You are on page 1of 21

คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 1 เนื้อหาหลัก : ฟังก์ชันประกอบ


จุดประสงค์ของโจทย์ข้อ 1 คือต้องการทดสอบว่า นักเรียนสามารถหาฟังก์ชันประกอบจาก
ฟังก์ชันที่กาหนดให้ได้หรือไม่
1.1 ให้ f {(1,2), (3, 4), (5,6), (7, 8)} และ g {(2, 1), (4, 0), (6,5), (8,1)} ข้อใดต่อไปนี้มีค่า
เท่ากับ g f
1. {(1, 1), (3, 0), (5,5), (7,1)} 2. {(2, 2), (12, 0), (30, 30), (56, 8)}
3. {(8,2)} 4. {( 1,1), (0, 3), (5,5), (1,7)}
เฉลย 1
จากโจทย์จะได้ว่า Rf Dg {2, 4, 6, 8} ทาให้ได้ว่า g f (1) g(f (1)) g(2) 1,

g f (3) g( f (3)) g(4) 0, g f (5) g(f (5)) g(6) 5, และ


g f (7) g( f (7)) g(8) 1 ทาให้ได้ว่า g f {(1, 1), (3, 0), (5,5), (7,1)}

1.2 ให้ f {(1,2), (3, 4), (5,6), (7, 8)} และ g {(1, 3), (2, 4), (3,5), (4, 8)} ข้อใดต่อไปนี้มีค่าเท่ากับ
g f
1. {(1,1), (3,2), (7, 4)} 2. {(1, 4), (3, 8)}
3. {(2, 3), (3,2)} 4. {(1, 4), (3,6)}
เฉลย 2
จากโจทย์จะได้ว่า Rf Dg {2, 4} ทาให้ได้ว่า g f (1) g( f (1)) g(2) 4 และ
g f (3) g( f (3)) g(4) 8 ทาให้ได้ว่า g f {(1, 4), (3, 8)}

1.3 ให้ f {(1,2), (3, 4), (5,6), (7, 8)} และ


g {( 1,2), (2, 1), ( 3, 4), (4, 3), ( 5,6), (6, 5)} ข้อใดต่อไปนี้มีค่าเท่ากับ g f

1. {(2,2), (4, 4), (6,6)} 2. {( 1,1), ( 3, 3), ( 5,5)}


3. {(1, 1), (3, 3), (5, 5)} 4. {(0, 0)}
เฉลย 3
จากโจทย์จะได้ว่า Rf Dg {2, 4, 6} ทาให้ได้ว่า g f (1) g(f (1)) g(2) 1,

g f (3) g( f (3)) g(4) 3, และ g f (5) g(f (5)) g(6) 5 ทาให้ได้ว่า


g f {(1, 1), (3, 3), (5, 5)}

5
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 2 เนื้อหาหลัก : ฟังก์ชันประกอบ


จุดประสงค์ของโจทย์ข้อ 2 คือต้องการทดสอบว่า นักเรียนสามารถหาฟังก์ชันประกอบจาก
ฟังก์ชันที่กาหนดให้ได้หรือไม่

2.1 ให้ f (x ) 2x 1 และ g(x ) x2 3x 1 ข้อใดต่อไปนี้มีค่าเท่ากับ g f (x )


1. 2x 2 6x 3 2. 4x 2 10x 5
3. 2x 3 7x 2 5x 1 4. x 2 5x 2
เฉลย 2
จากโจทย์จะได้ว่า
g f (x ) g(f (x )) g (2x 1) (2x 1)2 3(2x 1) 1 4x 2 10x 5

2.2 ให้ f (x ) 3x 1 และ g(x ) 2x 2 x 1 ข้อใดต่อไปนี้มีค่าเท่ากับ g f (x )


1. 18x 2 15x 4 2. 6x 2 3x 4
3. 6x 3 5x 2 4x 1 4. 2x 2 4x 2
เฉลย 1
จากโจทย์จะได้ว่า
g f (x ) g(f (x )) g (3x 1) 2(3x 1)2 (3x 1) 1 18x 2 15x 4

2.3 ให้ f (x ) 1 2x และ g(x ) x 2 2x 3 ข้อใดต่อไปนี้มีค่าเท่ากับ g f (x )


1. 4x 2 8x 2 2. 2x 3 5x 2 8x 3
3. 4x 2 2 4. 4x 2 2
เฉลย 4
จากโจทย์จะได้ว่า g f (x ) g(f (x )) g(1 2x ) (1 2x )2 2(1 2x ) 3 4x 2 2

6
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 3 เนื้อหาหลัก : ฟังก์ชันประกอบ


จุดประสงค์ของโจทย์ข้อ 3 คือต้องการทดสอบว่า นักเรียนสามารถหาฟังก์ชันประกอบจาก
ฟังก์ชันที่กาหนดให้ได้หรือไม่

3.1 ให้ f (x ) x และ g(x ) x2 ข้อใดต่อไปนี้มีค่าเท่ากับ g f (x )


1. x 2 x เมื่อ x 0 2. x 2 เมื่อ x
3. x เมื่อ x 0 4. x เมื่อ x
เฉลย 3
จากโจทย์จะได้ว่า Df [0, ) และ g f (x ) g(f (x )) g( x ) ( x )2 x เมื่อ x 0

1 x 1
3.2 ให้ f (x ) และ g(x ) ข้อใดต่อไปนี้มีค่าเท่ากับ g f (x )
x 1 x
1. x 1 เมื่อ x 0 2. x 1 เมื่อ x 1
3. x เมื่อ x 0 4. x เมื่อ x 1
เฉลย 4
1
1
1 x 1
จากโจทย์จะได้ว่า Df {1} และ g f (x ) g(f (x )) g x เมื่อ
x 1 1
x 1
x 1

1
3.3 ให้ f (x ) x และ g(x ) ข้อใดต่อไปนี้มีค่าเท่ากับ f g(x )
x2
1. | x | เมื่อ x 0 2. x เมื่อ x 0
1 1
3. เมื่อ x 0 4. เมื่อ x 0
|x | x
เฉลย 3
1 1 1
จากโจทย์จะได้ว่า Dg {0} และ f g(x ) f (g(x )) f เมื่อ x 0
x2 x2 |x |

7
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 4 เนื้อหาหลัก : ฟังก์ชันอินเวอร์ส และ ฟังก์ชันประกอบ


จุดประสงค์ของโจทย์ข้อ 4 คือต้องการทดสอบว่า นักเรียนมีความสามารถหาฟังก์ชันอินเวอร์สจาก
ฟังก์ชันที่กาหนดมาให้ได้หรือไม่ และจากฟังก์ชันอินเวอร์สที่ได้นาไปหาฟังก์ชันประกอบกับฟังก์ชันอื่นที่
กาหนดมาให้ได้หรือไม่

4.1 ให้ f {(1,2), (3, 4), (5,6), (7, 8)} และ g {( 1,2), ( 4, 3), ( 5,6), (8,7)} ข้อใดต่อไปนี้มีค่า
เท่ากับ f 1 g( 5) g 1
f (1)
1. 4 2. 2 3. 2 4. 4
เฉลย 4
เนื่องจาก f 1
g( 5) f 1(g( 5)) f 1(6) 5 และ g 1
f (1) g 1( f (1)) g 1(2) 1
ดังนั้น f 1 g( 5) g 1
f (1) 5 ( 1) 4

4.2 ให้ f {(1,2), (3, 4), (5,6), (7, 8)} และ g {( 1,2), ( 4, 3), ( 5,6), (8,7)} ข้อใดต่อไปนี้มีค่า
เท่ากับ f 1 g( 1) g 1
f (5)
1. 6 2. 5 3. 4 4. 3
เฉลย 3
เนื่องจาก f 1
g( 1) f 1(g( 1)) f 1(2) 1 และ g 1
f (5) g 1( f (5)) g 1(6) 5
ดังนั้น f 1 g( 1) g 1
f (5) 1 ( 5) 4

4.3 ให้ f {(1,2), (3, 4), (5,6), (7, 8)} และ g {( 1, 3), ( 4,2), ( 6,7), ( 8,5)} ข้อใดต่อไปนี้มี
ค่าเท่ากับ f 1
g( 4) g 1
f (1)
1. 4 2. 3 3. 2 4. 1
เฉลย 2
เนื่องจาก f 1
g( 4) f 1(g( 4)) f 1(2) 1 และ g 1
f (1) g 1(f (1)) g 1(2) 4
ดังนั้น f 1 g( 4) g 1
f (1) 1 ( 4) 3

8
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 5 เนื้อหาหลัก : ฟังก์ชันประกอบ


จุดประสงค์ของโจทย์ข้อ 5 คือต้องการทดสอบว่า นักเรียนสามารถหาฟังก์ชันประกอบจาก
ฟังก์ชันที่กาหนดให้ได้หรือไม่

x x 1
5.1 ให้ f (x ) และ g(x ) ข้อใดต่อไปนี้เท่ากับค่าของ f g(1) g f (1)
x 1 x
22
1. 1 2. 2
3. 11 4.
3 3 9
เฉลย 3
2 1
เนื่องจาก f g(1) f (g(1)) f (2) และ g f (1) g(f (1)) g 3 ดังนั้น
3 2
2 11
f g(1) g f (1) 3
3 3

2x 2x 1
5.2 ให้ f (x ) และ g(x ) ข้อใดต่อไปนี้เท่ากับค่าของ f g(1) g f (1)
x 1 x
3 9
1. 1 2. 3. 4. 5
2 2
เฉลย 3
3
เนื่องจาก f g(1) f (g(1)) f (3) และ g f (1) g(f (1)) g(1) 3 ดังนั้น
2
3 9
f g(1) g f (1) 3
2 2

|x | x2 1
5.3 ให้ f (x ) และ g(x ) ข้อใดต่อไปนี้เท่ากับค่าของ f g(1) g f ( 2)
1 |x | x
3
1. 2 2. 3. 1 4. 0
2
เฉลย 2
3
เนื่องจาก f g(1) f (g(1)) f (0) 0 และ g f ( 2) g(f ( 2)) g( 2) ดังนั้น
2
3 3
f g(1) g f ( 2) 0
2 2

9
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 6 เนื้อหาหลัก : ฟังก์ชันประกอบ


จุดประสงค์ของโจทย์ข้อ 6 คือต้องการทดสอบว่า นักเรียนสามารถนาบทนิยามของฟังก์ชัน
ประกอบไปใช้แก้ปัญหาได้หรือไม่

6.1 ให้ f (x ) 2x 1 และ f g(x ) 1 4x ข้อใดต่อไปนี้เท่ากับ g (0)


1
1. 1 2. 0 3. 4. 1
2
เฉลย 4
จากโจทย์จะได้ว่า 2g(0) 1 f (g(0)) f g(0) 1 4(0) 1 นั่นคือ g(0) 1

6.2 ให้ f (x ) 1 4x และ f g(x ) 2x 1 ข้อใดต่อไปนี้เท่ากับ g(1)


1. 3 2. 0 3. 1 4. 2
เฉลย 2
จากโจทย์จะได้ว่า 1 4g(1) f (g(1)) f g(1) 2(1) 1 1 นั่นคือ g(1) 0

2
6.3 ให้ f (x ) 1 และ f g(x ) 2x 2 1 ข้อใดต่อไปนี้เท่ากับ g (0)
x
1. 1 2. 0 3. 1 4. ไม่นิยาม
เฉลย 3
2
จากโจทย์จะได้ว่า 1 f (g(0)) f g(0) 2(0)2 1 1 นั่นคือ g(0) 1
g(0)

10
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 7 เนื้อหาหลัก : ฟังก์ชันประกอบ


จุดประสงค์ ข องโจทย์ ข้ อ 7 คื อต้องการทดสอบว่า นัก เรีย นสามารถนาบทนิย ามของ
ฟังก์ชันประกอบไปใช้แก้ปัญหาได้หรือไม่

7.1 ให้ f (x ) x 3 1 และ g f (x ) 3x 2 2 ข้อใดต่อไปนี้เท่ากับ g (9)


1. 9 2. 14 3. 28 4. 245
เฉลย 2
จากโจทย์จะได้ว่า f (2) 23 1 9 และ g(9) g( f (2)) g f (2) 3(2)2 2 14

7.2 ให้ f (x ) x 1 และ g f (x ) 2x 3 1 ข้อใดต่อไปนี้เท่ากับ g (2)


1. 2 2. 2 1 3. 3 4. 17
เฉลย 3
จากโจทย์จะได้ว่า f (1) 1 1 2 และ g(2) g( f (1)) g f (1) 2(1)3 1 3

7.3 ให้ f (x ) 3 x 1 และ g f (x ) x 2 ข้อใดต่อไปนี้เท่ากับ g (2)


1. 3 3 2. 2 3. 3 4. 4
เฉลย 3
จากโจทย์จะได้ว่า f (7) 3 7 1 2 และ g(2) g(f (7)) g f (7) 7 2 3

11
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 8 เนื้อหาหลัก : ฟังก์ชันประกอบ


จุดประสงค์ของโจทย์ข้อ 8 คือต้องการทดสอบว่า นักเรียนสามารถนาบทนิยามและสมบัติ
ของฟังก์ชันประกอบไปใช้แก้ปัญหาได้หรือไม่

2x 1
8.1 ให้ g(x ) และ f 1
g(x ) 2x 1 ข้อใดต่อไปนี้เท่ากับ f (2)
x
5
1. 2. 2 3. 4 4. 5
2
เฉลย 3
1 1
จากโจทย์จะได้ว่า f 1
g 2 1 2 และ
2 2
1
2 1
1 1 1 1 1 1 1 2
f (2) f f g f f g f f g g 4
2 2 2 2 1
2

x 2x 1
8.2 ให้ g(x ) และ f 1
g(x ) ข้อใดต่อไปนี้เท่ากับ f (1)
2x 1 x
1
1. 2. 1 3. 2 4. 3
3
เฉลย 2
2( 1) 1
จากโจทย์จะได้ว่า f 1
g( 1) 1 และ
1
1 1
f (1) f (f g( 1)) f ( f 1(g( 1))) f f 1(g( 1)) g( 1) 1
2 1

x 2
8.3 ให้ g(x ) และ f 1
g(x ) 2x 3 1 ข้อใดต่อไปนี้เท่ากับ f (15)
x 1
4
1. 2. 2 3. 8 4. 15
3
เฉลย 1
จากโจทย์จะได้ว่า f 1
g(2) 2(2)3 1 15 และ
1 2 2 4
f (15) f (f g(2)) f ( f 1(g(2))) f f 1(g(2)) g (2)
2 1 3

12
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 9 เนื้อหาหลัก : ฟังก์ชันประกอบ


จุดประสงค์ของโจทย์ข้อ 9 คือต้องการทดสอบว่า นักเรียนสามารถหาฟังก์ชันประกอบ
จากฟังก์ชันที่กาหนดให้ได้หรือไม่

9.1 ให้ f (x ) 2x 1 และ g(x ) x2 1 ข้อใดต่อไปนี้มีค่าเท่ากับ g f ( f (4)))


1. 7 2. 8 3. 10 4. 50
เฉลย 2
จากโจทย์จะได้ว่า f (4) 2(4) 1 3 และ
2
g f (f (4)) g(f (3)) g( 2(3) 1) 7 1 8

9.2 ให้ f (x ) x 2 1 และ g(x ) 1 x ข้อใดต่อไปนี้มีค่าเท่ากับ g f (g( 8)))


1. 63 2. 8 3. 3 4. 10
เฉลย 3
จากโจทย์จะได้ว่า g( 8) 1 ( 8) 3 และ
g f (g( 8)) g( f (3)) g ( 32 1) 1 ( 8) 3

x2 x 1
9.3 ให้ f (x ) 2
และ g(x ) ข้อใดต่อไปนี้มีค่าเท่ากับ f f (g(1)))
x 1 x

1. 16 2. 1
3. 4
4. 2
41 2 5
เฉลย 1
2
4
1 1 22 5 16
จากโจทย์จะได้ว่า g(1) 2 และ f f (g(1)) f (f (2)) f
1 2 2
1 4
2
41
1
5

13
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 10 เนื้อหาหลัก : ฟังก์ชันประกอบ


จุดประสงค์ของโจทย์ข้อ 10 คือต้องการทดสอบว่า นักเรียนสามารถนาบทนิยามและสมบัติ
ของฟังก์ชันประกอบไปใช้แก้ปัญหาได้หรือไม่

10.1 ให้ g(x ) 2x 3 และ g f (x ) 3x 2 ข้อใดต่อไปนี้มีค่าเท่ากับ f (0)


1 1 3
1. 2. 3. 4. 4
2 2 2
เฉลย 1
1
จากโจทย์จะได้ว่า 2 f (0) 3 g( f (0)) g f (0) 3(0) 2 2 ดังนั้น f (0)
2

10.2 ให้ g(x ) 3x 2 และ g f (x ) 2x 3 และ f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง ข้อใดต่อไปนี้มีค่าเท่ากับ


f 1 (1)
1. 1 2. 0 3. 1 4. 2
เฉลย 4
จากโจทย์จะได้ว่า 1 3(1) 2 g(1) g( f ( f 1(1))) g f ( f 1(1)) 2 f 1(1) 3 ดังนั้น
f 1(1) 2

10.3 ให้ g(x ) 2x 3 3 และ g f (x ) 3x 2 2 ข้อใดต่อไปนี้มีค่าเท่ากับค่า f ( 1)


1. 1 2. 0 3. 1 4. 2
เฉลย 3
จากโจทย์จะได้ว่า 2(f ( 1))3 3 g(f ( 1)) g f ( 1) 3( 1)2 2 5 ดังนั้น f ( 1) 1

14
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 1 เนื้อหาหลัก : ฟังก์ชันอินเวอร์ส และ ฟังก์ชันประกอบ

1.1 กาหนดให้ f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งและ g {( 1,1), (1, 3), (2, 0), (3,2), (4, 3)} ถ้า
f 1
g(x ) 4x 1 แล้วข้อใดต่อไปนี้เท่ากับค่าของ f (3)
1. 3 2. 0 3. 1 4. 3
เฉลย 1
จากโจทย์จะได้ว่า f 1( 3) f 1(g(1)) f 1
g(1) 4(1) 1 3 นั่นคือ f (3) 3

1.2 กาหนดให้ f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งและ g {( 1,2), (1, 0), (2, 3), (3,1), (4, 3)} ถ้า
f 1
g(x ) 4 x แล้วข้อใดต่อไปนี้เท่ากับค่าของ f (1)
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3
เฉลย 2
จากโจทย์จะได้ว่า f 1(1) f 1(g(3)) f 1
g(3) 4 3 1 นั่นคือ f (1) 1

1.3 กาหนดให้ f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งและ g {( 3,1), ( 1,1), (0,2), (2, 3), (3, 4)} ถ้า
f 1
g(x ) 1 3x แล้วข้อใดต่อไปนี้เท่ากับค่าของ f (2)
1. 3 2. 0 3. 1 4. 3
เฉลย 3
จากโจทย์จะได้ว่า f 1(1) f 1(g( 1)) f 1
g( 1) 1 3( 1) 2 นั่นคือ f (2) 1

29
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 2 เนื้อหาหลัก : ฟังก์ชันอินเวอร์ส และ ฟังก์ชันประกอบ

2.1 กาหนดให้ f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งและ g 1(x ) x 2 ถ้า f g(x ) 2x 1 แล้วข้อใดต่อไปนี้


เท่ากับค่าของ f (1) f 1(1)
1. 3 2. 0 3. 2 4. 3
เฉลย 2
จากโจทย์จะได้ว่า g 1(1) 1 2 1 นั่นคือ g ( 1) 1 และ
f (1) f (g( 1)) f g( 1) 2( 1) 1 3 ต่อมา เนื่องจาก
f (3) f (g(g 1(3))) f g(g 1(3)) f g(3 2) f g(1) 2(1) 1 1 ทาให้ได้ว่า
f 1(1) 3 ดังนั้น f (1) f 1( 1) 3 3 0

2.2 กาหนดให้ f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งและ g 1


(x ) 2x 1 ถ้า f g (x ) 2 x แล้วข้อใดต่อไปนี้
เท่ากับค่าของ f (0) f 1(0)
3 9
1. 0 2. 3. 3 4.
2 2
เฉลย 4
จากโจทย์จะได้ว่า g 1
(0) 2(0) 1 1 นั่นคือ g( 1) 0 และ
f (0) f (g( 1)) f g( 1) 2 ( 1) 3 ต่อมา เนื่องจาก
3 3 3 3
f f g g 1
f g g 1
f g 2 1 f g(2) 2 2 0 ทาให้ได้ว่า
2 2 2 2
3 3 9
f 1(0) ดังนั้น f (0) f 1(0) 3
2 2 2

2
2.3 กาหนดให้ f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งและ g 1
(x ) x 2 ถ้า f g(x ) แล้วข้อใดต่อไปนี้
1 2x
เท่ากับค่าของ 16 f (4) 16 f 1(4)
1. 16 2. 32 3. 113 4. 123
เฉลย 3
จากโจทย์จะได้ว่า g 1
(4) 4 2 0 นั่นคือ g(0) 4 และ
2
f (4) f (g(0)) f g(0) 2 ต่อมา เนื่องจาก
1 2(0)

30
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 3 เนื้อหาหลัก : ฟังก์ชันอินเวอร์ส และ ฟังก์ชันประกอบ

3.1 กาหนดให้ f (x ) 4x 2และ g(2 x) 16x 2 ข้อใดต่อไปนี้มีค่าเท่ากับ g f 1


(1)
1. 0 2. 9 3. 16 4. 25
เฉลย 4
3 3 3
เนื่องจาก f 4 2 1 จะได้ว่า f 1(1) ทาให้ได้ว่า
4 4 4
2
1 1 3 5 5
g f (1) g(f (1)) g g 2 16 25
4 4 4

3.2 กาหนดให้ f (x ) 2x 4 และ g(4 x) 4x 2 ข้อใดต่อไปนี้มีค่าเท่ากับ g f 1(1)


3 5
1. 1 2. 3. 4. 9
2 2
เฉลย 4
5 5 5
เนื่องจาก f 2 4 1 จะได้ว่า f 1(1) ทาให้ได้ว่า
2 2 2
2
1 1 5 3 3
g f (1) g(f (1)) g g 4 4 9
2 2 2

3.3 กาหนดให้ f (x ) 2 x 4 และ g(3 x) x3 ข้อใดต่อไปนี้มีค่าเท่ากับ g f 1(6)


4
1. 3 2. 4 3. 6 4. 212
เฉลย 2
เนื่องจาก f (1) 2 1 4 6 จะได้ว่า f 1(6) 1 ทาให้ได้ว่า
g f 1(6) g(f 1(6)) g(1) g(3 2) 23 4 4

32
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 4 เนื้อหาหลัก : ฟังก์ชันอินเวอร์ส ฟังก์ชันประกอบ และ สมบัติของฟังก์ชันประกอบ

4.1 กาหนดให้ f (x ) 3x 5 และ g(x ) 2x 1 ถ้า a เป็นจานวนจริงที่ g 1


f 1(a ) 2 ข้อใด
a
ต่อไปนี้เท่ากับค่าของ f g
2
1. 2 2. 4 3. 28 4. 58
เฉลย 3
จากโจทย์จะได้ a f (g(2)) f (2(2) 1) f (5) 3(5) 5 10 ทาให้ได้ว่า
a 10
f g f g f (g(5)) f (2(5) 1) f (11) 3(11) 5 28
2 2

4.2 กาหนดให้ f (x ) 5 3x และ g(x ) x 2 ถ้า a เป็นจานวนจริงที่ g 1


f 1(a ) 1 ข้อใด
a
ต่อไปนี้เท่ากับค่าของ f g
2
1. 4 2. 1 3. 1 4. 2
เฉลย 1
จากโจทย์จะได้ a f (g( 1)) f( 1 2) f (1) 5 3(1) 2 ทาให้ได้ว่า
a 2
f g f g f (g(1)) f (1 2) f (3) 5 3(3) 4
2 2

4.3 กาหนดให้ f (x ) 2x 5 และ g(x ) 1 3x ถ้า a เป็นจานวนจริงที่ g 1


f 1(a ) 1 ข้อใด
ต่อไปนี้เท่ากับค่าของ f g(2a )
1. 5 2. 2 3. 1 4. 2
เฉลย 1
จากโจทย์จะได้ a f (g(1)) f (1 3(1)) f ( 2) 2( 2) 5 1 ทาให้ได้ว่า
f g(2a ) f g(2(1)) f (g(2)) f (1 3(2)) f ( 5) 2( 5) 5 5

33
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 5 เนื้อหาหลัก : ฟังก์ชันอินเวอร์ส และ ฟังก์ชันประกอบ

5.1 กาหนดให้ f (x 2) 2x 3 f (x ) และ g(2x 7) 3x 1 ถ้า f ( 1) 1 ข้อใดต่อไปนี้เท่ากับ


ค่าของ g 1 f (1)
1. 1 2. 1 3. 9 4. 11
เฉลย 3
จากโจทย์จะได้ f (1) f( 1 2) 2( 1) 3 f ( 1) 2 3 1 2 และ
g 1(3x 1) 2x 7 ทาให้ได้ว่า
1
g f (1) g 1(f (1)) g 1(2) g 1(3(1) 1) 2(1) 7 9

5.2 กาหนดให้ f (x 2) 3x 2 f (x ) และ g(7x 2) 3 x ถ้า f (1) 2 ข้อใดต่อไปนี้เท่ากับค่า


ของ g 1 f ( 1)
1. 2 2. 1 3. 2 4. 3
เฉลย 1
จากโจทย์จะได้ f ( 1) f (1 2) 3(1) 2 f (1) 3 2 2 3 และ g 1
(3 x) 7x 2
ทาให้ได้ว่า g 1 f ( 1) g 1(f ( 1)) g 1(3) g 1(3 0) 7(0) 2 2

5.3 กาหนดให้ f (2x 1) 7x 2 f (x ) และ g(2x 3) 1 3x ถ้า f ( 1) 1 ข้อใดต่อไปนี้


เท่ากับค่าของ g 1 f ( 3)
1 4 19
1. 1 2. 3. 4.
3 3 3
เฉลย 4
จากโจทย์จะได้ f ( 3) f (2( 1) 1) 7( 1) 2 f ( 1) 7 2 ( 1) 4 และ
g 1(1 3x ) 2x 3 ทาให้ได้ว่า
1 5 5 19
g f ( 3) g 1(f ( 3)) g 1( 4) g 1
1 3 2 3
3 3 3

34
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 6 เนื้อหาหลัก : ฟังก์ชันอินเวอร์ส และ ฟังก์ชันประกอบ

6.1 กาหนดให้ f (x ) ax 2 b เมื่อ a, b และ g(x 2) 6x 20 โดยที่ f (2) g(2) และ

(f g )(1) 8 ข้อใดต่อไปนี้เท่ากับค่าของ f g 1(4)


1. 20 2. 4 3. 0 4. 4
เฉลย 4
จากโจทย์จะได้ 4a b a(2)2 b f (2) g(2) g(4 2) 6(4) 20 4 และ
8 (f g )(1) f (1) g(1) a(1) b g(3 2) a b 6(3) 20 a b 2 นั่นคือ
a b 10 ทาให้ได้ว่า a 2 และ b 12 ต่อมาจากโจทย์ยังได้อีกว่า g 1
(6x 20) x 2
ดังนั้น g 1
(4) g 1(6(4) 20) 4 2 2 และ
f g 1(4) f (g 1(4)) f (2) 2(2)2 12 4

a
6.2 กาหนดให้ f (x ) เมื่อ a, b และ g(2 x) 3x 10 โดยที่ f (1) g(1) และ
x b
(f g )(0) 3 ข้อใดต่อไปนี้เท่ากับค่าของ f 1
g( 1)
7 7
1. 2. 3. 4 4. 7
3 2
เฉลย 3
a
จากโจทย์จะได้ f (1) g(1) g(2 1) 3(1) 10 7 นั่นคือ a 7 7b และ
1 b
a a a
3 (f g )(0) f (0) g(0) g(2 2) 3(2) 10 4 นั่นคือ a 7b
0 b b b
7
7 1 2
ทาให้ได้ว่า a และ b ต่อมาเนื่องจาก f (4) 1 นั่นคือ f 1( 1) 4
2 2 1
4
2
ดังนัน้ f 1
g( 1) f 1(g(2 3)) f 1(3(3) 10) f 1( 1) 4

6.3 กาหนดให้ f (x ) a x b เมื่อ a, b และ g(3x 1) 6x 10 โดยที่ f (4) g(4) และ


(f g )(9) 6 ข้อใดต่อไปนี้เท่ากับค่าของ f g 1( 6)
1. 2 2. 4 3. 8 4. 12
เฉลย 2

35
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 7 เนื้อหาหลัก : ฟังก์ชันอินเวอร์ส ฟังก์ชันประกอบ และ สมบัติของฟังก์ชันประกอบ

7.1 กาหนดให้ f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งที่มีสมบัติว่า f 1


g(x ) x 2 ข้อใดต่อไปนี้เท่ากับ
f (2x ) f ( 2x )
1. g(2x 2) g( 2x 2) 2. g (0)
3. f (2x 2) f ( 2x 2) 4. f (0)
เฉลย 1
จากโจทย์จะได้ g(x ) f (x 2) ดังนั้น
f (2x ) f ( 2x ) f (2x 2 2) f ( 2x 2 2) g(2x 2) g( 2x 2)

7.2 กาหนดให้ f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งที่มีสมบัติว่า f 1


g(x ) 2x 1 ข้อใดต่อไปนี้เท่ากับ
f (2 x) f (x 2)
1 x x 3
1. f (2x 1) 2. g g
2 2
1 x x 1
3. f (1 2x ) 4. g g
2 2
เฉลย 2
จากโจทย์จะได้ g(x ) f (2x 1) ดังนั้น
1 x x 3 1 x x 3
f (2 x) f (x 2) f 2 1 f 2 1 g g
2 2 2 2

7.3 กาหนดให้ f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งที่มีสมบัติว่า f 1


g(x ) 3 2x ข้อใดต่อไปนี้เท่ากับ
f (x 2) f (x 2)
1 x 5 x
1. g g 2. f (2x )
2 2
1 x 1 x
3. g g 4. f (4)
2 2
เฉลย 1
จากโจทย์จะได้ g(x ) f (3 2x ) ดังนั้น
1 x 5 x 1 x 5 x
f (x 2) f (x 2) f 3 2 f 3 2 g g
2 2 2 2

37
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 8 เนื้อหาหลัก : ฟังก์ชันอินเวอร์ส และ ฟังก์ชันประกอบ


x
8.1 กาหนดให้ f (x ) และ g f (x ) 27x 3 9x 2 3x 2 ข้อใดต่อไปนี้มคี ่าเท่ากับ
x 1
g f 1(2)
1. 23 2. 12 3. 3 4. 23
เฉลย 2
2
2 2 3
เนื่องจาก f ( 2) 2 และ f 2 ทาให้ได้ว่า f 1(2) 2 และ
2 1 3 2
1
3
2
f 1( 2) ดังนั้น
3
2
g f 1(2) g(f 1(2)) g( 2) g(f (f 1( 2))) g f
3
3 2
2 2 2
27 9 3 2 12
3 3 3

x 1
8.2 กาหนดให้ f (x ) และ g f (x ) 3x 2 ข้อใดต่อไปนี้มีค่าเท่ากับ g f 1(2)
x
1 3
1. 1 2. 3. 4. 1
2 4
เฉลย 3
1
1
1 1 1 2
เนื่องจาก f ( 1) 2 และ f 1 ทาให้ได้ว่า f 1(2) 1 และ
1 2 1
2
1
f 1( 1) ดังนั้น
2
2
1 1 1 1 1 3
g f (2) g(f (2)) g( 1) g(f (f ( 1))) g f 3
2 2 4

2x 1
8.3 กาหนดให้ f (x ) และ g f (x ) 1 9x 2 ข้อใดต่อไปนี้มีค่าเท่ากับ g f 1

3x 1 2
1 1 4
1. 2. 3. 4. 1
5 2 5
เฉลย 3

38
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 9 เนื้อหาหลัก : โดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชันประกอบ

9.1 กาหนดให้ f (x ) 2 g(x ) และ g(x ) 1 x ข้อใดต่อไปนี้เป็นสับเซตของ Df g

1. (0,2) 2. (0,1) 3. ( , 2) 4. ( ,1)


เฉลย 2
จากโจทย์จะได้ f (x ) 2 1 x ดังนั้น
f g(x ) f (g(x )) f( 1 x) 2 1 1 x

การหา Df g จาก f g(x ) 2 1 1 x ดังนั้น 2 1 1 x 0 และ


1 1 x 0 และ 1 x 0 นั่นคือ 1 x 3 และ x 0 และ x 1 ทาให้ได้ว่า
Df g
[0,1]

1 1
9.2 กาหนดให้ f (x ) และ g(x ) ข้อใดต่อไปนี้ไม่เป็นสับเซตของ Df g
2 g(x ) 2 x
1. ( 2, 1) 2. (1,2) 3. ( 1, 0) 4. (2, 3)
เฉลย 2
1 2 x 1
จากโจทย์จะได้ f (x ) เมื่อ x 2 และ 2 หรือนั่นคือ x 2 และ
1 3 2x 2 x
2
2 x
1
2
3 1 2x 3 2x
x ดังนั้น f g(x ) f (g(x )) f เมื่อ
2 2 x 1 4 3x
3 2
2 x
1 3 1 4 3 3 4
, 2 และ x 2 นั่นคือ x , ,2 ทาให้ได้ว่า Df g
, ,2
2 x 2 2 x 3 2 2 3

x 1
9.3 กาหนดให้ f (x ) และ g(x ) ข้อใดต่อไปนี้ไม่เป็นสับเซตของ Df g
g(x ) 1 x 1
3 3
1. 1, 2. (3, 4) 3. ,2 4. (1,2)
2 2
เฉลย 4

40
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 10 เนื้อหาหลัก : ฟังก์ชันประกอบ และ โดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชันประกอบ

1
;x 0 x 2
10.1 กาหนดให้ f (x ) x และ g(x ) พิจารณาข้อความต่อไปนี้
1; x 0 x 1

x 1
ก. ;x 1 และ x 2
ข. Df {1, 2}
f g(x ) x 2 g
1; x 2

ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด 3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก และ ข ผิด
เฉลย 2
ก. ถูก จากโจทย์จะได้ว่า Dg {1} และ g (x ) 0 ก็ต่อเมื่อ x 2 ดังนั้น เมื่อ x 1 และ
g (x ) 0 หรือนั่นคือ เมื่อ x 1 และ x 2 จะได้ว่า
x 2 1 x 1
f g(x ) f (g(x )) f และเมื่อ g(x ) 0 หรือ เมื่อ x 2
x 1 x 2 x 2
x 1
x 1
จะได้ว่า f g(2) f (g(2)) f (0) 1 ทาให้ f g(x )
;x 1 และ x 2
x 2
1; x 2

ข. ผิด จากข้อ ก จะได้ว่า Df g


{1}

x; x 0
10.2 กาหนดให้ f (x ) และ g(x ) x2 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้
2; x 0

x2 1; x ( , 1] [1, )
ก. f g(x ) ข. Df g
[0, )
2; x ( 1,1)

ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด 3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก และ ข ผิด
เฉลย 2
ก. ถูก จากโจทย์จะได้ว่า Dg และ g(x ) 0 ก็ต่อเมื่อ x ( , 1] [1, ) และ
g(x ) 0 เมื่อ x ( 1,1) ดังนั้น เมื่อ g(x ) 0 หรือนั่นคือ เมื่อ x ( , 1] [1, ) จะ
ได้ว่า f g(x ) f (g(x )) f (x 2 1) x2 1 และเมื่อ g(x ) 0 หรือ เมื่อ x ( 1,1)

x2 1; x ( , 1] [1, )
จะได้ว่า f g(x ) f (g(x )) 2 ทาให้ f g(x )
2; x ( 1,1)

42
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

1
;x 1
10.3 กาหนดให้ f (x ) x2 และ g(x ) |x 1| พิจารณาข้อความต่อไปนี้
3; x 1

1
;x ( , 1] (1, )
ก. f g(x ) (x 1)2 ข. Df g
{1}
3; x ( 1,1)

ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด 3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก และ ข ผิด
เฉลย 4
ก. ผิด จากโจทย์จะได้ว่า Dg และ g(x ) 1 ก็ต่อเมื่อ x ( , 0] [2, ) และ g(x ) 1
เมื่อ x (0, 2) ดังนั้น เมื่อ g(x ) 1 หรือนั่นคือ เมื่อ x ( , 0] [2, ) จะได้ว่า
1
f g(x ) f (g(x )) f (| x 1 |) และเมื่อ g(x ) 1 หรือ เมื่อ x (0, 2) จะได้
(x 1)2
1
;x ( , 0] [2, )
ว่า f g(x ) f (g(x )) 3 ทาให้ f g(x ) (x 1)2
3; x (0,2)

ข. ผิด จากข้อ ก จะได้ว่า Df g

43

You might also like