You are on page 1of 25

สถานภาพอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน

1. ภาพรวมการใช้ พลังงานของประเทศจีน

ประเทศจีนเป็ นประเทศผูใ้ ช้พลังงานมากที่สุดเป็ นอันดับ 2 ของโลกรองจากสหรัฐอเมริ กา และเป็ น


ผูน้ าํ เข้าสุ ทธิ น้ าํ มันอันดับ 3 ของโลก ถึงแม้จีนจะมีน้ าํ มันสํารองภายในประเทศอยูม่ ากก็ตาม นอกจากนี้ จีน
ยังเป็ นประเทศผูผ้ ลิตและใช้ถ่านหิ นมากที่สุดในโลก โดยผลิตได้มากกว่าการใช้ จึงเป็ นผูส้ ่ งออกถ่านหิ นราย
ใหญ่ ในขณะเดียวกัน จีนก็มีอตั ราการปล่อยก๊าซเรื อนกระจกสู งเป็ นอันดับ 2 ของโลกด้วยเช่นกัน
สําหรับพลังงานนิวเคลียร์ พบว่า ประเทศจีนมีโรงไฟฟ้ านิ วเคลียร์ 11 โรง ผลิตไฟฟ้ าคิดเป็ นร้อยละ
2 ของไฟฟ้ าทั้งหมดในประเทศ อยูเ่ ป็ นอันดับ 3 ในภูมิภาคเอเชีย รองจากประเทศญี่ปุ่นและประเทศเกาหลีใต้
ในปั จจุบนั ประเทศจีนกําลังก่อสร้ างโรงไฟฟ้ านิ วเคลี ยร์ อีก 6 โรง และเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม ปี 2008
ประเทศจีนได้ลงนามกับบริ ษทั Westinghouse Electric เพื่อสร้างเครื่ องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 4 เครื่ องในภาค
ตะวันออกของจีน โดยคาดว่าจะเริ่ มสร้างในปี 2009 ผลิตไฟฟ้ าได้ในปี 2013-2014 1
เมื่อปี 2007 ที่ผา่ นมา ภาคอุตสาหกรรมพลังงานของประเทศจีน ถือเป็ นภาคที่มีการใช้พลังงานมาก
ที่สุด คิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 72 ของปริ มาณการใช้พลังงานทั้งหมดของประเทศ มีปริ มาณการใช้พลังงานถึง
1.9 ล้านตันต่อนํ้ามันดิบเทียบเท่า (tonne of oil equivalent : toe)2 รองลงมาได้แก่ ที่พกั อาศัย มีปริ มาณการใช้
พลัง งาน 268 พันล้า น toe. หรื อ คิ ด เป็ นร้ อ ยละ 10 ของปริ ม าณการใช้พ ลัง งานทั้ง หมด ส่ ว นในภาค
เกษตรกรรม ป่ าไม้ ปศุสัตว์ ประมง และการชลประทาน มีปริ มาณการใช้พลังงาน เพียง 82 ล้าน toe. หรื อ
คิดเป็ นร้อยละ 3 ของปริ มาณการใช้พลังงานทั้งหมดของประเทศเท่านั้น3 (รู ปที่ 1)

1
กระทรวงการต่างประเทศ , www.mfa.go.th/internet/document/2136.doc
2
http://www.worldenergy.org/publications/survey_of_energy_resources_2007/625.asp
3
Renewable Energy and Energy Efficiency in China:Current Status and Prospects for 2020, October 2010.

1
รู ปที่ 1 ปริมาณความต้ องการพลังงานของเศรษฐกิจในต่ างๆ ของปี 2007

ที่มา : Renewable Energy and Energy Efficiency in China: Current Status


and Prospects for 2020, October 2010.

การพัฒ นาและปรั บ ปรุ งการใช้ พ ลั ง งานให้ เ กิ ด ประสิ ทธิ ภาพในกระบวนการผลิ ต ของ


ภาคอุตสาหกรรมหลักของจีน ในปั จจุบนั ปี 2010 พบว่า ปริ มาณการใช้พลังงานต่อหน่วยของกระบวนการ
ผลิตในอุตสาหกรรม มีการนําวัตถุหลักสําคัญต่อการผลิตพลังงาน อย่างเช่น แอมโมเนี ย เหล็ก ซี เมนต์ และ
อลูมิเนียม มาใช้เพิ่มขึ้นมาอยูใ่ นระดับที่ใกล้เคียงกับมาตรฐานของโลก ที่ถูกกําหนดไว้ต้ งั แต่ในช่วงทศวรรษ
ที่ 1990s และยังมีแนวโน้มที่จะปรับตัวมาอยู่ในระดับที่ใกล้เคียงกับเป้ าหมายที่ได้กาํ หนดไว้ในปี 2020 อีก
ด้วย อย่างไรก็ดี กลุ่มธุ รกิจขนาดเล็กและขนาดกลางก็มีปริ มาณการใช้พลังงานมากขึ้นในระดับที่ได้มีการ
กําหนดไว้เมื่อต้นปี 2000 ที่ผา่ นมาด้วยเช่นกัน4 (ตารางที่ 1)

4
Renewable Energy and Energy Efficiency in China:Current Status and Prospects for 2020 , อ้างแล้ว

2
ตารางที่ 1 เป้าหมาย ของปริ มาณการใช้ พลังงาน ต่ อหน่ วย จากวัถุดิบหลักสาคัญในกระบวนการผลิต
พลังงาน ในปี 2000 โดยมีเป้าหมายเพือ่ ปี 2010 และ 2020

ที่มา : Renewable Energy and Energy Efficiency in China: Current Status and Prospects for 2020,
October , 2010.

นอกจากนี้ จากรายงานการใช้พลังงานของจีน (China Power Report) ของไตรมาสที่ 2 ปี 2011 ได้


ระบุถึงการคาดการณ์จาก Business Monitor International (BMI) พบว่า ในปี 2015 ประเทศจีน สามารถผลิต
พลังงาน ได้มากถึงร้อยละ 54.38 ของภูมิภาคเอเชียแปซิ ฟิค ซึ่ งอาจจะทําให้เกิดภาวะขาดแคลนในทางทฤษฎี
อุปทาน ถ้าหากการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานยังไม่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว ก็อาจจะก่อให้เกิดความเสี ยหายได้
รวมทั้งข้อมูลสถิ ติของ BMI ยังได้ระบุ ว่า ความสามรถในการผลิ ตพลังงานของภูมิภาคเอเชี ยแป
ซิ ฟิค ในปี 2010 มีปริ มาณเท่ากับ 7,761 terawatt hours (TWh) ซึ่ งเพิ่มขึ้น ร้อยละ 5.1 เมื่อเทียบกับปี ที่แล้ว
และได้มีการคาดการณ์วา่ ภูมิภาคเอเชียแปซิ ฟิกจะสามารถผลิตพลังงานได้ในปริ มาณ 9,901 TWh ในปี 2015
ซึ่ งในช่วงระหว่างปี 2011-2015 สัดส่ วนของปริ มาณการพลังงานจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 21.2 โดยประมาณ
ในปี 2010 ภูมิภาคเอเชียแปซิ ฟิคสามารถผลิตพลังงานจากความร้อนได้ รวมทั้งหมดประมาณ 6,178
TWh คิดเป็ นร้อยละ 79.7 ของปริ มาณการผลิตกระแสไฟฟ้ าในภูมิภาค ซึ่ ง BMI ได้มีการพยากรณ์ วา่ ในปี

3
2015 ภูมิภาคนี้ จะสามารถผลิ ตพลังงานได้ 7,704 TWh หรื อ สามารถผลิ ตได้เพิ่มในอัตราร้ อยละ 18.6
อย่างไรก็ตาม ส่ วนแบ่งทางการตลาดของการผลิตพลังความร้อนอาจจะมีแนวโน้มลดลงมาอยูท่ ี่ร้อยละ 77.8
ทั้งนี้เป็ นผลมาจากการสนับสนุนและส่ งเสริ มให้มีการใช้พลังงานทดแทนประเภทอื่นๆมากขึ้น อาทิเช่น การ
ผลิตกระแสไฟฟ้ าพลังงานนํ้า และ การผลิตกระแสไฟฟ้ าจากพลังงานนิ วเคลียร์ เป็ นต้น นอกจากนี้ ยงั ได้มี
การคาดการณ์วา่ การผลิตพลังงานจากความร้อนของจีนในปี 2015 จะสามารถผลิตได้เพิ่มมากขึ้นถึงร้อยละ
56 ซึ่ งในปั จจุบนั ปี 2010 ประเทศสามารถผลิตพลังงานจากความร้อนได้ประมาณ 3,240 TWh หรื อราวๆ
ร้อยละ 52 ของปริ มาณการผลิตพลังงานในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิค
ทรัพยากรธรรมชาติจากถ่ านหิ นนั้นถื อว่า เป็ นวัตถุ ดิบหลักที่สําคัญต่อการใช้เป็ นเชื้ อเพลิ งในการ
ผลิ ตพลังงานให้กบั ประเทศจีน ซึ่ งในปี 2010 มีปริ มาณความต้องการในการนําไปผลิตพลังงานถึงร้อยละ
79.7 ของปริ มาณความต้องการใช้ในการผลิตพลังงานหลักทั้งหมด (Primary Energy Demand: PED) ส่ วน
ทรั พยากรธรรมชาติ หลัก ที่ ใช้ในการผลิ ตพลังงานอันดับ รองลงมาคื อ นํ้ามัน ถู กใช้ในกระบวนการผลิ ต
พลังงานคิ ดเป็ นร้ อยละ 19.2 ตามมาด้วย พลังงานนํ้า มี สัดส่ วนใช้ไปในการผลิ ตเท่ากับ ร้ อยละ 6.2 ก๊า ซ
ธรรมชาติ มีสัดส่ วนร้อยละ 3.8 และพลังงานนิวเคลียร์ มีสัดส่ วนร้อยละ 0.7 เมื่อเทียบกับตลาดเชื้ อเพลิงหลัก
ที่ใช้ในการผลิตพลังงานทั้งหมด ตามลําดับ
ในปี 2015 มีการคาดการณ์วา่ ความต้องการพลังงานในภูมิภาคจะเพิ่มสู งขึ้นมากถึง 5,508 mn toe มี
อัตราเพิ่ม ขึ้ นคิ ดเป็ นร้ อยละ 20 เมื่ อเที ยบกับ ความต้องการพลังงานในภูมิภาคของปี 2011 โดยประมาณ
สําหรับประเทศจีน ในปี 2010 มีส่วนแบ่งตลาดพลังงานอยูท่ ี่ ร้อยละ 53.29 และยังได้คาดการณ์วา่ จะมีส่วน
แบ่งตลาดเพิ่มมากขึ้ นในปี 2015 เป็ นสัดส่ วนร้ อยละ 55.89 นอกจากนี้ จี นได้ประมาณการปริ มาณความ
ต้องการใช้พ ลัง งานนิ วเคลี ย ร์ ใ นปี 2010 ไว้ที่ 75 TWh และคาดว่าในปี 2015 ความต้องการใช้พลังงาน
นิ วเคลียร์ ของจีนจะเพิ่มมากขึ้นเป็ น 170 TWh สอดคล้องกับ ตลาดของพลังงานนิ วเคลียร์ ในภูมิภาคที่จะมี
การขยายตัวจากอัตราร้อยละ 13.81 ในปี 2010 เป็ น ร้อยละ 21.74 ในปี 2015 ด้วยเช่นกัน
การจัดลําดับของ BMI ต่อสภาพแวดล้อมของธุ รกิ จทางด้านพลังงาน ได้ระบุให้ประเทศจีน เป็ น
ประเทศผูผ้ ลิตพลังงานที่ใหญ่ที่สุดอันดับที่ 3 รองจากประเทศออสเตรเลีย และประเทศญี่ปุ่นตามลําดับ ทั้งนี้
ก็เพราะว่า ประเทศจี นนั้น มี ความได้เปรี ยบทางด้านตลาดผูบ้ ริ โภคที่มีขนาดใหญ่ และมี แนวโน้มในการ
เจริ ญเติบโตไปในทิศทางเพิม่ มากขึ้น

4
นอกจากนี้ BMI ยังได้พยากรณ์ถึงอัตราการเจริ ญเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (Gross
Domestic Product : GDP)5 ที่แท้จริ งของประเทศจีนจะอยูท่ ี่ประมาณ ร้อยละ 7.6 ต่อปี ในช่วงเวลาระหว่างปี
2011 – 2015 โดยในปี 2011 นั้น อัตราการเจริ ญเติบโตของ GDP ประเทศจีนเพิ่มขึ้นมาอยูท่ ี่ ร้อยละ 8.3 ใน
ขณะเดียวกัน จํานวนประชากรของประเทศจีนก็มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากจํานวน 1.34 พันล้านคน มาเป็ น 1.38
พันล้านคน เช่ นเดี ยวกัน ยิ่งกว่านั้น ในช่วงระหว่างปี 2011-2015 ได้มีการคาดการณ์ ว่า สัดส่ วนของ GDP
เที ย บกับ จํา นวนประชากร 1 คน จะเพิ่ ม ขึ้ น เป็ นร้ อ ยละ 61 สอดคล้องกับ ปริ ม าณการใช้พ ลัง งานของ
ประชากรจีน 1 คน ก็จะเพิ่มขึ้นประมาณ ร้ อยละ 27 ด้วยเช่ นกัน รวมทั้งยังได้คาดการณ์ ถึงปริ มาณการใช้
พลังงานของประเทศจี น จากที่ได้ประมาณการไว้เท่ากับ 3,284 TWh ในปี 2010 ว่ามีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น
เป็ น 4,510 TWh ในปี 2015
อย่างไรก็ดี หากอุ ตสาหกรรมทางด้านพลังงานของประเทศจีนและระบบการบริ หารจัดการด้าน
พลังงานยังไม่มีประสิ ทธิ ภาพที่ดีเพียงพอ ในปี 2015 อาจจะทําให้การผลิตพลังงานลดลงประมาณ 23 TWh
หรื อ อัตราการขยายตัวปรับตัวลดลง คิดเป็ นร้อยละ 6.6 ต่อปี ในช่วงระหว่างปี 2011-2015 เช่นเดียวกัน
สถานการณ์ของการผลิตกระแสไฟฟ้ าของจีน ในช่วงระหว่างปี 2011 – 2020 มีการคาดการณ์วา่ จะ
ปรับตัวเพิ่มมากขึ้นถึงร้อยละ 64.7 ซึ่ งนัน่ จะทําให้ประเทศจีนกลายเป็ นประเทศผูผ้ ลิตกระแสไฟฟ้ ามากที่สุด
ประเทศหนึ่ง ในภูมิภาคเอเชี ยแปซิ ฟิค โดยมีอตั ราการเจริ ญเติบโตถึงร้อ ยละ 30.4 ในช่วงระหว่างปี 2015-
2020 ซึ่ งเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 26.2 ในช่วงระหว่างปี 2011-2015 นอกจากนี้ อัตราการขยายตัวของ PED ที่มี
การคาดการณ์ไว้ที่ ร้อยละ 23.9 ในช่วงระหว่างปี 2011-2015 จะมีการปรับตัวไปในทิศทางที่เพิ่มมากขึ้นมา
อยูท่ ี่ ร้ อยละ 26.8 ส่ งผลทําให้อตั ราการขยายตัวของปริ มาณการผลิตกระแสไฟฟ้ าของประเทศจีนเพิ่มขึ้น
เช่นเดียวกัน โดยปรับตัวขึ้นมาอยูท่ ี่ร้อยละ 57 ในช่วงระหว่างปี 2015-2020
นอกจากนี้ ข้อสังเกตประการหนึ่ งก็คือ ในช่ วงระหว่างปี 2011-2020 มีการพยากรณ์ ว่า อัตราการ
ขยายตัวของปริ มาณการผลิ ตพลังงานนํ้า มีทิศทางที่เพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 59 เช่ นเดี ยวกับการผลิ ตพลังงานจาก
ความร้ อนก็ มี แนวโน้ม เพิ่ ม มากขึ้ นร้ อยละ 62 ในช่ วงเวลาเดี ย วกัน และยังมี ก ารคาดการณ์ ว่า พลัง งาน
นิวเคลียร์ จะถูกนําไปใช้เพิ่มขึ้นมากถึงร้อยละ 222 ในปี 20206
ภาครัฐบาลของประเทศจีนได้มีการพยากรณ์ตวั เลขความต้องการกระแสไฟฟ้ า ในช่วงเวลาระหว่าง
ปี 2011-2015 เพิ่มมากขึ้นในอัตราร้ อยละ 5.8 ต่อปี แต่การคาดการณ์ ของภาครัฐในระหว่างปี 2016-2020

5
http://www.investopedia.com/terms/g/gdp.asp
6
CHINA POWER REPORT Q2 2011 INCLUDES 5- AND 10-YEAR FORECASTS TO 2015 AND 2020 , Business Monitor International (BMI) , March 2011.

5
พบว่า ตัวเลขอัตราความต้องการกระแสไฟฟ้ ากลับมีแนวโน้มปรับตัวลดลงมาอยูท่ ี่ ร้ อยละ 3.9 ต่อปี เท่านั้น
อย่างไรก็ตาม คณะกรรมาธิ การด้านไฟฟ้ าของจีน (the China Electricity Council : CEC) ได้นาํ เสนอรายงาน
เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ ปี 2011 ถึงข้อมูลการคาดการณ์ของปริ มาณการใช้ไฟฟ้ าว่าจะอยูท่ ี่อตั ราร้อยละ 12 ในปี
2011 ซึ่ งค่อนข้างสู งกว่า ข้อมูลการพยากรณ์จาก BMI (ตารางที่ 2 )
ตารางที่ 2 ความสาคัญของภาคพลังงานต่ อระบบเศรษฐกิจของประเทศจีน ปี 2008 - 2015

ที่มา : CHINA POWER REPORT Q2 2011 INCLUDES 5- AND 10-YEAR FORECASTS TO 2015
AND 2020, Business Monitor International (BMI) , March 2011.

6
2. การวิเคราะห์ สถานะการณ์ ในแผนการของอุตสาหกรรมด้ านพลังงานในประเทศจีน

2.1 การผลิตกระแสไฟฟ้า (Generation)


ประเทศจีนมีแผนการที่จะเพิ่มปริ มาณการผลิตกระแสไฟฟ้ าในปี 2011 มาอยูท่ ี่อตั ราร้ อยละ 8 และ
เพิ่มอัตราการผลิตกระไฟฟ้ าจากพลังงานนํ้าเป็ นร้อยละ 6.1 รวมทั้งอัตราการผลิตกระแสไฟฟ้ าจากพลังงาน
นิ วเคลียร์ ก็มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นมาอยูท่ ี่ร้อยละ 13.3 ด้วยเช่นเดียวกัน ยิ่งกว่านั้น ประเทศจีนยังได้นาํ เสนอ ร่ าง
แผนพัฒนาเศรษฐกิ จและสังคมแห่ งชาติ ปี 2011 ต่อหน่ วยงาน National Development and Reform
Commission (NDRC)แห่ งประเทศ โดยมีการกล่าวถึง ประเด็นเรื่ องความสามารถในการผลิตกระแสไฟฟ้ า
จากพลังงานลม ที่คาดการณ์วา่ จะมีทิศทางเพิ่มมากขึ้นถึงร้อยละ 45 ในปี 2011 และในระหว่างปี 2010อัตรา
การผลิ ตกระแสฟ้ าจากพลังงานลมมี การขยายตัวร้ อยละ 10.5 ต่อปี อย่างไรก็ดี ก็คาดว่า ปริ มาณการผลิ ต
กระแสไฟฟ้ าด้วยพลังงานลมนั้น จะมีการขยายตัวลดลงอีกร้อยละ 6.7 ต่อปี ของช่วงเวลา ปี 2011-2015 และ
อัตราการขยายตัว จะลดลงอีก ในช่วงเวลาของปี 2016-2020

2.2 การผลิตพลังงานโดยใช้ ก๊าซธรรมชาติ (Gas – Fired)


ประเทจีนมีความต้องการใช้ก๊าซธรรมชาติ เพิ่มขึ้นประมาณ 98 billion cubic meters (bcm)7 ใน
2010 และได้มีการคาดการณ์วา่ ปริ มาณการใช้ในปี 2015 จะเพิ่มขึ้นอีกเป็ น 140 bcm สําหรับสัดส่ วนของการ
ใช้ก๊าซธรรมชาติในการผลิ ตกระแสไฟฟ้ านั้นก็มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นถึ งร้ อยละ13 ในปี 2015 นอกจากนี้ ทาง
BMI ได้ทาํ การพยากรณ์ถึงความต้องการใช้ก๊าซธรรมชาติ เป็ นเชื้ อเพลิง เพื่อการผลิตกระแสไฟฟ้ าจะมีอตั รา
การขยายตัวแบบก้าวกระโดดจากร้อยละ 8.5 bcm ในปี 2010 หรื อคิดเป็ นปริ มาณการใช้ จาก 37 TWh มา
เป็ น 82 TWh ซึ่ งเพิ่มขึ้น ร้อยละ 1.6 ของปริ มาณการผลิตพลังงานทั้งหมด ในช่วงเวลาเดียวกัน
นอกจากนี้ ประเทศจีน ยังพบแหล่งผลิตก๊าซธรรมชาติแห่งใหม่ อาทิเช่น แหล่ง Huizhou มีกาํ ลังการ
ผลิต 2.0 GW ซึ่ งแหล่งนี้อยูใ่ กล้กบั แหล่ง Shenzhen และแหล่งผลิตก๊าซธรรมชาติประเภท Liquefied natural
gas (LNG) แห่ งใหม่ คือ แหล่ง Guangdong ที่สามารถผลิตได้ประมาณ 560,000 ตันต่อปี (tonnes per
annum: tpa)

7
http://www.natgas.info/html/glossary.html

7
2.3 การผลิตพลังงานโดยใช้ นา้ มัน (Oil - Fired)
ทรัพยากรธรรมชาติประเภทนํ้ามัน อาจจะมีความสําคัญต่ออุตสาหกรรมทางด้านพลังงานของจีนที่มี
หลากหลายรู ป แบบไม่ ม ากนัก รวมทั้ง ส่ ว นแบ่ ง การตลาดของนํ้า มัน ก็ ย งั ไม่ มี ค วามผันผวนหรื อมี ก าร
เปลี่ ยนแปลงอยูต่ ลอดเวลาเหมือนกับทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสําคัญต่อการผลิตพลังงานประเภทอื่นๆ
โดยข้อมูลทางสถิติในปั จจุบนั มีประมาณร้อยละ 0.5 และมีการคาดการณ์ว่าจะปรับตัวลดลงเหลือเพียงร้อย
ละ 0.3 หรื อมีปริ มาณการผลิตพลังงานประมาณ 16 TWh เท่านั้นในปี 2015 ในขณะที่อุตสาหกรรมพลังงาน
ที่ใช้พลังงานนํ้า และพลังงานจากนิวเคลียร์ กลับมีแนวโน้มการขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างมาก

2.4 การผลิตพลังงานโดยใช้ ถ่านหิน (Coal – Fired)


การผลิตพลังงานจากถ่านหิ น จากข้อมูลของ BMI ในปี 2010 พบว่า มีสัดส่ วนร้ อยละ 79.8 ของ
ปริ มาณการผลิ ตพลังงานทั้งหมดของประเทศจีน แต่อย่างไรก็ตาม คาดว่าในปี 2015 สัดส่ วนการผลิ ตจะ
ลดลงมาอยูท่ ี่ ร้อยละ 78.1 โดยมีปริ มาณการเผาถ่านหิ นราวๆ 4,204 TWh แต่ในทางกลับกัน การพยากรณ์
การใช้ถ่านหิ นของประเทศจีน กลับมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจาก 1,637 mn toe มาเป็ น 2,163 mn toe ในปี 2015
สอดคล้องกับปริ มาณที่เพิ่มขึ้นประมาณ 3,244 mn ของถ่านหิ นแอนทราไซด์ (Hard coal) ยิ่งกว่านั้น ประเทศ
จีนมีปริ มาณถ่ านหิ นสํารองมากที่ สุดประเทศหนึ่ ง จึงทําให้การพัฒนาและการลงทุ นมี ตน้ ทุ นถู กกว่าก๊าซ
ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติประเภทอื่นๆ
แผนงานด้า นพลัง งาน 5 ปี ฉบับ ที่ 12 ตั้ง แต่ ปี 2011- 2015 ของประเทศจี น ได้ต้ งั เป้ าหมายให้
สัดส่ วนการใช้ก๊าซธรรมชาติ มากขึ้ น และใช้เทคโนโลยีการผลิ ตพลังงานสะอาดมากขึ้ น รวมทั้งการปิ ด
โรงงานเผาถ่านหิ นขนาดเล็กที่ มีอยู่จาํ นวนมากในประเทศจี นลงอี กด้วย ทั้งนี้ เพราะรั ฐบาลจี น มองว่าจะ
สามารถลดพลังงานที่ไม่ได้ใช้ให้เกิ ดประโยชน์ และยังสามารถลดมลพิษที่เกิ ดจากการเผาถ่านหิ นในการ
ผลิตพลังงานของปี 2010 ประมาณ 10 GW ทําให้ที่ผา่ นมาตั้งแต่ปี 2006 - 2010 สามารถลดปริ มาณลงได้
ประมาณ 70 GW และยังได้คาดการณ์วา่ ในปี 2011 จะสามารถลดปริ มาณลงได้อีกประมาณ 8 GW

2.5 พลังงานนิวเคลียร์ (Nuclear Energy)


ประเทศจีนได้พยายามที่จะพัฒนาโครงการผลิตพลังงานนิ วเคลียร์ ใหม่เพิ่มขึ้น เป็ น 28 โครงการ แต่
ก็จะทําให้เกิ ดอุ ปทานส่ วนเกิ น ประมาณ 10 GW ในปี 2020 เช่ นเดี ยวกัน อย่างไรก็ดี รัฐบาลจี นก็ยงั คง
สนับสนุนการใช้พลังงานนิวเคลียร์ ในกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้ าอย่างสะอาดและมีประสิ ทธิ ภาพ ทั้งนี้
จากแผนการด้านพลังงานแห่ งชาติของจีน ได้ระบุวา่ จะเพิ่มการผลิตพลังงานจากพลังงานนิ วเคลียร์ เป็ น 40
GW และสร้างโรงงานเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เพิ่มขึ้นประมาณ 30-35 เตา ภายในปี 2020
8
2.6 การผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานนา้ (Hydro – Electric)
ข้อมูลสถิติของ BMI ซึ่ งคาดการณ์วา่ ในปี 2015 ประเทศจะสามารถผลิตกระแสไฟฟ้ าจากพลังงาน
นํ้าได้ประมาณ 825 TWh ซึ่ งมีสัดส่ วนร้อยละ 15.3 ของปริ มาณการผลิตพลังงานทั้งหมด (ตารางที่ 3)
ตารางที่ 3 พลังงานความร้ อนของประเทศจีน ในช่ วงเวลา ตั้งแต่ ปี 2008 – 2015

ที่มา : CHINA POWER REPORT Q2 2011 INCLUDES 5- AND 10-YEAR FORECASTS TO 2015
AND 2020, Business Monitor International (BMI) , March 2011.
9
3. พลังงานทดแทน (Renewable Energy)

นับตั้งแต่ปี 2005 จีนปล่อยก๊าซเรื อนกระจกสู งเป็ นอันดับหนึ่ งของโลกประมาณ 7,219 ล้านตัน


คาร์ บ อนไดออกไซด์เ ที ย บเท่ า ซึ่ งมี ป ริ ม าณมากกว่า ประเทศสหรั ฐอเมริ ก า ที่ มี ป ริ ม าณ 6,963 ล้า นตัน
คาร์ บอนไดออกไซด์เทียบเท่า ส่ งผลทําให้ประเทศจีนได้รับแรงกดดันอย่างหนักจากประชาคมโลกและจาก
กลุ่ มประเทศอุ ตสาหกรรม โดยเฉพาะจากสหรั ฐอเมริ กา ที่ ต้องการให้จีนมี ส่ วนร่ วมในการแสดงความ
รับผิดชอบ ด้วยการลดปริ มาณการปล่อยก๊าซเรื อนกระจก
มาตรการการกดดันของสหรัฐอเมริ กาคือ การที่วุฒิสภาของสหรัฐฯได้มีมติดว้ ยเสี ยงเอกฉันท์ต้ งั แต่
ปี 1997 ว่า ไม่ให้รัฐบาลสหรัฐฯลงนามในความตกลงระหว่างประเทศด้านโลกร้อนใดๆ หากความตกลงนั้น
ไม่มีขอ้ บังคับในการลดปริ มาณก๊าซเรื อนกระจกสําหรั บประเทศกําลังพัฒนาที่มีความก้าวหน้าอย่างเช่ น
ประเทศจีน และประเทศอินเดีย เป็ นต้น
ในความเป็ นจริ งแล้ว ประเทศจีนก็มีนโยบายตอบสนองต่อแรงกดดันจากนานาประเทศเรื่ อยมาโดย
ตลอดอย่า งเช่ น รั ฐบาลกลางจี นได้มีการยกระดับ ความรั บผิดชอบงานด้านปั ญหาโลกร้ อนจากในระดับ
กระทรวงมาสู่ "คณะกรรมาธิ ก ารปฏิ รูป และพัฒนาแห่ ง ชาติ " (National Development and Reform
Commission) ซึ่งสะท้อนถึง การที่จีนเห็นความสําคัญมากขึ้นในปั ญหาเรื่ องโลกร้อนและยังเป็ นการแสดงให้
เห็นประเทศต่างๆทัว่ โลกได้เล็งเห็ นว่า จีนไม่ได้มองปั ญหาเรื่ องโลกร้อน เป็ นเพียงปั ญหาในแง่ทางเทคนิ ค
หรื อในทางวิท ยาศาสตร์ เพี ย งอย่า งเดี ยวอี ก ต่ อไป ทั้ง นี้ ใ นอี ก แง่ มุ ม หนึ่ งก็ อาจจะมี ค วามเกี่ ย วโยงกับ นัย
ทางด้านเศรษฐกิจและการเมืองระหว่างประเทศด้วย
เมื่อปลายปี 2005 ที่ผา่ น ประเทศจีนได้มีการประกาศ การใช้พลังงานทดแทนโดยให้ความสําคัญกับ
พลังงานลม และ พลังงานจากแสงอาทิตย์ ควบคู่ไปกับการดําเนินกิจการผลิตพลังงานจากพลังนํ้าอย่างยัง่ ยืน
ภายในปี 2020 อีกด้วย อย่างไรก็ตาม ประเด็นที่เกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมก็ยงั มีการกล่าวถึงในเป้ าหมายใหม่ของ
รัฐบาลกลางที่กรุ งปั กกิ่ง ในประเด็นเรื่ องการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศที่เลวร้าย การให้ความสําคัญต่อ
อัตราการเจริ ญทางด้านเศรษฐกิจ และการพึ่งพึงทางด้านพลังงานจากพลังงานที่เกิดจากการเผาถ่านหิ น
ในเดือนกันยายน ปี 2006 รัฐบาลจีนได้ออกรายงานที่มีชื่อว่า "China Green National Accounting
Study Report 2004" และได้มีการประกาศใช้ “Green GDP” แต่เมื่อพบว่า การคิดรวมต้นทุนความเสี ยหาย
ด้านสิ่ งแวดล้อม อาจทําให้อตั ราการเติบโตทางเศรษฐกิ จของจีนลดลงในระดับที่รับไม่ได้ ดังนั้นในปี 2007
ประกาศฉบับนี้จึงได้ลม้ เลิกไป

10
ต่อมาในปี 2007 รัฐบาลกลางก็ได้มีการจัดทํารายงานการประเมินระดับชาติ เรื่ องโลกร้อนฉบับแรก
ของจีนออกมา โดยเป็ นรายงานที่สรุ ปรวบรวมความรู ้ ต่างๆ เกี่ ยวกับผลกระทบจากปั ญหาโลกร้ อน ความ
เสี่ ยงต่อประเทศจีน มาตรการปรับตัวเพื่อลดผลกระทบ และได้มีขอ้ สรุ ปในรายงานว่า จีนจะต้องมีบทบาท
เชิงรุ กในการรับมือกับผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นต่อสิ่ งแวดล้อมโลก โดยได้มีขอ้ เสนอแนะให้มีการติดตาม
การเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมอย่างใกล้ชิด สนับสนุ นการใช้เทคโนโลยีที่ประหยัดพลังงาน ส่ งเสริ มการ
ใช้พลังงานทางเลื อกและการเผาถ่ านหิ นอย่างสะอาด ผลจากการเผยแพร่ รายงานฉบับนี้ ทําให้เกิ ดความ
ห่วงใยและความตื่นตัวของประชาชนชาวจีนเป็ นอย่างมาก
ในเดือนมิถุนายน ปี 2007 เป็ นช่ วงเวลาก่อนที่ประธานาธิ บดีหูจิ่นเทา จะเข้าร่ วมการประชุ ม G8 ที่
เยอรมนี ซึ่ งมีวาระเรื่ องการให้ความสําคัญต่อภาวการณ์ เปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศของโลก (ปั ญหา
โลกร้อน) รัฐบาลจีนได้มีเผยแพร่ แผนงานด้านโลกร้อนฉบับใหม่ โดยตั้งเป้ าหมายภายในปี 2010 จะลดการ
ใช้พลังงานต่อ 1 หน่ วย GDP ในอัตราร้ อยละ 20 จากระดับในปี 2005 และเพิ่มสัดส่ วนการใช้พลังงาน
ทดแทนให้ได้ร้อยละ 10 ของพลังงานทั้งหมดภายในปี 2010 จากที่ในปี 2005 มีสัดส่ วนการใช้พลังงาน
ทดแทนอยูท่ ี่ระดับร้อยละ 7.2 และจะเพิ่มอัตราการใช้พลังงานทดแทนให้ได้ถึงร้อยละ 16 ภายในปี 2020
นอกจากนี้ รัฐบาลจีน ยังได้ต้ งั เป้ าหมายที่จะเพิ่มพื้นที่ป่าให้ได้ราวๆ ร้อยละ 20 ของพื้นที่ประเทศ
ภายในปี 2010 อย่างไรก็ดี รัฐบาลกลางจีนก็ยงั ยืนกรานที่จะปฏิ เสธการบังคับใช้มาตรการลดปริ มาณการใช้
ก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์และก๊าซเรื อนกระจกอื่นๆ
ต่อมาในเดือนมกราคม ปี 2010 รัฐบาลจีน ได้มีหนังสื อไปถึงเลขาธิ การอนุสัญญา UNFCCC เพื่อ
สนับ สนุ น ปฏิ ญ ญา Copenhagen Accord โดยระบุ ว่ า รั ฐ บาลจี น จะพยายามลดการปล่ อ ยก๊ า ซ
คาร์ บอนไดออกไซด์ต่อหน่ วย GDPลงในระดับ ร้ อยละ 40-50 ภายในปี 2020 และจะเพิ่มสัดส่ วนการใช้
พลังงานที่มิใช่พลังงานจากฟอสซิ ลให้ได้ร้อยละ 15 ภายในปี 2020 รวมทั้งรัฐบาลจีนจะสนับสนุ นการเพิ่ม
พื้นที่ป่าให้ได้ 40 ล้านเฮกตาร์ ซึ่ งเป็ นที่น่าสังเกตได้วา่ ข้อประกาศเหล่านี้ ล้วนแต่มีพ้ืนฐานมาจากเป้ าหมาย
ที่กาํ หนดไว้ในแผนการโลกร้อนของจีนตั้งแต่ปี 2007 ที่ได้มีการเตรี ยมความพร้อมไว้ก่อนล่วงหน้าแล้ว
อย่า งไรก็ ดี แม้ว่า รั ฐบาลจี นจะกํา หนดแผนงานเรื่ องโลกร้ อนไว้ชัดเจน แต่ ใ นแง่ ป ฏิ บ ตั ิ ก็ ย งั ไม่
สามารถทําให้เป็ นไปตามเป้ าหมายที่ต้ งั ไว้ในแผน ผลการศึกษาของ Danny Marks ในปี 2010 พบว่า มี
อุปสรรคสําคัญที่เกิดจากสาเหตุสาํ คัญ 3 ประการ ดังนี้ ได้แก่
1. นโยบายด้านสิ่ งแวดล้อมที่กาํ หนดไว้ มีเนื้ อหากว้างและมีความซับซ้อนมากเกินไป จึงทํา
ให้ยากต่อนําปฏิบตั ิใช้ ในแง่ของการกํากับหรื อบังคับใช้กฎหมายโครงสร้าง

11
2. ระบบการประเมิ นผลงาน ที่ เน้นให้ค วามสํา คัญเฉพาะผลด้านการเติ บ โตทางเศรษฐกิ จ
มากกว่าด้านสิ่ ง แวดล้อม รวมทั้งระบบการบังคับใช้กฎหมายด้า นสิ่ งแวดล้อมยัง ไม่ เข้ม งวดและมี ค วาม
อ่อนแอ แต่อย่างไรก็ตาม ก็มีแนวโน้มที่ดีในเรื่ องของการเปิ ดโอกาสให้ตวั แทนกลุ่ม NGOs ต่างๆได้มีส่วน
ร่ วมในการปกป้ องสิ่ งแวดล้อมในระดับท้องถิ่นมากขึ้น
3. เรื่ องความตื่นตัวของประชาชนต่อปั ญหาสิ่ งแวดล้อม ผลการสํารวจความเห็นประชาชนได้
จัดให้ปัญหาสิ่ งแวดล้อมอยูใ่ นความสําคัญลําดับที่ 4 จากปั ญหาในระดับประเทศทั้งหมด และมีประชากร
จํานวนถึงร้อยละ 62 ของประชาชนที่ได้ถูกทําการสํารวจ แสดงความเห็ นว่า ประเทศจีนควรลดการปล่อย
ก๊าซเรื อนกระจก
การดําเนิ นนโยบายและการเจรจากับต่างประเทศในประเด็นเรื่ องโลกร้อน อาจกล่าวได้วา่ ประเทศ
จีนประสบความสําเร็ จเป็ นไปตามแนวทางที่ตอ้ งการในปฏิญญา Copenhagen Accord อย่างต่อเนื่ องเรื่ อยมา
จนถึง ข้อตกลง Cancun Agreement ทั้งเพราะว่า ผลการเจรจาที่เกิดขึ้นนั้นเป็ นไปในแนวทางที่จีนต้องการ
หลายประการโดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่ องการกําหนดเป้ าหมายการลดปริ มาณการปล่อยก๊าซของประเทศกําลัง
พัฒ นาที่ ไ ม่ มี เป้ าหมายบัง คับ เหมื อนอย่า งกรณี ข องพิ ธี ส ารเกี ย วโต โดยจี นสามารถเลื อกที่ จะกํา หนด
เป้ าหมาย การลดปริ มาณก๊าซของตนได้โดยอิ สระ ซึ่ งจะทําให้การเจริ ญเติบโตทางด้านเศรษฐกิ จของจี น
ไม่ได้รับผลกระทบ
อย่างไรก็ตามการแก้ไขปั ญหาเรื่ องการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศในประเทศจีน ซึ่ งรัฐบาลได้
ให้ความสําคัญไปที่การดําเนินงานภายในของประเทศ ทั้งระดับรัฐบาลส่ วนกลางและระดับท้องถิ่นมากกว่า8
นอกจากนี้ ได้มีการคาดการณ์ไว้เมื่อปี 2007 the Chinese Academy of Engineering ได้กล่าวถึง การ
ใช้พลังงานทดแทนของจีน จะสามารถสนองความต้องการพลังงานประมาณร้อยละ 5-10 ของปริ มาณความ
ต้องการพลังงานทั้ง หมดของประเทศ และถ้า นับรวมไปถึ งการผลิ ตพลัง งานจากพลังงานนํ้า ด้วย ก็ จะมี
ศักยภาพในการสนองตอบต่อปริ มาณความต้องการพลังงานของจีนได้เพิ่มขึ้นเป็ นร้อยละ 16-20 ของปริ มาณ
ความต้องการพลังงานรวมทั้งประเทศในปี 20209 (ตารางที่ 4)

8
บัณฑูร เศรษฐศิโรตม์ , ผูป้ ระสานงานชุดโครงการความตกลงพหุ ภาคีดา้ นสิ่ งแวดล้อมสํานักงานกองทุนสนับสนุ นการวิจยั ,จุดยืนและจุดเปลี่ยนนโยบาย ของจีนเรื่ องโลก
ร้ อน, หนังสื อพิมพ์ ฐานเศรษฐกิจ , ฉบับวันที่ 20 - 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 ,จากเว็บไซด์ http://pr.trf.or.th/index.php?option=com_content&view=article&id=400:2011-02-
21-08-37-13&catid=39:2010-06-10-02-37-19&Itemid=57
9
Renewable Energy and Energy Efficiency in China:Current Status and Prospects for 2020 , อ้างแล้ว.

12
ตารางที่ 4 การพัฒนาพลังงานทดแทนของจีน ใน 3 รู ปแบบ สาหรับปี 2020

ที่มา : Renewable Energy and Energy Efficiency in China: Current Status and Prospects for 2020,
October , 2010.

13
4. สถานการณ์ ของอุตสาหกรรมพลังงานทดแทนของจีนในปัจจุบัน

ประเทศจีนในปั จจุบนั เป็ นประเทศผูน้ าํ สําหรับการลงทุนในโครงการที่เกี่ยวกับการพัฒนาพลังงาน


ทดแทน ภายใต้โครงการที่มีชื่อว่า "green" ในปี 2010 ทั้งนี้ อุตสาหกรรมพลังงานทดแทนของจีน จะมีการ
ขยายตัวค่อนข้างมาก จากข้อมูลตัวเลขในรายงาน "Global Trends in Renewable Energy Investment 2011"
พบว่า มีมูลค่าประมาณ 211พันล้านเหรี ยญดอลลาร์ สหรัฐฯ ซึ่ งเพิ่มขึ้นร้อยละ 30 จากช่วงเวลาเดียวกันของปี
ที่แล้ว นอกจากนี้ ผลการศึกษาของรายงานฉบับนี้ ซ่ ึ งจัดทําโดย the Frankfurt School of Finance and
Management ร่ วมกับ the United Nations Environment Program (UNEP) และ the news service
Bloomberg New Energy Finance ยังได้ระบุวา่ ในปี 20010 ประเทศจีนมีการลงทุนโดยตรงคิดเป็ นมูลค่า
48.9 พันล้านดอลลาร์ สหรัฐฯ ในอุตสาหกรรมพลังงานสี เขียว รวมทั้งโครงการวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยี
การผลิต โดยเฉพาะการพัฒนาเทคโนโลยี ที่เกี่ ยวข้องกับพลังงานลมโดยได้กล่าวว่า โครงการผลิ ตพลังงาน
ทดแทนจากพลังงานลมนั้นของจี น จะเป็ นการลงทุนที่ ใหญ่ที่สุดในโลก ซึ่ งมี มูลค่าสู งถึ ง 94.7 พันล้าน
ดอลลาร์ สหรัฐฯ หรื อเพิ่มขึ้นอย่างถึงร้อยละ 30 เมื่อเทียบกับในปี ที่แล้ว
สําหรับการผลิตพลังงานทดแทนจากพลังงานแสงอาทิตย์ของจีนนั้น มีมูลค่าการผลิตลดลงมาอยู่ที่
ประมาณ 86 พันล้านดอลลาร์ สหรัฐ ทั้งๆที่การผลิตพลังงานทดแทนชี วภาพ และพลังงานจากขยะ กลับมี
มูลค่าการลงทุนเพิ่มขึ้นประมาณ 11 พันล้านดอลลาร์ ยิ่งกว่านั้น ในรายงานฉบับนี้ ยงั ได้กล่าวว่า ประเทศจีน
เป็ นประเทศที่กาํ ลังอยูใ่ นช่วงของการพัฒนาประเทศ ซึ่ งเป็ นประเทศแรกที่เริ่ มต้นการปฏิวตั ิอุสาหกรรมด้าน
พลังงานทดแทนอย่างจริ งจังและต่อเนื่อง10

4.1 พลังงานลม (Wind Power)


ภาพรวมในช่วงระหว่างปี 2006 - 2010 จีนใช้แผนพัฒนา 5 ปี ฉบับที่ 11 ที่ให้ความสําคัญในการให้
การสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมพลังงานลม ทําให้พลังงานลมในจีนพัฒนาอย่างมาก โดยในช่วง 4 ปี ที่
ผ่านมาพบว่า อัตราการเติบโตในการผลิตกระแสไฟฟ้ า โดยรวมเพิ่มขึ้นเป็ น 2 เท่าทุกปี และความสามารถใน
การผลิ ตกระแสไฟฟ้ าจากพลังงานลมโดยรวมของจีนในปี 2008 รวมทั้งหมดมี ปริ มาณถึ ง 12 GW ซึ่ ง
มากกว่ากระแสไฟฟ้ าที่ผลิตจากพลังงานนิ วเคลียร์ ซ่ ึ งผลิตได้ 9.1 GW ส่ งผลให้ธุรกิจการผลิตใบพัดเติบโต
อย่างรวดเร็ ว มีบริ ษทั ผูผ้ ลิตทั้งของจีนและต่างชาติเกิดขึ้นกว่า 70 บริ ษทั โดยสามารถผลิตใบพัดขนาดผลิ ต
กระแสไฟฟ้ าตั้งแต่ 0.75 MW ถึง 3 MW ซึ่งบริ ษทั ชั้นนําที่ทาํ การผลิต เช่น Goldwind (เขตปกครองตนเองซิ

10
China tops world's renewable energy investment: study , 2011-07-06 , จากเว็บไซด์ http://news.xinhuanet.com/english2010/china/2011-07/06/c_13967565.htm

14
นเจียง), Zhejiang Yunda. Shenxin, Wandian, Sinovel, Dongfang Electric Corp, China Guodian Group,
Vestas, Suzlon, GE และมีบริ ษทั ผลิตชิ้นส่ วนอุปกรณ์ เช่น Nanjig Gearbox, Huiteng Blade, Tainfu Blade,
Lianzhong Motor เป็ นต้น
ในอนาคตประเทศจีนมีวิสัยทัศน์มองไปข้างหน้า ในการกําหนดเป้ าหมายให้มีกาํ ลังการผลิตไฟฟ้ า
จากพลังงานลมทั้งหมดเพิ่มขึ้นเป็ น 30 GW ในปี 2020 ซึ่ งในปี 2010 พบว่าประเทศมีกาํ ลังการผลิตไฟฟ้ า
ประมาณ 5 GW เท่านั้น และยังได้มีการจัดตั้งฐานผลิตกระแสไฟฟ้ าจากพลังงานลมถึง 7 แห่ ง ซึ่ งมีกาํ ลังผลิต
ระดับ GW ในเขตมณฑลเจียงซู เหอเป่ ย จี๋หลิน ซิ นเจียง กานซู และมองโกเลียใน เพื่อกระตุน้ การพัฒนา
ตลาดให้ขยายตัวมากขึ้น
โดยใบพัดกังหันลมที่นิยมมากที่สุด คือ ใบพัดขนาด 37.5 เมตร อย่างไรก็ตามขณะนี้ อุตสาหกรรม
กําลังประสบปั ญหาเรื่ องความความล้าหลังของเทคโนโลยี เนื่ องจากในปั จจุบนั มีความต้องการใบพัดขนาด
40.3 เมตร มากขึ้นเรื่ อยๆ ทําให้บริ ษทั ที่มีศกั ยภาพต้องเร่ งกําลังการผลิต เพื่อให้ทนั ตอบสนองปริ มาณตาม
ความต้องการของตลาด
อย่างเช่ นในกรณี ของ บริ ษทั ขนาดใหญ่ของจีน Sinovel ที่เน้นทางด้านการลงทุนในการวิจยั และ
พัฒนา และได้ลงทุนก่อสร้างศูนย์วจิ ยั และพัฒนาอุปกรณ์และเทคโนโลยีพลังงานลมในทะเลแห่ งชาติ ขณะที่
บริ ษทั ขนาดเล็กก็ตอ้ งมีการรวมตัวกัน เพื่อพัฒนาตัวเองให้ทนั กับการแข่งขันในตลาดอุตสาหกรรมพลังงาน
ลมในจีน
ขณะเดียวกัน ประเทศจีน มีโครงการเพื่อเตรี ยมสร้างเขตผลิตกระแสไฟฟ้ าด้วยพลังงานลมระดับ 10
ล้าน kW จํานวน 7 แห่ ง ใน 6 มณฑล ได้แก่ กานซู ซิ นเจี ยง เหอเป่ ย มองโกลเลี ยใน และเจี ยงซู ซึ่ งเขต
พลังงานลมระดับ 10 ล้าน kW ที่ได้เริ่ มการก่อสร้างแห่งแรก คือ เขตพลังงานลมที่เมืองจิ่วเฉวียน มณฑลกาน
ซู ส่ วนเขตพลัง งานลมอี ก 6 แห่ ง ใน 5 มณฑลที่ เหลื อ คาดว่า จะเริ่ ม ดํา เนิ นการในระยะเวลาอันใกล้น้ ี
โดยเฉพาะเมื องจิ่ วเฉวียน มณฑลกานซู ได้รับการอนุ มตั ิจากคณะกรรมาธิ การพัฒนาและปฏิ รูปแห่ งชาติ
(NDRC) เมื่อเดือนเมษายน 2008
โดยแผนดังกล่าวระบุวา่ ภายในปี 2015 หรื อในอีก 5 ปี ข้างหน้า เมืองจิ่วเฉวียนจะมีกาํ ลังการผลิ ต
ไฟฟ้ าด้วยพลังงานลมสู งถึง 12.71 ล้าน kW นับเป็ นเขตพลังงานลมระดับ 10 ล้าน kW แห่ งแรกของจีน และ
หากโครงการดังกล่าวแล้วเสร็ จ จะสามารถประหยัดพลังงานถ่านหิ นได้ปีละ 10.20 ล้านตัน และจะสามารถ
ลดปริ มาณการปล่ อยก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ลงได้ก ว่า 20 ล้านตัน ซึ่ งเมื่ อวันที่ 8 สิ งหาคม 2009 เขต
พลังงานลมจิ่วเฉวียนระยะที่ 1 ได้เริ่ มต้นโครงการขึ้นอย่างเป็ นทางการ โดยใช้งบประมาณในการลงทุนที่สูง

15
กว่าถึ ง 300,000 ล้านหยวน สําหรับการลงทุนและกําลังการผลิตไฟฟ้ านั้นอาจกล่าวได้วา่ มีศกั ยภาพในการ
ผลิตมากกว่าเขื่อนผลิตกระแสไฟฟ้ าด้วยพลังงานนํ้าซาน ประมาณ 1 เท่าตัว
เขตพัฒนาเขตพลังงานลมจิ่วเฉวียน จะเป็ นเขตผลิ ตกระแสไฟฟ้ าด้วยพลังงานลมที่ใหญ่ที่สุดของ
ประเทศจีน ภายใต้สโลแกนและเป้ าหมายที่เรี ยกว่า “ลู่ซานเสี ย” แปลเป็ นภาษาไทย คือ เขตสามช่องเขาบน
ดิน โดยมีแผน 3 ระยะ ดังนี้
ระยะที่ 1 แผน 5 ปี จะพัฒนาให้เขตดังกล่ าวมีกาํ ลังการผลิ ตกระแสไฟฟ้ า 10 ล้าน kW ภายในปี
2015
ระยะที่ 2 แผน 10 ปี จะมีกาํ ลังการผลิตกระแสไฟฟ้ า 20 ล้าน kW ภายในปี 2020
ระยะที่ 3 แผนหลังจาก 10 ปี จะมีกาํ ลังการผลิตกระแสไฟฟ้ าสู งถึง 30 ล้าน kW หลังปี 202011
รายงานผลการวิจยั ซึ่ งถูกจัดทําโดย Greenpeace หน่วยงาน the European Wind Association และ
หน่วยงาน the China Renewable Industry Association ได้ระบุวา่ ศักยภาพของการผลิตพลังงานจากพลังงาน
ลมนั้น มีมากเกินกว่า ภาวะความต้องการพลังงานในปั จจุบนั นอกจากนี้ รายงานฉบับนี้ ยงั ได้คาดการณ์อีก
ด้วยว่า ภายในปี 2020 การผลิ ตกระแสไฟฟ้ าจากพลัง งานลม มี แนวโน้มเพิ่ มมากขึ้ นถึ ง ร้ อยละ 14 ของ
พลังงานจากพลังงานลมที่ทวั่ โลกสามารถผลิตได้
การพัฒนาการผลิตพลังงานจากพลังงานลมของประเทศจีนในปั จจุบนั ส่ วนใหญ่จะให้ความสําคัญ
กับ การพัฒนาสาธารณู ปโภคทางด้าน การส่ งต่อพลังงาน และ การแจกจ่ายพลังงาน (Transmission and
Distribution: T&D) เพื่อที่ ตอ้ งการให้พลังงานจากลมสามารถนําไปใช้ในการผลิ ตกระแสไฟฟ้ าอย่างมี
ประสิ ทธิ ภาพและเกิดประโยชน์สูงสุ ด
The State Electricity Regulatory Commission (SERC) ได้มีการระบุวา่ การผลิตพลังงานที่ได้จาก
พลังงานลมในช่วง 6 เดือนแรกของปี 2010 ประมาณ 2.8 TWh ยังไม่มีการนําไปใช้อย่างเกิดประโยชน์สูงสุ ด
ซึ่ งในแต่ละปี นั้นพบว่า การผลิตพลังงานที่เกิดจากพลังงานลมจะถูกนําไปใช้อย่างไม่มีประสิ ทธิ ภาพราวๆ
ร้อยละ 20 -22 ของการผลิตพลังงานจากพลังงานลมทั้งหมดของจีน ทั้งนี้ เป็ นผลสื บเนื่ องมาจาก เส้นทางการ
ลําเลี ยงมี ระยะทางที่ ยาว ทั้งนี้ ส่วนใหญ่มาจากแหล่ งในเขต มองโกเลี ย ที่ ตอ้ งอาศัยพลังงานลมทะเลจาก
ชายฝั่งของทะเลด้านตะวันออกของจีน

11
ไลล่าพลังงานลมในจีน, 25 พฤษภาคม พ.ศ.2554 ,จากเว็บไซด์ http://www.energychoices.in.th/node/248

16
อย่า งไรก็ ตาม ในเขตมองโกเลี ย นั้น เครื อ ข่ า ยสายส่ ง ที่ ด ํา เนิ นกิ จ การโดย บริ ษ ัท State Grid
Company, Inner Momgolia Grid และ บริ ษทั China Southern Grid ต่างก็ดาํ เนิ นกิจการของแต่ละบริ ษทั
เป็ นไปตามแนวทางของแผนธุ รกิ จในแต่ละเขตมณฑล จึ งไม่สามารถที่จะเชื่ อมต่อกันเป็ นโครงข่ายอย่าง
สมบูรณ์แบบได้ แม้วา่ ในทางกฎระเบียบของรัฐบาลจีน จะมีการระบุให้บริ ษทั ต่างๆ เหล่านี้ ตอ้ งเชื่ อมต่อสาย
เพื่อส่ งกระแสไฟฟ้ าที่ได้จากพลังงานลมก็ตาม ทั้งนี้ รัฐบาลกลางจีนจึงได้ออกมาตรการจูงใจ คือ การจ่าย
ค่าชดเชยให้กบั บริ ษทั เครื อข่ายให้สามารถดําเนิ นการเชื่ อมต่อสายส่ งได้ เป็ นการจ่ายเงินเพื่อชดเชยค่าจัดซื้ อ
กระแสไฟฟ้ าพลังงานลม ซึ่ งก็ยงั เพียงพอ (ตารางที่ 4)

4.2 พลังงานแสงอาทิตย์
ประเทศจีนมีทรัพยากรพลังงานแสงอาทิตย์ที่อุดมสมบูรณ์ ทั้งนี้ พื้นดินที่ได้รับพลังงานแสงอาทิตย์
ต่อปี เท่ากับพลังงานของถ่านหิ นมาตรฐานนํ้าหนัก 2.4ล้านล้านตัน และดินแดนพื้นที่2ใน3ของพื้นที่ประเทศ
ได้รับปริ มาณรังสี แดง จากดวงอาทิตย์ต่อปี มากกว่า 6 พันล้านล้านจูลต่อตารางเมตรต่อปี นอกจากนี้ ทางภาค
ตะวันตกเฉี ยงเหนือของทิเบตสู งถึง 8.6 พันล้านล้านจูลต่อตารางเมตรต่อปี จัดเป็ นเขตที่มีทรัพยากรพลังงาน
แสงอาทิตย์ที่อุดมสมบูรณ์ที่ สุดของโลก และมีสถานี กาํ เนิ ดไฟฟ้ าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ขนาดใหญ่แห่ ง
แรกของจีน ซึ่ งก่อสร้างขึ้นที่หมู่บา้ นกู่ลี่ก่ไู ถ อําเภอบาหลินขวา เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน มีศกั ยภาพ
ของหน่วยพลังงานถึง 560วัตต์ โดยได้เริ่ มดําเนินการผลิตกระแสไฟฟ้ ามาตั้งแต่วนั ที่11ตุลาคม ปี 198212
การพัฒนาธุ รกิ จ พลัง งานแสงอาทิ ตย์ข องจี นพบว่า ระบบการผลิ ตไฟฟ้ าจากเซลล์ แสงอาทิ ต ย์
(Photovoltaic generation systems) ได้ถูกติดตั้งบนทางเดินหลัก 12 ทางของ “รังนก” สนามกีฬาโอลิมปิ กใน
กรุ งปั กกิ่งที่อยูร่ ะหว่างการก่อสร้าง แม้วา่ ระบบพลังงานแสงอาทิตย์ดงั กล่าวที่มีกาํ ลังผลิตเพียง 130 kw ซึ่ ง
เทียบไม่ได้กบั ปริ มาณกระแสไฟฟ้ าทั้งหมดที่สนามกีฬาแห่งนี้ตอ้ งการ
อย่างไรก็ตาม ความเคลื่อนไหวดังกล่าวก็ได้สะท้อนว่า “อุตสาหกรรมแสงอาทิตย์” ของจีนกําลังเข้า
สู่ การขยายตัวด้วยระบบการผลิ ตไฟฟ้ าจากเซลล์แสงอาทิตย์ โดยเมื่อ 5 ปี ที่แล้ว ดร.สื อเจิ้งหรง ได้กลับจาก
ประเทศออสเตรเลี ยพร้ อมกับสิ ทธิ บตั รกว่า 10 ฉบับด้านเทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้ าจากเซลล์แสงอาทิตย์โฟ
โตโวลตาอิค และเงิน 250,000 เหรี ยญสหรัฐ และได้จดั ตั้ง บริ ษทั ซันเทค พาวเวอร์ โฮลดิ้งส์ ซึ่ งในปั จจุบนั
ได้กลายเป็ นบริ ษทั 1 ใน 6 ของผูผ้ ลิตแบตเตอรี่ พลังงานงานแสงอาทิตย์รายใหญ่ที่สุดของโลก มีสินทรัพย์
มูลค่า 1,800 ล้านหยวน และสร้ างผลกําไร 400 ล้านหยวน ซึ่ งทั้งหมดนี้ เกิดขึ้นภายในระยะเวลาเพียงครึ่ งปี
เท่านั้น

12
ทรั พยากรทางพลังงานลม พลังงานนา้ และพลังงานแสงอาทิตย์ , China ABC , จากเว็บไซด์ http://thai.cri.cn/chinaabc/chapter1/chapter10303.htm

17
ด้วยเหตุผลที่ ประเทศจีนเป็ นแหล่งที่มีแสงอาทิตย์อุดมสมบูรณ์ ปริ มาณรังสี อาทิตย์ที่ตกกระทบ
พื้นผิวเทียบเท่ากับถ่านหิ นราว 4.9 ล้านล้านตัน และ 2 ใน 3 ของพื้นดิ นของประเทศจีนได้รับแสงอาทิตย์
มากกว่า 2,200 ชัว่ โมง ยิง่ กว่านั้นประเทศจีน ยังเป็ นแหล่งทราย (Quartz Sand) รายใหญ่ของโลก และมีกาํ ลัง
การผลิ ตซิ ลิคอนโดยการแยกโลหะออกจากแร่ คิ ดเป็ น 1 ใน 3 ของโลก ประกอบด้วย แร่ ควอตซ์ซ่ ึ งเป็ น
วัตถุ ดิบในการผลิ ต และ โพลี คริ สตัลซิ ลิคอน (แท่งซิ ลิคอนแบบผลึ กรวม) ที่ เป็ นวัตถุ ดิบสําคัญที่ สุดของ
แบตเตอรี่ โฟโตโวลตาอิค
นอกจากจะอุดมด้วยทรัพยากรธรรมชาติแล้ว จีนยังเป็ นตลาดขนาดใหญ่ที่มีศกั ยภาพ แต่อย่างไรก็
ตาม ในพื้นที่ห่างไกลก็มีการประสบปั ญหาการไม่มีไฟฟ้ าไว้ใช้เพื่อการอุปโภคบริ โภค จึงทําให้การแก้ไข
ปั ญหาจําเป็ นที่จะต้องพึ่งพาการพัฒนาแหล่งพลังงานทดแทนอื่น โดยเฉพาะระบบการผลิ ตไฟฟ้ าจากเซลล์
แสงอาทิตย์ จึงเป็ นสาเหตุประการหนึ่งที่ทาํ ให้อุตสาหกรรมด้านนี้เป็ นที่ดึงดูดใจของกลุ่มนักลงทุนต่างๆ
ทั้งนี้ บริ ษทั ส่ วนใหญ่ในประเทศจีน จะทําการผลิ ตแบตเตอรี่ เวเฟอร์ และแบตเตอรี่ โมดูล ซึ่ งเป็ น
ห่วงโซ่ปลายสุ ดในอุตสาหกรรมการผลิตไฟฟ้ าจากเซลล์แสงอาทิตย์ และการผลิตไฟฟ้ าจากเซลล์แสงอาทิตย์
เป็ นรู ปแบบเทคโนโลยีที่ไม่ยดื หยุน่ เนื่องจากโพลีคริ สตัลซิลิคอนหรื อผลึกซิลิคอน ที่เป็ นวัตถุดิบหลักสําคัญ
ต่อทั้งภาคอุตสาหกรรม โดยเทคโนโลยีการผลิตหลักเหล่านี้ มีการผูกขาดโดยบริ ษทั ข้ามชาติหลายบริ ษทั ราย
ใหญ่ ซึ่ งส่ วนแบ่งตลาดมาก จึงทําให้ตลาดมีลกั ษณะผูกขาดทั้งการควบคุมการผลิตและการจัดจําหน่ายโพลี
คริ สตัลซิ ลิคอนความบริ สุทธิ์ สู งทั้งหมด ยิง่ ไปกว่านั้น บริ ษทั เหล่านี้ ยงั ปฏิเสธการร่ วมค้าหรื อมีวามร่ วมมือ
ในการผลิ ต อี กด้วย ส่ งผลทําให้อุตสาหกรรมการผลิ ตพลังงานแสงอาทิ ตย์ของประเทศจีน ยังขาดแคลน
ความสนับสนุนด้านเทคโนโลยีที่สาํ คัญ
รั ฐ บาลจี น ได้มี ก ารพัฒ นาอุ ต สาหกรรมแสงอาทิ ต ย์แ ละการเพิ่ ม ปริ ม าณการใช้พ ลัง งานจาก
แสงอาทิตย์ให้มากขึ้น โดยการให้ความสําคัญต่อการพัฒนาเทคโนโลยีของจีนเองหรื ออาจเรี ยกว่าเป็ นการ
สร้างสรรค์นวัตกรรมของตนเองขึ้นมา ซึ่ งในปั จจุบนั ห่ วงโซ่ อุตสาหกรรมพลังงานแสงอาทิตย์ของโลกมี
แนวโน้มที่ผผู ้ ลิตแท่งซิ ลิคอนและซิ ลิคอนเวเฟอร์ เข้ามาสู่ ธุรกิจการผลิตแบตเตอรี่ ดว้ ยเช่นกัน 13
สถานการณ์ ในปั จจุบนั ของอุตสาหกรรมพลังงานแสงอาทิ ตย์ พบว่า ประเทศจีน มุ่งเป้ าที่ จะเพิ่ม
เพดานผลิตแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ทั้งนี้ เพื่อรองรับอุปสงค์ที่เพิ่มสู งขึ้น ภายหลังเกิดวิกฤตนิ วเคลียร์ ญี่ปุ่น โดย
นายฉี ลี ชาน รองผูอ้ าํ นวยการแผนกพลังงานทดแทนของคณะกรรมการบริ หารพลังงานแห่ งชาติ (NEA)
ของจีนได้เปิ ดเผยกับสํานักข่าวซิ นหัวว่า ทางรัฐบาลจีนกําลังหารื อกันเกี่ยวกับการเพิ่มเป้ าหมายการผลิตของ

13
ผูจ้ ดั การออนไลน์ 4 มิถุนายน 2549 , จากเว็บไซด์ http://www.maesotcity.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=310643&Ntype=2

18
อุตสาหกรรมแผงเซลล์แสงอาทิตย์ หรื อ solar photovoltaic (PV) ในระยะ 5 ปี จากเดิม 5 กิกกะวัตต์ เป็ น 10
กิกกะวัตต์ นอกจากนี้ สํานักข่าวซิ นหัว ยังได้รายงานว่า จีนเป็ นผูผ้ ลิต PV รายใหญ่สุดของโลก โดยปริ มาณ
การผลิต PV ของจีนในปี 2010 อยูท่ ี่ 4,000 เมกกะวัตต์ ซึ่ งผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่ถูกส่ งไปขายยังต่างประเทศ
ในขณะที่หนังสื อพิมพ์ไชน่า ซิ เคียวริ ตีส์ เจอร์ นลั ก็ได้รายงานว่า การทบทวนเป้ าหมายการผลิต PV
อาจจะได้รับการอนุ มตั ิ ถึ งแม้วา่ ในเวลานี้ ยงั อยูใ่ นขั้นตอนการพิจารณาก็ตาม เนื่ องจากประเทศจีน จําเป็ นที่
จะเพิ่มปริ มาณการผลิต PV เพื่อชดเชยผลผลิต PV ที่ปรับตัวลดลงในญี่ปุ่น ทั้งนี้อนั เป็ นผลมาจากวิกฤตการณ์
นิวเคลียร์ ในประเทศญี่ปุ่น เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ที่ผา่ นมา นอกจากนี้ ไชน่า ซิ เคียวริ ตีส์ เจอร์ นลั ยังได้ระบุวา่
จีนอาจจะปรับแผนการพัฒนาพลังงานนิ วเคลี ยร์ เนื่ องจากวิกฤตการณ์ นิวเคลี ยร์ ในญี่ ปุ่นได้ส่งผลให้เกิ ด
ความวิตกกัง วลเรื่ องความปลอดภัย โดยก่ อนหน้า นี้ จี นได้วางแผนที่ จะกําหนดเป้ าหมายกําลังการผลิ ต
พลังงานนิ วเคลียร์ ในอัตรา 86 กิกกะวัตต์ในปี 2020 ซึ่ งคิดเป็ นร้อยละ 4 ของปริ มาณการใช้พลังงานภายใน
ทั้งหมดของประเทศ 14

14
ข่าวอินโฟเควสท์ (IQ) , วันพุธที่ 30 มีนาคม 2554 15:55:23 น., จากเว็บไซด์ http://www.mka.co.th/newsdetailgraadmin.php?newsid=96

19
ตารางที่ 5 พลังงานทดแทนทีไ่ ม่ ใช้ ความร้ อนของประเทศจีน ในช่ วงเวลา ตั้งแต่ ปี 2008 – 2015

ที่มา : CHINA POWER REPORT Q2 2011 INCLUDES 5- AND 10-YEAR FORECASTS TO 2015
AND 2020, Business Monitor International (BMI) , March 2011.

20
5. ต้ นทุนทางด้ านพลังงานของจีน (Power Costs)

จากข้อมูลสถิติของ BMI ได้ระบุวา่ ประเทศจีนมีปริ มาณการผลิตและการนําเข้าพลังงานโดยรวม


ของปี 2010 ประมาณ 298 พันล้านดอลลาร์ สหรัฐฯ และคาดว่าในระหว่าง ปี 2011-2015 ต้นทุนของการผลิต
พลังงานจะเพิ่มขึ้นเป็ น 327 – 428 พันล้านดอลลาร์ สหรัฐฯ แต่อย่างไรก็ตามสัดส่ วนการผลิตพลังงานจาก
พลังงานนิวเคลียร์ และพลังงานนํ้าที่มีตน้ ทุนถูกกว่า จะเพิม่ มากขึ้นเมื่อเทียบกับสัดส่ วนการผลิตพลังงานโดย
ใช้ทรัพยากรธรรมชาติประเภทอื่นๆทั้งหมดของจีน สําหรับถ่านหิ นจะยังคงมีสัดส่ วนในการผลิตพลังงาน
มากที่สุด
ในด้านสถานการณ์ ราคาพลังงานของจีน มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างมีเสถี ยรภาพ ไม่น่าจะมีความผัน
ผวนมากนักในอีกหลายปี ข้างหน้า ทั้งนี้ มีความเป็ นไปได้ที่ราคาสิ นค้าพลังงานของจีนมีแนวโน้มสู งขึ้น จน
อาจจะเกื อบใกล้กบั ราคาในตลาดโลก อย่างไรก็ตาม ผลกระทบของอัตราเงิ นเฟ้ อก็อาจจะเป็ นอุปสรรคต่อ
การดําเนินยุทธศาสตร์ ทางด้านพลังงานให้มีกระบวนการที่ชา้ ลง และอาจทําให้ราคาของที่อยูอ่ าศัยและราคา
ของสิ นค้าจากอุตสาหกรรมพลังงาน แปรผันไปตามราคาของต้นทุนในการผลิตพลังงาน (ตารางที่ 6)

ตารางที่ 6 ต้ นทุนทางด้ านพลังงานของประเทศจีน ในช่ วงเวลา ตั้งแต่ ปี 2008 - 2015

ที่มา : CHINA POWER REPORT Q2 2011 INCLUDES 5- AND 10-YEAR FORECASTS TO 2015
AND 2020, Business Monitor International (BMI) , March 2011.

21
6. การแจกจ่ ายพลังงาน (Transmission)

การประมาณการณ์ เมื่ อ ปี 2005 ได้ก ล่ า วว่า ประสิ ท ธิ ภาพในการแจกจ่ า ยพลัง งานสู ง ที่ สุ ดอยู่ที่
260,000 km. ทําให้บริ ษทั ผูไ้ ด้รับสัมปทานจากรัฐบาลและเป็ นบริ ษทั ผูกขาดในการแจกจ่ายพลังงานของจีน
คือ SGCC มีแผนการที่เพิ่มประสิ ทธิ ภาพของระบบโครงข่ายในการแจกจ่ายกระแสไฟฟ้ า โดยมีการใช้เงิน
ลงทุนประมาณ 800 พันล้านหยวน ในอีก 5 ปี ข้างหน้า ซึ่ งทําให้ประเทศจีน สามารถแจกจ่ายกระแสไฟฟ้ า
ได้ม ากขึ้ น ทั้งๆที่ ใ นปั จจุ บนั สามารถแจกจ่ ายกระแสไฟฟ้ าสู ง สุ ดได้เพีย งราวๆ 160,000 km. ซึ่ งเป็ น
กระแสไฟฟ้ าประเภท220kV หรื อมีกาํ ลังที่สูงกว่า เท่านั้น

7. นโยบายทางด้ านพลังงานของประเทศ ภายใต้ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติระยะ 5 ปี ฉบับที่


12 (ปี 2011 -2015)

เมื่อประเทศจีน ได้เริ่ มเข้าสู่ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติฉบับที่ 12 ที่มุ่งเน้นการพัฒนา


ประเทศจีนไปสู่ สังคม “เสี่ ยวคัง”15 หรื อ สังคมที่กินดีอยูด่ ีอย่างทัว่ หน้า16 รวมทั้งต้องการพัฒนาประเทศโดยมี
แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจจากระยะกลางให้มีความมัน่ คงในระยะยาวมากขึ้น แต่อย่างไรก็แผนพัฒนาฯ
ฉบับนี้ กลับมี เป้ าหมายเน้นไปที่ การเติ บโตทางเศรษฐกิ จอย่างยัง่ ยืนและการพัฒนาชี วิตความเป็ นอยู่ของ
ประชาชนอย่ า งทั่ว ถึ ง โดยมี เ ป้ าหมายด้า นเศรษฐกิ จ คื อ การมุ่ ง เน้ น การให้ เ กิ ด การขยายตัว อุ ป สงค์
ภายในประเทศ ควบคู่ไปกับการลดระดับการพึ่งพาจากต่างประเทศ ทั้งนี้ ประเทศจีนได้เล็งเห็ นว่าระบบ
เศรษฐกิจโลกอาจมีการชะลอตัว ดังนั้นเพื่อเป็ นการเตรี ยมรับมือกับภาวการณ์ที่การส่ งออกอาจจะมีการชะลอ
ตัว จึงหันมาเน้นการสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจจากการกระตุน้ การบริ โภคภายในประเทศแทน

15
หนังสื อกระทรวงการต่างประเทศ ที่กต 1304/ว.2268 ลงวันที่ 29 ธันวาคม 2553 เรื่ อง “แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติระยะ 5 ปี (2554-2558) ฉบับที่ 12 ของจีน”
จาก http://www.fti.or.th/2008/download/government_news/แผนพัฒนาเศรษฐกิจจีน12_647.pdf (สื บค้นเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน2554)
16
นักปราชญ์ขงจื้อ ได้อธิบายไว้วา่ “สังคมเสี่ ยวคังหมายถึงสังคมที่ประชาชนสามารถดําเนินชี วติ อย่างมีความสุ ขในระดับหนึ่ง” โดยเติ้งเสี่ ยวผิง ได้นาํ เอาความหมายของคํานี้
มาประยุกต์ใช้ตามทัศนคติทางการเมือง ซึ่ งจะเป็ นที่เข้าใจของชาวจีนว่า เป็ นสังคมที่ยงั ไม่มงั่ คัง่ ซะทีเดียว แต่ประชาชนก็พออยูพ่ อกินและไม่เดือนร้อนเรื่ องปากท้อง

22
นอกจากนี้ ประเทศจีนยังให้ความสําคัญต่อพัฒนาภาคอุตสาหกรรมของประเทศอย่างต่อไป โดยไป
ที่เน้นพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงยุทธศาสตร์ 7 ประเภท ทั้งนี้ จีนมีเป้ าหมายว่าจะพัฒนามูลค่าอุตสาหกรรมใหม่
เหล่านี้ให้มีสัดส่ วนประมาณร้อยละ 8 ของ GDP17 อุตสาหกรรมทั้ง 7 ประเภทนี้ ได้แก่
1) อุตสาหกรรมสารสนเทศรุ่ นใหม่ (Next generation information technology)
2) อุ ต สาหกรรมประหยัด พลัง งานและเป็ นมิ ต รกับ สิ่ ง แวดล้อ ม (Energy Saving and
environmentalprotection)
3) อุตสาหกรรมพลังงานใหม่ (New Energy)
4) อุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
5) อุตสาหกรรมผลิตชั้นสู ง (High-end equipment manufacturing)
6) อุตสาหกรรมวัสดุใหม่ (New materials)
7) อุตสาหกรรมยานยนต์พลังงานสะอาด (Clean energy vehicles)

จะเห็ น ได้ ว่ า อุ ต สาหกรรมที่ ป ระเทศมุ่ ง เน้ น ให้ เ กิ ด การพัฒ นาโดยส่ ว นใหญ่ ล้ ว นแต่ เ ป็ น
อุ ตสาหกรรมที่ มี ค วามเกี่ ย วข้องทางด้า นพลัง งาน ดัง นั้นเพื่ อให้เกิ ดสอดคล้อง รั ฐบาลจี นจึ ง ได้ก าํ หนด
“แผนพัฒนาอุตสาหกรรมพลังงานใหม่” (ปี 2011 – 2020) ซึ่ งจะใช้เป็ นกลไกในการส่ งเสริ มการพัฒนา
อุตสาหกรรมพลังงานใหม่และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องอย่างเป็ นรู ปธรรม โดยเฉพาะอย่างยิง่ อุตสาหกรรมที่
เกี่ ยวกับพลังงานนิ วเคลี ยร์ พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์ ถ่านหิ นสะอาด โครงข่ายไฟฟ้ าอัจฉริ ยะ และ
พลังงานรถยนต์ชนิดใหม่ เป็ นต้น โดยแผนพัฒนาฉบับดังกล่าว มีเป้ าหมายหลัก คือ ลดการพึ่งพาการใช้ถ่าน
หิ น ลดการปล่อยซัลเฟอร์ ลดการปล่อยคาร์ บอนไดออกไซด์รวมทั้งจะเป็ นการเพิ่มการจ้างงานในประเทศได้
อีกทางหนึ่ง18
ในด้านการลงทุน แผนฉบับพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 นี้ ยังคงมุ่ง เน้นยุทธศาสตร์ “เดินออกไป” (Going
Global Policy) นัน่ ก็คือ การออกไปลงทุนในต่างประเทศ แต่อย่างไรก็ดี ประเทศจีนก็ไม่ได้มองข้ามในเรื่ อง
การส่ งเสริ มการลงทุนจากต่างประเทศ (Inward FDI) แต่จะเน้นการส่ งเสริ มเฉพาะเรื่ อง โดยเฉพาะด้านที่จีน
กําลังต้องการพัฒนาเป็ นพิเศษ เช่น อุตสาหกรรมเกษตรสมัยใหม่ อุตสาหกรรมที่รักษาสิ่ งแวดล้อม และการ
ลงทุนที่เกี่ยวเนื่องกับเทคโนโลยีทนั สมัย

17
“Highlights of China’s 12th five-year plan” (March 5th, 2011) from http://news.xinhuanet.com/english2010/china/2011-03/05/c_13762028.htm(Retrieved on 10th June
2011)
18
สํานักงานคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุน, “ภาวะการลงทุนโดยตรงจากจีนในประเทศไทยปี 2553 (มกราคม – มิถุยายน)” จาก
http://www.boi.go.th/thai/download/investment_foreign/155/TPRC106.pdf (สื บค้นเมื่อวันที่ 11 เมษายน 2554)

23
สําหรับในด้านสิ่ งแวดล้อม จากแผนพัฒนาฯที่ 12 ฉบับนี้ ประเทศมุ่งเน้นให้เพิ่มสัดส่ วนพลังงาน
สะอาดให้ได้ร้อยละ 11.4 มุ่งเน้นเพิม่ ประสิ ทธิ ภาพการใช้น้ าํ ต่อหน่วยอีกร้อยละ 30 ส่ งเสริ มและสนับสนุ น
ให้ ป ระหยัด การใช้ พ ลัง งานต่ อ หน่ ว ย GDP ให้ ไ ด้ร้ อ ยละ 16 ส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารลดการปล่ อ ยก๊ า ซ
คาร์ บอนไดออกไซด์ต่อหน่วย GDP ให้ได้ร้อยละ 17 และ มุ่งเน้นการเพิ่มพื้นที่ป่าไม้ให้เป็ นร้อยละ 21.66 19
รายงาน China Power Report ของไตรมาสที่ 2 ปี 2011 ได้มีการวิเคราะห์ถึงสภาพแวดล้อมของ
อุตสาหกรรมทางด้านพลังงานในรู ปแบบ SWOT Analysis พบว่า

8. จุดแข็งของอุตสาหกรรมพลังงานทดแทนในจีน
ประเทศจีนยังคงมีนโยบายสนับสนุ นการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ และยังจัดอยูก่ ลุ่มประเทศ
กําลังพัฒนาที่ติดอันดับ ที่มีปริ มาณการลงทุนโดยตรงมากจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment: FDI)
มากที่ สุดของโลกประเทศหนึ่ ง รวมทั้งประเทศจีนยังมี ความได้เปรี ยบจากค่าแรงงานที่ยงั อยู่ในระดับตํ่า
ยิ่งกว่านั้น จีนยังเป็ นประเทศที่มีปริ มาณถ่านหิ นสํารองมากที่สุดเป็ นอันดับที่ 3 ของโลก จึงทําให้จีนนั้น
สามารถนําถ่านหิ นมาใช้ในการผลิตพลังงานเพื่อไว้ใช้สาํ หรับภายในประเทศได้อยูต่ ่อไป

9. จุดอ่ อน ของอุตสาหกรรมพลังงานทดแทนในจีน
บริ ษทั นักลงทุนจากต่างชาติ ยังคงมีการกล่าวถึงประเด็นทางด้านทรัพย์สินทางปั ญญา เนื่ องจากการ
ควบคุมดูแลของภาครัฐบาลยังขาดประสิ ทธิ ภาพตามมาตรฐานของประเทศในกลุ่มซี กโลกตะวันตก จึงทําให้
บริ ษทั ของต่างชาติบางบริ ษทั อาจจะมีความเสี่ ยงที่จะได้รับผลกระทบจากการลงทุนทําธุ รกิจร่ วมกับคนจีน
ในประเทศจีน นอกจากนี้ ในปั จจุบนั มีการลงทุนในอุตสาหกรรมพลังงานประเภท พลังงานงานนิ วเคลียร์
พลังงานนํ้า และก๊าซธรรมชาติอย่างมาก แต่อย่างไรก็ตาม ประเทศจีนก็ยงั คงใช้ถ่านหิ นเป็ นวัตถุ ดิบในการ
ผลิตพลังงานเป็ นหลักอยูเ่ ช่นเดิม ทั้งๆที่การผลิตพลังงานจากถ่านหิ นนั้นได้ส่งผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมของ
ประเทศตามมาด้วยเช่นกัน

10. ข้ อควรระวัง ของอุตสาหกรรมพลังงานทดแทนในจีน


ประเทศจี น ยัง คงมี ก ารจํา กัด การลงทุ น จากต่ า งชาติ ใ นกิ จ การที่ มี ค วามสํ า คัญ ต่ อ ประเทศ ใน
ขณะเดียวกันก็กาํ ลังประสบกับปั ญหาค่าจ้างงานแรงที่มีแนวโน้มสู งขึ้น จึงทําให้อาจเป็ นสาเหตุประการหนึ่ ง
ที่อาจทําให้นกั ลงทุนจากต่างชาติหนั ไปลงทุนในประเทศเวียดนาม ซึ่ งมีค่าจ้างแรงงานในอัตราที่ต่าํ กว่าแทน

19
สรุ ปและเรี ยบเรี ยง , นางสาวจิตติกานต์ วงษ์กาํ ภู , นักวิจยั สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา , บทความ : “แผนพัฒน์ ฯ ฉบับ 12 ของจีน: นัยต่ อประเทศ
ไทย” , จากเว็บไซด์ www.itd.or.th/articles.html?download=71%3Aar34

24
นอกจากนี้ การปรับเปลี่ ยนนโยบายราคา ซึ่ งจะส่ งผลทําให้เกิ ดการชะลอตัวของต้นทุนในการผลิ ตเชื้ อเพลิ ง
ซึ่ ง รวมถึ ง การผลิ ตก๊า ซธรรมชาติ ด้วย และยัง เป็ นการอํา นวยความสะดวกทางการเงิ นต่ อโครงการผลิ ต
พลังงานที่จะเกิดขึ้นใหม่อีกด้วย20

20
CHINA POWER REPORT Q2 2011 INCLUDES 5- AND 10-YEAR FORECASTS TO 2015 AND 2020 , อ้างแล้ว.

25

You might also like