตรงหรือเลี้ยวไปทางไหนบาง สายไฟฟาที่ใชเปนสายขนาดใดบาง (ตามาตรฐาน
การเดินสายของการไฟฟา ) แลวจึงนํามาเทียบกับมาตราสวนที่กําหนดไวในแบบแปลน เชน 1 : 100 ,
1 : 200 , หรืออื่นๆ เปนตน แบบแปลนไฟฟาบางแบบแสดงการเดินสายไฟฟาไมคอยชัดเจนมากเทาไร ผู
ประมาณการอาจตองใชวิธีประมาณการใชสายไฟฟาแตละชนิดอยางใกลเคียงความจริงแลวเผื่อความยาว
ไวเปนเปอรเซ็นต เชน 10 - 20 เปอรเซ็นต
3. ระบบท อ เดิ น สายไฟฟ า และอุ ป กรณ ข อ ต อ ท อ ท อ เดิ น สายไฟฟ า จะคิ ด ว า เป น ฉนวนหุ ม
สายไฟฟาไวอีกชั้นหนึ่งก็ไดเนื่องจากวิธีการเดินสายไฟฟาในทอจะระบุไวโดยการไฟฟาวาจะตองเดิน
สายไฟฟาในทอ 1 เสนในประมาณสัดสวนที่กี่เปอรเซ็นตตอหนาตัดของทอแตละขนาด (โดยทั่วไปแลว
เพื่อการระบายความรอนภายในทอการไฟฟาจะกําหนดไวประมาณ 60 เปอรเซ็นต ) ผูประมาณการจึง
ควรใชขอมูลดังกลาวนํามาประกอบการคิดประมาณการใชทอวาจะตองใชทอจํานวนเทาใด และใชทอ
ขนาดใดไดบาง การประมาณการระบบทอเดินสายไฟฟาและอุปกรณขอตอทอจึงสามารถใชวิธีนับโดย
เทียบจากมาตราสวนจากแบบแปลนไฟฟา หรือวิธีประมาณแลวเผื่อเปนเปอรเซ็นต ประมาณ 10 – 15
เปอรเซ็นตก็ได ทั้งนี้ก็ตองทราบความสูงของผนังแตละชั้นดวย
116

4. ระบบอุปกรณการเดินสายไฟฟา อุปกรณชนิดนี้ไดแกอุปกรณที่ใชในการเชื่อมตอสายไฟฟา
ขนาดตางๆเขาดวยกันใหถูกตองตามหลักวิชาการและมาตรฐานการเดินสายไฟของการไฟฟา อุปกรณ
ประกอบดวย เทปพันสายไฟ

การหาปริมาณงานไฟฟา
สําหรับการประมาณการถอดแบบงานไฟฟานั้นแยกออกเปน 2 ประเภทคือ ประเภทที่นับได เชน
พวกดวงโคม , สวิตต และเตารับ เปนตน สิ่งเหลานี้สามารถนับไดจากแบบแปลนวาจะตองใชจํานวนเทา
ได สวนอีกประเภทหนึ่งคือที่นับไมได เชน พวกทอรอยสายไฟ , สายไฟ ,เทปพันสายไฟ และ ขอตอทอ
เปนตน ตองใชวิธีประมาณการและเผื่อไปอีกประมาณ 10 - 15 เปอรเซ็นต เพื่อไมใหเกิดการผิดพลาดผู
ประมาณการจะตองหาความรูและศึกษาเกี่ยวกับขอกําหนดหรือขอบังคับของหนวยงานที่เกี่ยวของให
ถูกตองแมนยํา
117

ตัวอยาง1 จากรูปที่ 5.1 จงหาปริมาณงานไฟฟา

รูปที่ 5.1 แสดงแปลนไฟฟา


ที่มา : วิเชียร ปญญาจักร
118

รูปที่ 5.2 แสดงรายการประกอบแบบไฟฟา


ที่มา : วิเชียร ปญญาจักร
119

หาปริมาณงานไฟฟา
วิธีคิด 1. หาปริมาณเตาเสียบคู (โดยการนับจุดทีแ่ สดงในแปลนไฟฟา )
จํานวนเตาเสียบคู = ปริมาณเตาเสียบทั้งหมดที่แสดงในแปลนไฟฟา
= 16 จุด
= 16 ชุด ตอบ

2. หาปริมาณสวิตชฝงเดี่ยว (โดยการนับจุดทีแ่ สดงในแปลนไฟฟา )


จํานวนสวิตชฝงเดีย่ ว = 14 จุด
= 14 ชุด ตอบ

3. หาปริมาณสวิตชสองทาง (โดยการนับจุดที่แสดงในแปลนไฟฟา )
จํานวนสวิตชสองทาง = ปริมาณสวิตชสองทางทั้งหมดที่แสดงในแปลนไฟฟา
= 2 จุด
= 2 ชุด ตอบ

4. หาปริมาณโคมไฟติดฝาเพดาน (โดยการนับจุดทีแ่ สดงในแปลนไฟฟา )


จํานวนโคมไฟติดฝาเพดาน = ปริมาณโคมไฟติดฝาเพดานทั้งหมดที่แสดงใน
แปลนไฟฟา
= 15 จุด
= 15 ชุด ตอบ

5. หาปริมาณโคมไฟกิ่งติดผนังภายนอก (โดยการนับจุดที่แสดงในแปลนไฟฟา )
จํานวนโคมไฟกิ่งติดผนังภายนอก = ปริมาณโคมไฟกิ่งติดผนังทั้งหมดที่แสดงใน
แปลนไฟฟา
= 4 จุด
= 4 ชุด ตอบ

6. หาปริมาณเตาเสียบโทรศัพทแบบฝง (โดยการนับจุดที่แสดงในแปลนไฟฟา )
จํานวนเตาเสียบโทรศัพทแบบฝง = ปริมาณเตาเสียบโทรศัพทแบบฝงทั้งหมดที่แสดง
ในแปลนไฟฟา
= 4 จุด
= 4 ชุด ตอบ
120

7. หาปริมาณแผงควบคุมไฟฟา (โดยการนับจุดที่แสดงในแปลนไฟฟา )
จํานวนแผงควบคุมไฟฟา = ปริมาณแผงควบคุมไฟฟาทั้งหมดที่แสดง
ในแปลนไฟฟา
= 1 จุด
= 1 ชุด ตอบ
121

สรุป
ในการประมาณราคาตองพิจารณาจากแบบไฟฟาแตละชัน้ ทําความเขาใจเกีย่ วกับสัญลักษณของ
แบบ หาชนิดและตําแหนงของอุปกรณไฟฟา ผูประมาณราคาตองศึกษารูปแบบรายละเอียดและ
ขอกําหนดทางเทคนิคของงานนั้นใหรอบคอบครบถวน
122

แบบฝกหัด
หนวยที่ 5 การหาปริมาณงานไฟฟา

คําชี้แจง จงเลือก หนาคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว


จากรูปจงตอบคําถามขอ 2 – ขอ 10
123
124

1. การเดินสายไฟบานพักอาศัยหรืออาคารทั่วไปเปนไปตามขอใด
ก. เดินสายไฟในผนังกออิฐ
ข. เดินสายไฟติดกับฝาผนัง
ค. เดินสายไฟในทอ
ง. เดินสายไฟติดกับผนังและเดินสายไฟในทอ
2. จงหาปริมาณโคมไฟติดฝาเพดาน พรอมหลอดฟลูออเรสเซนต 32 W
ก. 8 ชุด
ข. 12 ชุด
ค. 19 ชุด
ง. 22 ชุด
3. จงหาปริมาณงานไฟฝงฝาเพดาน
ก. 8 ชุด
ข. 10 ชุด
ค. 12 ชุด
ง. 15 ชุด
4. จงหาปริมาณหลอดฟลูออเรสเซนต มีฝาครอบอะคลีลิกรูปตัวยู
ก. 1 ชุด
ข. 2 ชุด
ค. 3 ชุด
ง. 4 ชุด
5. จงหาปริมาณโคมไฟกิ่งติดผนังภายนอก รุน DLWM-1071 พรอมหลอด PLC-E 15 W
ก. 1 ชุด
ข. 2 ชุด
ค. 3 ชุด
ง. 4 ชุด
6. จงหาปริมาณเตาเสียบโทรศัพทแบบฝงพรอมฝาครอบพลาสติก
ก. 1 ชุด
ข. 2 ชุด
ค. 3 ชุด
ง. 4 ชุด
125

7. จงหาปริมาณเตาเสียบคู ติดตั้งสูงจากพืน้ 0.30 เมตร


ก. 8 ชุด
ข. 12 ชุด
ค. 15 ชุด
ง. 18 ชุด
8. จงกาปริมาณแผงควบคุมไฟฟา ยีห่ อ SQUARE-D
ก. 1 ชุด
ข. 2 ชุด
ค. 3 ชุด
ง. 4 ชุด
9. จงหาปริมาณสวิทซฝงเดี่ยว ติดตั้งสูงจากพื้น 1.10 เมตร
ก. 6 ชุด
ข. 9 ชุด
ค. 10 ชุด
ง. 14 ชุด
10. จงหาปริมาณสวิทซสองทาง ติดตั้งสูงจากพื้น 1.10 เมตร
ก. 1 ชุด
ข. 2 ชุด
ค. 3 ชุด
ง. 4 ชุด
หนวยที่ 6
การหาปริมาณงานสุขาภิบาล

หัวขอเรื่อง
งานสุขาภิบาล
การหาปริมาณงานทอ
การหาปริมาณงานสุขภัณฑ

สาระสําคัญ
การประมาณราคางานสุ ข าภิ บ าลนั้ น ตอ งทํ า การศึ ก ษารู ป แบบรายละเอี ย ดจากแบบแปลน
สัญลักษณ และขอกําหนดทางเทคนิคของงานนั้นใหรอบคอบครบถวน การหาปริมาณงานทอคิดงานเปน
เมตร และงานสุขภัณฑคิดเปนชุด

จุดประสงคการเรียนรู  
เมื่อเรียนบทที่ 6 จบแลวผูเรียนสามารถ
1. อธิบายความสําคัญของงานสุขาภิบาลได
2. คํานวณปริมาณงานทอได
3. คํานวณหาปริมาณงานสุขภัณฑได
127

บทนํา
แบบประปา – สุขาภิบาล เปนแบบที่แสดงการตอน้ําประปาเขาตามจุดที่ตองการ เชนภายใน
หองน้ําหองสวม หองครัว บริเวณซักลาง เปนองคประกอบหนึ่งของการกอสรางอาคารหรือที่เรียกอีก
อยางวา “งานระบบสุขาภิบาล” ซึ่งเปนระบบที่ชวยเสริมใหอาคารมีความสมบูรณครบถวน มีความ
สะดวก สบายถูกสุขลักษณะ ผูประมาณราคาจะตองศึกษารายละเอียดทางเทคนิคและขอบังคับตางๆให
รอบคอบ บางครั้งของกําหนดทางเทคนิคและรูปแบบรายละเอียดอาจไมตรงกัน
สําหรับการประมาณราคางานระบบประปา – สุขาภิบาลนั้นถูกแบงออกเปน 2 สวน คือ
1. สวนที่นับได เชน ปมน้ํา ชักโครก อางลางหนา ที่ใสสบู ที่ใสกระดาษชําระ ราวพาดผา
หิ้งกระจก ฯลฯ
2. สวนที่นับไมได สวนนี้จําเปนจะตองใชวิธีวัดปริมาณจากในแบบและบวกเผื่อตามเกณฑ
หรือตามประสบการณของผูประมาณราคา เชนความยาวของทอ ขอตอของอตางๆ ฯลฯ

การหาปริมาณงานสุขภัณฑ
งานเครื่องสุขภัณฑและอุปกรณประกอบหองน้ําหองสวม
เครื่องสุขภัณฑ การคํานวณปริมาณเนื้องานมีหนวยเปนชุด โดยคิดแยกเนื้องานตามสัญลักษณ
และชนิดของเครื่องสุขภัณฑแตละแบบ เชนโถสวมแบบนั่งราบเคลือบสี ที่ปสาวะชายชนิดแขวนผนัง
เคลือบสี อางลางมือชนิดแขวนติดผนังเคลือบสีเปนตน แลวนับจํานวนตามแปลนและรวมกันเปนชุด
อุปกรณประกอบหองน้ําหองสวม การคํานวณปริมาณเนื้องานมีหนวยเปนชุดหรืออันแลวแต
อุปกรณที่จะใชโดยคิดแยกอุปกรณตามรูปแบบและกําหนดรวมกันเปนชุด/อัน เชนชั้นวางของพรอม
กระจกเงาคิดเปนชุด ราวแขวนผาคิดเปนอัน เปนตน

งานระบบสุขาภิบาลประกอบดวย
1. ระบบประปา หรือ “ระบบน้ําดี” หมายถึง ระบบน้ําที่ใชสําหรับสาธารณูปโภคภายในภาย
หรือนอกอาคาร ใชไดทั้งทอเหล็กอาบสังกะสี และทอพีวีซี ขนาดที่ใชขึ้นอยูกับลักษณะหรือประเภทของ
อาคาร เชน บานพักอาศัยชั้นเดียวหรือ 2 ชั้นจะใชทอน้ําดีขนาดเสนผาศูนยกลาง 1/2 นิ้ว ถึง 1 นิ้ว (ทอ
ขนาดเสนผาศูนยกลาง 1” สําหรับเดินระบบทอหลัก และขนาด 1/2 นิ้วสําหรับทอยอยเดินเขาระบบ
สุขภัณฑ )
2. ระบบน้ําทิ้งหรือ “ระบบน้ําเสีย” หมายถึงระบบน้ําที่ผานการใชงานทางดานสาธารณูปโภค
มาแลว เชน น้ําซักลาง น้ําอาบ น้ําลางหนา ฯลฯ ทอที่นิยมใชจะเปนทอพีวีซีขนาดอยางนอย 2 นิ้ว หรือ
ขึ้นอยูกับลักษณะหรือประเภทของอาคาร เชน ถาเปนอาคารที่พักอาศัยธรรมดาชั้นเดียวหรือ 2 ชั้น ก็จะใช
ทอน้ําทิ้งขนาดเสนผาศูนยกลาง 2 นิ้ว ฯลฯ
128

3. ระบบน้ําอุนหรือน้ํารอน หมายถึงระบบที่อํานวยความสะดวกใหแกผูใชอาคาร ซึ่งในแตละ


อาคารจะมีหรือไมมีก็ได ทอที่ใชเปนทอเหล็กอาบสังกะสีหรือทอทองแดงหุมฉนวนก็ได ทั้งนี้ขึ้นอยูกับ
ลักษณะและประเภทของอาคารหรือระบบเครื่องทําความรอน เชน เครื่องทําความรอนระบบใช
แสงอาทิตยใชทอทองแดงหุมฉนวนกันความรอน หรือถาเปนเครื่องทําความรอนแบบใชไฟฟา เล็ก ๆ ก็
สามารถใชทอเหล็กอาบสังกะสีได แตไมแนะนําใหใชทอพีวีซีสําหรับเครื่องทําความรอน เนื่องจาก
ทอพีวีซีเหมาะสําหรับการเดินระบบน้ําดีทั่วไปหรือระบบน้ําอุนเทานั้น
4. ระบบถังบําบัดน้ําเสียหรือบอเกรอะ – บอซึม หมายถึง ระบบกักเก็บหรือกําจัดของเสีย
ภายในแต ล ะอาคาร อาจเป น บ อ คอนกรี ต หรื อ ถั ง บํ า บั ด สํ า เร็ จ รู ป ก็ ไ ด ท อ ที่ ใ ช เ ป น ท อ พี วี ซี ข นาด
เสนผาศูนยกลางอยางนอย 4 นิ้วสําหรับอาคารบานพักอาศัยธรรมดา และขนาด 6 นิ้ว สําหรับอาคารที่มี
ขนาดใหญขึ้น
5. ระบบปองกันเพลิง หมายถึงระบบที่ปองกันไฟไหมเบื้องตน อุปกรณที่ใช สามารถใชไดทั้ง
อุปกรณขนาดเล็ก หรือชนิดที่เปนระบบทอสงน้ํา ถาเปนอาคารที่มีขนาดไมใหญมากเกินไปก็ใชอุปกรณ
ขนาดเล็กหรือชนิดที่สามารถเคลื่อนที่ไดหรือเคมีดับเพลิง แตถาเปนอาคารขนาดใหญกฎหมายจะบังคับ
ใหใชทั้งระบบทอสงน้ําและระบบเคมีดับเพลิงแบบเคลื่อนที่ได สําหรับทอที่ใชในการเดินระบบทอสง
น้ําจะใชทอเหล็กอาบสังกะสี
6. ระบบการติดตั้งปมน้ํา หมายถึงระบบกําลังในการจายน้ําเขาสูตัวอาคารใหมีแรงดันมาก
ยิ่งขึ้นขนาดทอที่ใชขึ้นอยูกับขอกําหนดหรือขนาดกําลังสงขนาดปม อาจเปนทอเหล็กอาบสังกะสีหรือ
ทอพีวีซีก็ได
7. ระบบระบายน้ํา หมายถึงระบบที่รับน้ําจากระบบน้ําจากธรรมชาติ เชน น้ําฝน ระบบน้ําทิ้ง
หรือรับน้ําเสียจากระบบน้ําโสโครก จากตัวอาคารเพื่อถายหรือระบายลงสูรางระบายสาธารณะ ทอที่ใช
จะเปนทอพีวีซีหรือทอคอนกรีตที่มีขนาดไมนอยกวา 20 เซนติเมตร โดยจะถูกกําหนดใหใชบอพักเพื่อ
กักตะกอนเปนชวงๆไป
8. ระบบสุขภัณฑ หมายถึง ระบบการเดินทอสําหรับสุขภัณฑหองน้ําหรือระบบน้ําใช ในหอง
ครัวรวมถึงสุขภัณฑที่ติดตั้งในหองน้ํา เชน ปมน้ํา ชักโครก อางลางหนา ที่ใสสบู ที่ใสกระดาษชําระ
ราวพาดผา หิ้งกระจก ฯลฯ
9. สําหรับทอที่ใชจะเปนทอพีวีซีหรือทอเหล็กอาบสังกะสีก็ได แตสวนมากจะมีขนาด
เสนผาศูนยกลาง 1 / 2 นิ้ว เนื่องจากอุปกรณอํานวยความสะดวกหรือสุขภัณฑมีขนาดเชื่อมตอ 1 / 2 นิ้ว
เปนสวนมาก
129

สําหรับการประมาณราคางานสุขาภิบาลนั้น ผูประมาณราคาจะตองศึ กษาจากแบบแปลนและ


พิจารณาถึงสิ่งตอไปนี้
1. การใชมาตรสวนในแบบแปลนเปนมาตราสวนใด เชน 1 : 100 , 1 : 200 , ฯลฯ
2. เศษที่เหลือจากการประมาณราคาสามารถนําไปใชที่อื่นไดหรือไม ถาใชไมไดจะตองปดเปน
จํานวนเต็มที่มีจําหนายในทองตลาด
3. การเผื่ อ วั ส ดุ ต อ งคํ า นึ ง ถึ ง การหั ก หลบเสา คาน แม แ ต แ นวการเดิ น ท อ ขึ้ น อยู กั บ ความ
เหมาะสมและประสบการของผูประมาณราคา
4. แนวเดินทอทางดิ่งและทอแยกตางๆ อาจตองทําแบบฟอรมกันลืมไวดวย
5. การนับจํานวนทอที่ใช ควรทําเครื่องหมายเผื่อกันลืมไว
6. อุปกรณที่มีราคาแพง หรืออุปกรณที่ตองสั่งเปนพิเศษ ควรตรวจเช็ครายการประกอบแบบให
แนนอนกอนสั่งวัสดุ
7. การเดินระบบสุขาภิบาลภายนอกอาคาร หมายถึง การเดินระบบทอตั้งแตจุดเชื่อมตอระหวาง
ระบบประปาสวนภูมิภาคหรือระบบประปาทองถิ่นจนถึงระบบประปาภายในอาคาร ตลอดจน
ระบบประปาสาธารณูปโภครอบนอกอาคาร
8. คาแรงงาน ขึ้นอยูกับความชํานาญงานของชาง และความยากงายของงาน

นอกจากคาวัสดุและคาใชจายตางๆนี้แลว ยังมีคาใชจายอื่นๆที่ผูประมาณราคาจะตองคิดไวอีกคือ
คาทดสอบ คาบํารุงรักษา คาดําเนินการ หรือแมแตคากําไรและคาภาษี

การหาปริมาณงานทอ
การคิดปริมาณงานทอในแนวนอนและแนวดิ่ง คิดความยาวรวมเปนเมตรของทอแตละชนิดและ
ขนาดของทอตางๆ เพราะแตละงานก็ใชทอตางขนาดกัน ขอตอ ของอตางๆ คิดเปนตัวหรืออัน ตามชนิด
และขนาดของทอ
130

ตัวอยางที่ 1 จากรูปที่ 6.1 จงหาปริมาณงานสุขภัณฑและงานสุขาภิบาล

รูปที่ 6.1 แสดงรายการประกอบแบบ


ที่มา : วิเชียร ปญญาจักร
131

รูปที่ 6.2 แสดงแบบแปลนสุขาภิบาล


ที่มา : วิเชียร ปญญาจักร
132

วิธีคิด 1. หาปริมาณโถชักโครก (โดยการนับจุดที่แสดงในแปลนสุขาภิบาล )


ปริมาณโถชักโครก = ปริมาณชักโครกทั้งหมดที่แสดงในแปลน
สุขาภิบาล
= 1 ชุด
= 1 ชุด ตอบ

2. หาปริมาณอางลางหนา (โดยการนับจุดทีแ่ สดงในแปลนสุขาภิบาล )


ปริมาณอางลางหนา = ปริมาณอางลางหนาทั้งหมดทีแ่ สดงในแปลนสุขาภิบาล
= 1 ชุด
= 1 ชุด ตอบ

3. หาปริมาณกอกน้ํา (โดยการนับจุดทีแ่ สดงในแปลนสุขาภิบาล)


ปริมาณกอกน้ํา = ปริมาณกอกน้ําทั้งหมดที่แสดงในแปลน
สุขาภิบาล
= 1 ชุด
= 1 ชุด ตอบ

4. หาปริมาณตะแกรงระบายน้ําที่พนื้ (โดยการนับจุดทีแ่ สดงในแปลนสุขาภิบาล)


ปริมาณตะแกรงระบายน้ําทีพ่ นื้ = ปริมาณตะแกรงระบายน้ําทั้งหมดที่แสดงใน
แปลนสุขาภิบาล
= 1 ชุด
= 1 ชุด ตอบ

5. หาปริมาณงานทอน้ําประปา (โดยการวัดระยะทีแ่ สดงในแปลนสุขาภิบาล )


ปริมาณงานทอน้ําประปา = ระยะที่วัดไดทั้งหมดที่แสดงในแปลนสุขาภิบาล
= 26.50 ม.
= 26.50 ม. ตอบ
133

6. หาปริมาณงานทอน้ําทิ้ง (โดยการวัดระยะทีแ่ สดงในแปลนสุขาภิบาล )


ปริมาณงานทอน้ําทิ้ง = ระยะที่วัดไดทั้งหมดที่แสดงในแปลน
สุขาภิบาล
= 15.50 ม.
= 15.50 ม. ตอบ

7. หาปริมาณงานทอโสโครก (โดยการวัดระยะที่แสดงในแปลนสุขาภิบาล )
ปริมาณงานทอโสโครก = ระยะทีว่ ัดไดทั้งหมดที่แสดงในแปลนสุขาภิบาล
= 8.50 ม.
= 8.50 ม. ตอบ

8. หาปริมาณมิเตอรประปา (โดยการนับจุดทีแ่ สดงในแปลนสุขาภิบาล)


ปริมาณมิเตอรประปา = ปริมาณมิเตอรประปาทั้งหมดที่แสดงในแปลน
สุขาภิบาล
= 1 ชุด
= 1 ชุด ตอบ

9. หาปริมาณงานบอพักน้ํา (โดยการนับจุดทีแ่ สดงในแปลนสุขาภิบาล )


ปริมาณงานบอพักน้ํา = ปริมาณบอพักน้ําทั้งหมดที่แสดงในแปลน
สุขาภิบาล
= 5 บอ
= 5 บอ ตอบ

10. หาปริมาณงานถังบําบัดน้ําเสีย (โดยการนับจุดที่แสดงในแปลนสุขาภิบาล )


ปริมาณถังบําบัดน้ําเสียสําเร็จรูป = ปริมาณถังบําบัดน้ําเสียทั้งหมดทีแ่ สดงในแปลน
สุขาภิบาล
= 1 บอ
= 1 บอ ตอบ
134

สรุป
งานสุขาภิบาลนั้นมีความสําคัญเปนอยางมากอีกงานหนึ่ง ผูประมาณราคาตองมีความเขาใจใน
งานระบบทอเปนอยางดี เริม่ ตั้งแตการอานแบบระบบทอน้ํา แยกวัสดุทั้งหมดออกมาไมวาจะเปนทอ
ชนิดตางๆ ที่ใชงานและสุขภัณฑแตละอยาง
135

แบบฝกหัด
หนวยที่ 6 การหาปริมาณงานสุขาภิบาล
คําชี้แจง จงเลือก หนาคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว
จากรูปจงตอบคําถามขอ 1 – ขอ 10
136
137
138
139

1. จากแบบทีแ่ สดงจงหาปริมาณโถชักโครก
ก. 1 ชุด
ข. 2 ชุด
ค. 3 ชุด
ง. 4 ชุด
2. จากแบบทีแ่ สดงจงหาปริมาณอางลางหนา
ก. 1 ชุด
ข. 2 ชุด
ค. 3 ชุด
ง. 4 ชุด
3. จากแบบทีแ่ สดงจงหาปริมาณราวแขวนผา
ก. 1 ชุด
ข. 2 ชุด
ค. 3 ชุด
ง. 4 ชุด
4. จากแบบทีแ่ สดงจงหาปริมาณตะแกรงระบายน้าํ ที่พื้น
ก. 1 ชุด
ข. 3 ชุด
ค. 5 ชุด
ง. 6 ชุด
5. จากแบบทีแ่ สดงจงหาปริมาณฝกบัวอาบน้ํา
ก. 1 ชุด
ข. 2 ชุด
ค. 3 ชุด
ง. 4 ชุด
6. จากแบบทีแ่ สดงจงหาปริมาณกระจกเงา
ก. 1 ชุด
ข. 2 ชุด
ค. 3 ชุด
ง. 4 ชุด
140

7. จากแบบทีแ่ สดงจงหาปริมาณที่ใสกระดาษชําระ
ก. 1 ชุด
ข. 2 ชุด
ค. 3 ชุด
ง. 4 ชุด
8. จากแบบทีแ่ สดงจงหาปริมาณทอน้ําทิ้ง ขนาดเสนผาศูนยกลาง 2 นิว้
ก. 2.00 ม.
ข. 3.15 ม.
ค. 4.15 ม.
ง. 5.00 ม.
9. จากแบบทีแ่ สดงจงหาปริมาณทอโสโครก (ทอสวม) ขนาดเสนผาศูนยกลาง 4 นิว้
ก. 1.50 ม.
ข. 2.20 ม.
ค. 3.50 ม.
ง. 4.00 ม.
10. จากแบบที่แสดงจงหาปริมาณทอน้ําดี (ทอประปา) ขนาดเสนผาศูนยกลาง 3/4 นิ้ว
ก. 0.80 ม.
ข. 1.50 ม.
ค. 2.80 ม.
ง. 3.50 ม.
หนวยที่ 7
การทําบัญชีรายการวัสดุ

เรื่อง
สวนประกอบใบรายการวัสดุกอสราง
ประโยชนของการทําบัญชีรายการวัสดุกอสราง
แบบฟอรมที่ใชในการประมาณราคา

สาระสําคัญ
บัญชีวัสดุกอสราง เปนเอกสารแสดงการหาปริมาณวัสดุและแรงงาน รวมทั้งคาใชจายอื่นๆ
ที่ตองใชสําหรับงานกอสราง โดยแยกเปนหมวดตางๆ เพื่อประโยชนในดานการประมาณราคา
ดานการเสนอราคา ดานการกําหนดจํานวนเงินงวดคากอสราง และในดานการกําหนดวงเงินคา
กอสราง

จุดประสงคการเรียนรู
เมื่อเรียนบทที่ 7 จบแลวผูเรียนสามารถ
1. อธิบายสวนประกอบของใบรายการวัสดุกอ สรางได
2. บอกประโยชนของการทําบัญชีรายการวัสดุกอสรางได
3. จําแนกแบบฟอรมที่ใชในการประมาณราคาได
บทนํา
บัญชีรายการวัสดุกอสราง เปนเอกสารที่แสดงการหาปริมาณงานและวัสดุที่ตองใชรวมทั้ง
ที่ตองเผื่อจากการเสียหาย ตามลําดับรายการของงานกอสรางโดยเริ่มตั้งแตงานฐานราก ไปจนถึง
งานสุดทายจนครบถวน อันเกี่ยวกับงานสถาปตยกรรมและงานโครงสราง งานระบบไฟฟา งาน
ระบบสุขาภิบาล งานระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

สวนประกอบของใบรายการวัสดุกอสราง
หัวเรื่องของบัญชีรายการวัสดุกอสรางมักจะประกอบดวย ชื่อหางรานหรือบริษัท ชื่องานที่
ประมาณการ แผนที่ สวนรายละเอียดที่เกี่ยวกับจํานวนวัสดุกอสรางมักทําเปนชองหรือตาราง
ประกอบดวยชองลําดับที่ตามลําดับของรายการงานกอสราง ชองรายการแสดงสวนประกอบของ
งานกอสราง ชองจํานวนวัสดุ ชองหนวยของวัสดุ ชองราคาของวัสดุ ชองราคาของวัสดุตอหนวย
ชองจํานวนเงิน และชองหมายเหตุ
ทั้งนี้เพราะในงานกอสรางอาจใชคอนกรีตเสริมเหล็กหรือไมแปรรูปหลายชนิด ทําใหไมสะดวกใน
การลงรายการในบัญชีวั สดุก อสรางของงานทั่วไป จึง ไดนํามาแยกก อนในบัญชีวัสดุ ของงาน
คอนกรีตเสริมเหล็กหรือของงานประเภทไม โดยแยกตามรูป ขนาด และชนิด แลวจึงนําจํานวน
ของวั ส ดุ ทั้ ง หมดไปลงในบั ญ ชี ร ายการวั ส ดุ ก อ สร า งของงานทั่ ว ไปที ห ลั ง บั ญ ชี วั ส ดุ ข องงาน
คอนกรีตเสริมเหล็กหรือของงานประเภทไม ยังมีประโยชนในการจัดหาวัสดุในขณะดําเนินการ
กอสราง เชนตองสั่งซื้อวัสดุคอนกรีต เหล็กเสริมหรือไม จํานวนและขนาดตางๆที่แสดง

การจัดทําเอกสาร บัญชีวัสดุกอสราง มีประโยชนในดานตางๆ ดังนี้


1. ในดานการประมาณราคา ชวยใหผูประมาณราคาสามารถตรวจสอบรายการตางๆที่
ปรากฏ กับแบบกอสรางและรายละเอียดประกอบการกอสรางไดงาย กันการหลงลืม
2. ในดานการเสนอราคากอสราง ชวยใหเจาของงานสามารถตรวจสอบและเปรียบเทียบ
ราคากลางที่จัดทําขึ้นไดงายวาผูเสนอราคารายใดเสนอราคาสูงหรือต่ําในรายการใดบาง ทําให
ตอรองกันไดซึ่งเกิดความยุติธรรมทั้งสองฝาย หรือในกรณีที่เจาของงานมีเงินไมพอ ก็อาจตองทอน
หรือลดจํานวนงานในบางรายการ เพื่อใหคากอสรางรวมทั้งหมดอยูในงบ หรือแมแตในการตกลง
ราคาในการเปลี่ยนแปลงแกไขเพิ่มลดงานกอสราง ก็จะชวยใหตกลงกันไดโดยงาย
3. ในดานกําหนดจํานวนเงินงวดคากอสราง ชวยใหการพิจารณาแบงขั้นตอนการกําหนด
งวดการจายเงินและจํานวนเงินแตละงวด มีความงายและยุติธรรมทั้งฝายเจาของงานและผูทําการ
กอสราง ซึ่งปกติผูกอสรางสมควรไดรับเงินคากอสรางตามมูลคาของงานที่ไดกอสรางไปแลวแต
เพื่อเปนหลักประกันในการกอสรางที่จะตองดําเนินตอไปอีก เจาของงานอาจหักเงินไวทุกงวด งวด
ละ 10 เปอรเซ็นต
4. ในด า นการกํ า หนดวงเงิ น ค า กอ สร า ง ช ว ยให ผู อ อกแบบใช เ ป น สถิ ติข อ มูล ในการ
ประมาณราคาคากอสรางใหแกเจาของงานกอนตัดสินใจทําโครงการ เพราะจะทําใหทราบวงเงิน
อยางเคราๆ หรือแมแตกําหนดพื้นที่ที่จะทําการกอสรางใหพอกับวงเงินที่เจาของงานมีอยู

บัญชีรายการวัสดุกอสรางมีแบบฟอรมที่ใชในการประมาณราคา(ในประเทศไทย)
อางอิงจาก เอกสารกรมโยธาธิการและผังเมือง
1. แบบฟอรม ปร. 1 ใชประมาณการถอดแบบหาปริมาณงานและวัสดุทวั่ ไป
2. แบบฟอรม ปร. 2 ใชประมาณการถอดแบบงานคอนกรีต ไมแบบ ไมค้ํายันและเหล็กเสริมและ
วัสดุทั่วไป
3. แบบฟอรม ปร. 3 ใชประมาณการถอดแบบงานไม
4. แบบฟอรม ปร. 4 ใชสําหรับรวมปริมาณงานแตละประเภท โดยจะแสดงจํานวนวัสดุและ
คาแรงในการกอสราง ที่ประมาณการไวในแบบฟอรม ปร.1 ปร.2 ปร.3 แลวนํายอดมาลงใน
แบบฟอรมนี้ ปร.4 จึงเปนแบบฟอรมสรุปและรวบรวมผลการประมาณราคาวัสดุและคาแรงใน
งานกอสรางทั้งหมด
5. แบบฟอรม ปร. 5 ใชสรุปราคาคากอสราง
6. แบบฟอรม ปร. 6 ใชสรุปราคาคากอสราง กรณีมีการกอสรางหลายงานหรือใชเปรียบเทียบราคา
แบบ ปร.1 แผนที่........./..........
รายการประมาณการ..........................................................................................................................................................
สถานที่กอสราง..................................................................................................................................................................
แบบเลขที่..........................................................................รายการเลขที่.............................................................................
กอง.........................................................................................กรม.....................................................................................
ประมาณการโดย................................................................เมื่อวันที่.....................เดือน..........................พ.ศ. ...................

จํานวนเงิน
ลําดับที่ รายการ จํานวน หนวย หนวยละ หมายเหตุ
บาท / สตางค
แบบ ปร.2 แผนที่.................../.......................
รายการประมาณการ.................................................................................................................................................................................................................................................................................
แบบเลขที่..............................................................................................................................รายการเลขที่...............................................................................................................................................
กอง.............................................................................................................................................กรม.......................................................................................................................................................
ประมาณการโดย...................................................................................................................เมื่อวันที่.........................................เดือน.....................................................พ.ศ ...............................
คอนกรีต ไมแบบ ไมค้ํายัน เหล็กเสนกลมผิวเรียบ / เมตร เหล็กขอออย / เมตร หมายเหตุ
ลําดับที่ รายการ
ลบ.ม. ตร.ม. ตน 6 มม. 9 มม. 12 มม. 15 มม. 19 มม. 25 มม. 12 มม. 16 มม. 20 มม. 25 มม. 28 มม.
แบบ ปร.3 แผนที่.............../...............
รายการประมาณการ...............................................................................................................................................................
สถานที่กอสราง......................................................................................................................................................................
แบบเลขที่...............................................................................รายการเลขที่...........................................................................
กอง................................................................................................กรม..................................................................................
ประมาณการโดย..........................................................................เมื่อวันที่..............เดือน.............................พ.ศ. .................
ขนาดไม ความยาว ปริมาตร
ลําดับที่ รายการ ชนิดไม จํานวน หมายเหตุ
นิ้ว เมตร ลบ.ฟ.
แบบ ปร.4 แผนที่................../....................
รายการประมาณราคาคากอสราง................................................................................................................................................................................................................................................................
สถานที่กอสราง..............................................................................................................แบบเลขที่.....................................................................รายการเลขที่..................................................................
ฝาย / งาน...................................................................................................สํานักงาน / กอง.......................................................................กรม.........................................................................................
ประมาณการโดย....................................................................................................................................เมื่อวันที่........................................เดือน............................................พ.ศ. ..................................
ราคาวัสดุสิ่งของ คาแรงงาน
ลําดับที่ รายการ จํานวน หนวย คาวัสดุและแรงงาน หมายเหตุ
ราคาตอหนวย จํานวนเงิน ราคาตอหนวย จํานวนเงิน
แบบ ปร.5
สรุปผลการประมาณราคาคากอสราง
สวนราชการ ฝาย / งาน...............................................................สํานัก / กอง.........................................กรม...........................
ประเภท.........................................................................................................................................................................................
เจาของอาคาร................................................................................................................................................................................
สถานที่กอสราง.............................................................................................................................................................................
หนวยงานออกแบบแปลนและรายการ สํานัก / กอง................................................................กรม............................................
แบบเลขที่......................................................................................................................................................................................
ประมาณราคาตามแบบ ปร.4 จํานวน...........................................................................แผน...................................................
ประมาณราคาเมื่อวันที่..................................................................เดือน.............................................พ.ศ. ..................................
ลําดับ
รายการ คาวัสดุและคาแรงงาน Factor F คากอสรางทั้งหมด หมายเหตุ
ที่
รวมเปนเงิน (บาท) รวมเปนเงิน (บาท)
1 ประเภทงานอาคาร
2 ประเภทงานทาง
3 ประเภทงานชลประทาน
4 ประเภทงานสะพานและทอเหลี่ยม
เงื่อนไข
เงินลวงหนาจาย.................................%
เงินประกันผลงานหัก..........................%
ดอกเบี้ยเงินกู.....................................%
ภาษีมูลคาเพิ่ม...................................%
สรุป รวมคากอสรางเปนเงินทั้งสิ้น
คิดเปนเงินประมาณ
ตัวอักษร
ขนาดหรือเนื้อที่อาคาร..................................................ตร.ม.
เฉลี่ยราคาประมาณ.......................................................บาท / ตร.ม.
ประมาณราคาโดย...........................................................
(.....................................................)
ตรวจ ........................................................ หัวหนาฝาย / งาน...............................................
(.....................................................)
เห็นชอบ .......................................................... ผูอํานวยการสํานัก / กอง....................................
(.....................................................)
แบบ ปร.6 แผนที่.............../................
รายการประมาณการคากอสราง....................................................................................................................................
สถานที่กอสราง.............................................................................................................................................................
แบบเลขที่.........................................................................................รายการเลขที่........................................................
สํานัก / กอง.............................................................................................กอง...............................................................
ประมาณการเมื่อวันที่..................................................เดือน.....................................................พ.ศ. ............................

คากอสราง
ลําดับที่ รายการ หมายเหตุ
(บาท)

เห็นชอบ....................................................................ผูอํานวยการสํานักงาน / กอง....................................
(................................................................)
ตรวจ..........................................................................หัวหนาฝาย / งาน.....................................................
(................................................................)
ประมาณการโดย..........................................................
(................................................................)
หมายเหตุ ตารางนี้ สามารถปรับปรุงแกไขไดตามความเหมาะสมและสอดคลองตามขอเท็จจริง
สรุป
บัญชีรายการกอสราง เปนเอกสารแสดงปริมาณวัสดุและแรงงาน รวมทั้งคาใชจายอื่นๆที่ตองใช
สําหรับงานกอสรางนั้น โดยแยกเปนหมวดตางๆ เรียงลําดับรายการที่แสดงไวในบัญชีวัสดุกอสราง
บัญชีรายการวัสดุกอสรางมีแบบฟอรมที่ใชในการประมาณราคาในประเทศไทยมี 6 แบบฟอรม คือ
แบบฟอรม ปร.1 ใชประมาณการถอดแบบหาปริมาณงานและวัสดุทั่วไป แบบฟอรม ปร.2 ใชประมาณ
การถอดแบบงานคอนกรีต ไมแบบ ไมค้ําและเหล็กเสริม แบบฟอรม ปร.3 ใชประมาณการถอดแบบ
งานไม แบบฟอรม ปร.4 ใชสําหรับรวมปริมาณงานแตละประเภท แบบฟอรม ปร.5 ใชสรุปราคาคา
กอสราง แบบฟอรม ปร.6 ใชสรุปราคาคากอสราง กรณีมีการกอสรางหลายงานหรือใชเปรียบเทียบราคา
แบบฝกหัด
หนวยที่ 7 การทําบัญชีรายการวัสดุ

ตอนที่ 1 คําชีแ้ จง จงตอบคําถามตอไปนี้มาพอสังเขป


1. จงบอกประโยชนของการจัดทําบัญชีรายการวัสดุกอสราง
1.1 .................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
1.2 .................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
1.3 .................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
1.4 .................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
2. จงอธิบายสวนประกอบของบัญชีรายการวัสดุกอสราง
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
3. จงอธิบายแบบฟอรมตอไปนี้
3.1 แบบ ปร.1 ใชประมาณการถอดแบบ.......................................................................................
3.2 แบบ ปร.2 ใชประมาณการถอดแบบ.......................................................................................
3.3 แบบ ปร.3 ใชประมาณการถอดแบบ.......................................................................................
3.4 แบบ ปร.4 ใชสําหรับ...............................................................................................................
3.5 แบบ ปร.5 ใชสําหรับ...............................................................................................................
3.6 แบบ ปร.6 ใชสําหรับ...............................................................................................................
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก
ตารางวัสดุมวลรวมของคอนกรีต
ตาราง วัสดุมวลรวมคอนกรีต

วัสดุมวลรวมของคอนกรีตหยาบสวนผสม 1: 3 : 5 ใน 1 ลบ.ม.

วัสดุผสม จํานวน หนวย


1. ปูนซีเมนตปอรตแลนด 260 กก.
2. ทรายหยาบ 0.62 ลบ.ม.
3. หินเบอร 1-2 1.03 ลบ.ม.
4. น้ํา 180 ลิตร

ที่มา : - http://www.gprocurement.th/02_price/index.php

วัสดุมวลรวมของคอนกรีตโครงสรางสวนผสม 1: 2 : 4 ใน 1 ลบ.ม.

วัสดุผสม จํานวน หนวย


1. ปูนซีเมนตปอรตแลนด 342 กก.
2. ทรายหยาบ 0.57 ลบ.ม.
3. หินเบอร 1”-2” 1.09 ลบ.ม.
4. น้ํา 180 ลิตร

ที่มา : - http://www.gprocurement.th/02_price/index.php
ภาคผนวก ข
ตารางวัสดุปูนกอ – ปูนฉาบ
ตาราง ปริมาณปูนกอ

ปริมาณปูนกอ ตอ 1 ลูกบาศกเมตร (เผื่อเสียหายแลว)

สวนผสมโดย ปูนซีเมนตผสม ปูนขาว ทรายหยาบ หมายเหตุ


ปริมาตร (กก.) (ลบ.ม.) (ลบ.ม.)
1:1:3 380 0.31 0.95 -
1:1:4 325 0.27 1.06 -
1:2:8 175 0.29 1.18 -
1:4 320 - 1.05 ใชน้ํายาเคมีแทนปูน ขาว

ตาราง ปริมาณปูนฉาบ

ปริมาณปูนฉาบ ตอ 1 ลูกบาศกเมตร (เผื่อเสียหายแลว)

สวนผสมโดย ปูนซีเมนตผสม ปูนขาว ทราย หมายเหตุ


ปริมาตร (กก.) (ลบ.ม.) (ลบ.ม.)
1:1:5 290 0.25 1.15 ทรายละเอียด
1:1:6 250 0.22 1.21 ทรายละเอียด
1:4 320 ใชน้ํายาเคมีแทน 1.06 ทรายละเอียด
1:6 230 ใชน้ํายาเคมีแทน 1.15 ทรายละเอียด
ภาคผนวก ค
ตารางวัสดุผนังปูนกอ
ตาราง วัสดุผนังปูนกอ

เกณฑการประมาณงานผนังปูนกอ 1 : 1 : 4 หนาไมเกิน 1.5 เซนติเมตร ใน 1 ตารางเมตร


(เผื่อเสียหายแลว)

ผนัง จํานวนอิฐ, แผน ปูนซีเมนตผสม, ปูนขาว ทรายหยาบ


(กก.) (ถุง) ( ลบ.ม.)
อิฐมอญ ครึ่งแผน 138 10 0.54 0.032
อิฐชลบุรีครึ่ง 140 10 0.54 0.032
แผน
อิฐ บปก. ครึ่ง 54 10.4 0.58 0.034
แผน
บลอค 7x19x39 13 4 0.22 0.013
ซม.
บลอค 9x19x39 13 5 0.27 0.016
ซม.
อิฐมอญ เต็มแผน 275 23 1.26 0.075
อิฐกลวง หนา 8 31 5 0.27 0.016
ซม.

ปูนขาว 1 ถุง หนัก 8.25 กิโลกรัม ปริมาตร 0.015 ลูกบาศกเมตร


ภาคผนวก ง
ตารางปริมาณปูนทรายรองพื้น
ตาราง ปริมาณปูนทรายรองพื้น

เกณฑการประมาณวัสดุของปูนทรายรองพื้นตอ 1 ลูกบาศกเมตร (เผื่อเสียหายแลว)

สวนผสมโดยปริมาตร ปูนซีเมนตผสม, (กก.) ทรายหยาบ, ( ลบ.ม.)


1:3 400 0.98
1:4 320 1.05

ปูนทราย สวนผสม 1 : 3 พืน้ ที่ 1 ตารางเมตร (เผื่อเสียหายแลว)

งานปูนทรายรองพื้น ปูนซีเมนตผสม, ทรายหยาบ


(กก.) ( ลบ.ม.)
หนา 2 ซม. ผิวหนัง ผิวพืน้ ซีเมนตขัดมันและขัดหยาบ 8 0.02
หนา 3 ซม. ผิวหนังบุวัสดุแผน ผิวหนังทรายลาง 12 0.03
กรวดลาง
หนา 5 ซม. ผิวพื้นทรายลาง กรวดลาง หินขัด 20 0.05

วัสดุแผนสําเร็จรูปสําหรับปูพื้นหรือบุผนัง ใหหาจํานวนแผนที่ตองใชจริงใน 1 ตารางเมตร แลวเผือ่


เสียหาย 5%
ภาคผนวก จ
ตารางวัสดุของงานฝาเพดาน
ตาราง วัสดุของงานฝาเพดาน

เกณฑการประมาณวัสดุของงานฝาเพดานในเนื้อที่ 1 ตารางเมตร (เผื่อเสียหายแลว)

วัสดุฝาที่ตองใช เคราไม, ไมโยง ตะปู หมายเหตุ


งานฝาเพดาน
ยึด
แผนสําเร็จรูป แผนฝาสําเร็จรูป 0.42 ลบ.ฟุต 0.25 กก. ไมเครา 1 ½ x 3 นิ้ว
(ไมมีไมโยงยึด 1.10 ตารางเมตร @ 0.60 ม. สองทาง
เครา)
แผนสําเร็จรูป แผนฝาสําเร็จรูป 0.64 ลบ.ฟุต 0.30 กก. ไมเครา 1 ½ x 3 นิ้ว
(มีไมโยงยึดเครา) 1.10 ตารางเมตร @ 1.00 ม. ยาว 1
เมตร
ใชไมขนาด ½ นิ้ว ไมฝาเพดาน 0.42 ลบ.ฟุต 0.25 กก. ไมเครา 1 ½ x 3 นิ้ว
(ความกวางตาง ๆ) 0.50 ลบ.ฟุต @ 0.40 ม. ทางเดียว
ภาคผนวก ฉ
ตารางน้ําหนักเหล็กเสนเสริมคอนกรีต
ตาราง น้ําหนักเหล็ก
เหล็กเสนกลมผิวเรียบ (RB)

ขนาดเสนผานศูนยกลาง น้ําหนัก
มิลลิเมตร นิ้ว กิโลกรัม / เมตร
6 1/4 0.222
9 3/8 0.499
12 1/2 0.888
15 5/8 1.390
19 3/4 2.230
22 7/8 2.980
25 1 3.850
28 1 1/8 4.830

เหล็กเสนขอออย (DB)

ขนาดเสนผานศูนยกลาง น้ําหนัก
มิลลิเมตร นิ้ว กิโลกรัม / เมตร
12 1/2 0.888
16 5/8 1.580
19 3/4 2.230
20 3/4 2.470
22 7/8 2.980
25 1 3.850
28 1 1/8 4.830
32 1 1/4 6.310
ภาคผนวก ช
ตารางระยะงอปลายเหล็กเสนเสริมคอนกรีต
ตาราง ระยะงอปลายเหล็กเสนเสริมคอนกรีต

ความยาวของเหล็กสวนที่งอปลาย (เหล็กเสนกลมผิวเรียบ)

ขนาดเสนผาน งอ 45 องศา งอ 90 องศา งอ 180 องศา


ศูนยกลาง (เซนติเมตร) (เซนติเมตร) (เซนติเมตร)
(มิลลิเมตร)
เหล็กเสนกลมผิวเรียบ
6 8 8 10
9 10 12 12
12 12 16 14
15 15 20 15
19 19 26 19
22 22 30 22
25 24 33 25
28 27 37 28
เหล็กเสนขอออย
16 17 22 10
19 20 26 21
20 21 27 22
22 23 30 25
25 26 34 28
28 29 38 31

You might also like