You are on page 1of 20

คณากร กานต์ธีรดา 5741207424

รายงาน
ภูมิปุตรา กับความขัดแย้ งทางชาติ พันธุ์ของชนกลุ่มน้ อยชาวจีนในมาเลเซี ย
2402488 สั มมนาประเด็นคัดสรรด้านการเมื องโลก ภาคปลาย ปี การศึ กษา 2559

หากกล่า วถึ ง ความขัด แย้ง ทางชาติ พ ัน ธุ ์ ที่เ กิด ขึ้ น ได้ชดั ในปั จ จุ บัน เราอาจจะมองไปถึ ง การเหยี ย ดสี ผิ ว ใน
สหรัฐอเมริ กา วิกฤตการณ์ผูล้ ้ ภี ัยจากซี เรี ย หรื อกรณี โรฮิ งญาในพม่า แต่ยงั มี ความขัดแย้งทางชาติพนั ธุ ์อีกกรณี หนึ่ ง ที่เ กิ ด ขึ้ น
มาแล้วเป็ นเวลานาน และยังคงดาเนิ นต่อ ไปอย่างเงี ย บ ๆ ภายภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ย งใต้น้ ี เอง นั่นคื อความขัดแย้ง ทาง
ชาติพนั ธุ ์ระหว่างชาวมาเลย์และชาวจีน ในประเทศมาเลเซี ย

ประเทศมาเลเซี ยนั้นอยูใ่ นดินแดนตอนใต้ของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยรัฐ 13 รัฐ และแบ่งเป็ นส่วนตะวันตก หรื อ


เพนนิ นซูลามาเลเซี ย (Peninsula Malaysia) บริ เวณมหาสมุ ทรอินเดีย และช ่องแคบมะละกา เกิดจากการรวมกันของ 11 รัฐ
และเป็ นศูนย์กลางการปกครอง ส่วนตะวันออก บริ เวณส่วนเหนื อของเกาะบอร์เนี ย ว ประกอบด้วย 2 รัฐ ได้แก ่รัฐซาราวัก
และรัฐซาบาห์1 เนื่ องจากมี พรมแดนติดทะเล มาเลเซี ยจึงเป็ นกลายเป็ นจุดสาคั ญในเส้น ทางการค้าทางทะเล ซึ่ งมาพร้อมกับ
อารยธรรมและภาษาที่หลากหลาย ซึ่ งคนจีนก็เป็ นหนึ่ งในผู เ้ ดินทางดังกล่าว2

ชาวจีนอยูร่ ว่ มกับ ชาวมาเลย์ในดิน แดนบริ เ วณช ่องแคบมะละกานี้ ตั้ง แต่ราวศตวรรษที่ 5 เนื่ องจากเป็ นเส้ น ทาง
เดินเรื อในการทา “การค้าเปอร์เซี ย” การเดินทางสัญจรไม่วา่ ทางทะเลหรื อ ทางบกก็ต ้องผ่านดิน แดนส่วนนี้ อีกทั้งที่ต้ งั ทาง
ภูมิศาสตร์ตอนปลายฤดูมรสุ ม ทาให้เรื อ ทุกลมต้องรอคอยการเปลี่ยนแปลงทิ ศ ทางลมที่นี่ รวมถึงความสงบของน่านน้ าใน
ช ่องแคบก็สะดวกต่อการขนส่งสิ นค้า อีก ด้วย 3 กล่าวคื อภูมิรัฐศาสตร์ของมาเลเซี ย เอื้อ ต่อ การเกิดการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม
และความหลากหลายทางชาติพนั ธุ ์ แต่ในขณะเดียวกันชาติพนั ธุ ์ตา่ ง ๆ กลับไม่สามารถอยูร่ ว่ มกันได้อย่างสันติสุข ชาวมาเลย์
ซึ่ งเป็ นประชากรส่วนมากของประเทศ และชนกลุม่ น้อ ยชาวจี นใช้ชวี ิ ตร่วมกัน ในประเทศมาเลเซี ย กว่า 15 ทศวรรษ ด้วย
ความขัดแย้ง ซึ่ งความสัมพันธ์ของทั้งสองเชือ้ ชาติเ ข้าสู ่จุด แตกหัก ในปี ค.ศ. 1969 ผ่านเหตุการณ์ 13 พฤษภาคม ซึ่ งนิ สิต จะ
กล่าวถึงในภายหลัง และยังคงดาเนิ นมาจนถึ งปัจจุบนั

เมื่ อ มาเลเซี ย ได้รั บเอกราชจากสหราชอาณาจัก ร ในปี ค.ศ. 1957 ในฐานะสหพันธรัฐ มาลายา (Federation of
Malaya)4 กระบวนการสร้างชาติ ของมาเลเซี ย ก็เริ่ ม ต้นขึ้น อย่างเป็ น ทางการ โดยรัฐธรรมนู ญซึ่ งประกาศใช้ในปี เ ดียวกัน ทา
หน้ า ที่ น้ ั นได้อย่างดี เยี่ ยม โดยการชูค วามส าคั ญของชาวมาเลย์ซ่ ึ ง นั บถือ ศาสนาอิ สลามในฐานะเจ้าของสถานที่ และผู ท้ ี่

1
เกริ กฤทธิ์ เชื้อมงคล. เปิ ดหน้ าประวัตศิ าสตร์ มาเลเซีย. กรุ งเทพฯ : เพชรประกาย, 2559. 9.
2
เพิ่มอ้าง. 27.
3
บาร์ บารา วัตสัน อันดายา, ลีโอนาร์ ด วาย. อันดายา; พรรณี ฉัตรพลรักษ์, ผู แ้ ปล; มนัส เกยี รติธารัย, บก. ประวัตศิ าสตร์ มาเลเซีย (A History of
Malaysia). พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุ งเทพฯ : มูลนิธิโครงการตาราสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ , 2557. 32-33.
4
Hooker, Virginia Matheson. A Short History of Malaysia: Linking East and West. Chiang Mai : Silkworm Books, 2003. 207-208.

1
คณากร กานต์ธีรดา 5741207424

เหมาะสมที่จะได้รับสิ ทธิ พิเ ศษที่เหนื อ กว่า ชนชาติอื่นใดในประเทศ ชาวจีนซึ่ งเป็ นชนกลุม่ น้อย กลุม่ ที่มีจานวนมากที่ สุ ด จึ ง
กลายเป็ นผู ท้ ี่เสี ยประโยชน์สูงสุ ด ในกระบวนการสร้างชาติน้ ี จนในที่สุดความกดดันก็พฒั นากลายเป็ นความรุ น แรงและการ
ฆ่าล้างเผ่าพันธุ ์ที่เป็ นแผลลึก สัง คมมาเลเซี ยต่อมาอี กหลายทศวรรษ อย่างไรก็ตาม หากกล่าวว่า ภูมิบุตรา เป็ นเพียงเหตุ ผ ล
เดียวที่ทาให้เกิดความขัด แย้งทางชาติพนั ธุ ์ที่ดาเนิ นมาอย่างยาวนานนั้นก็เ ป็ นเหตุผลที่ไม่ถู กต้องเสี ย ทีเดีย ว เนื่ องจากปัญหา
ความขัดแย้งทางชาติพนั ธุ ์ในมาเลเซี ยนั้นเกิด ขึ้นจากความขัด แย้ง และเหตุการณ์ ที่ซั บซ้ อนและหลากหลาย ดังนั้นนิ สิตจึ ง มี
ความเห็ นว่า ภูมิปุตราไม่ใช ่เหตุผลเดียวในความขัดแย้งทางเชือ้ ชาติของชนกลุม่ น้อยชาวจีนในประเทศมาเลเซี ย

เพื่อสนับสนุ นข้อคิ ดเห็ นดังกล่าว รายงานฉบับนี้ ประกอบไปด้วย 3 ส่วนหลัก ๆ นั่นคื อส่วนของ ภูมิหลังของความ
ขัดแย้ งทางชาติพนั ธุ์ ที่จะทาให้เข้าใจถึงปัญหาดังกล่าวมากยิ่งขึ้น ประกอบไปด้วย ความหมายของภูมิปุตรา และผลที่ตามมา
ของนโยบายหรื อหลักคิ ดดังกล่าว และ ประวัติศาสตร์ ของความขัดแย้ ง ซึ่ งสามารถย้อนกลับไปถึงศตวรรษที่ 13 เมื่ อคนจีน
อพยพมาจากจีนแผ่นดินใหญ่เข้าสู ค่ าบสมุ ทรมลายู ทีล ะน้อย จนถึงวิกฤตการณ์ 13 พฤษภาคม ซึ่ งเป็ นจุดเปลี่ยนที่สา คั ญ ต่อ
พลวัตของความไม่ลงรอยกันของทั้งสองชนชาติ

ในรายงานส่วนที่ 2 คื อ ข้ อเสนอที่แตกต่ างของสาเหตุ ความขั ดแย้ งทางชาติ พนั ธุ์ ประกอบไปด้วย ลักษณะทาง
สั งคมวิทยาที่แ ตกต่ า งกัน ทาให้การหลอมรวมทางวัฒนธรรมไม่เกิด ขึ้น และสามารถรัก ษาอัตลัก ษณ์ ข องตนอย่า งเหนี ยว
แน่น บทบาทนาทางเศรษฐกิจ ของชาวจีน การครอบครองปัจ จัย การผลิ ตของชาวจีน ทาให้เกิด ความไม่พ อใจของคนมาเลย์
ซึ่ งเป็ นชนชั้นนาทางการเมื อง สวัสดิการและปั ญหาปากท้ อ ง เป็ นปัจจัยทางเศรษฐกิจของประเทศที่ ทาให้ ความขัด แย้ ง ของ
ทั้งสองชนชาติทวีข้ นึ หรื อเบาบางลง มรดกสมัยอาณานิ คม แสดงถึงร่องรอยและสิ่ งที่ ตกทอดมาจากสมัยจักรวรรดินิยม ซึ่ ง
ประเทศมาเลเซี ยถูกยึ ดครองโดยโปรตุเ กส ดัทช์ และอังกฤษ รวมกว่า 450 ปี จึงไม่แปลกที่ความขัด แย้ง ทางชาติพนั ธุ ์ เ องก็
เป็ นสิ่ งที่สื บทอดมาจากชว่ งเวลาดัง กล่า ว การกระจายอานาจทางการเมือ ง ซึ่ งเห็ นได้วา่ ความไม่เ ป็ นธรรมในการเข้า ถึ ง
ทรัพยากร รวมถึงการเป็ นตัวแทนในเวทีการเมื องทาให้ ปัญหายังคงดาเนิ นอย่างเข้มข้น

รายงานส่วนสุ ดท้า ย คื อ ภูมิปตุ ราในปัจจุบัน ประกอบด้วย 2 หัวข้อ ได้แก ่ การศึกษากรณี เ ปรี ย บเที ยบระหว่ า ง
ประเทศไทยและประเทศมาเลเซีย กล่าวได้วา่ ประเทศไทยเป็ น ตัวอย่า งหนึ่ ง ที่ชนกลุม่ น้อยชาวจีน สามารถหลอมรวมกับคน
ไทยได้อย่างดี แม้วา่ จะพบความขัดแย้งบ้างในอดี ต แต่กส็ ามารถก้าวผ่านความแตกต่างไปได้ และไม่พบเห็ นข้อพิพาทใด ๆ
ในปัจจุบนั อีกแล้ว และ ข้ อท้ ายทายใหม่ ในความสัมพันธ์ของคนจีนและคนมาเลย์ ซึ่ งเห็ นได้จากทิศทางทางการเมื องตั้ง แต่
การเลือกตั้งใน ค.ศ. 2008 ที่พรรคร่วมรัฐบาลประสบปัญหาในการรวมเสี ยงส่วนมากของประเทศ

2
คณากร กานต์ธีรดา 5741207424

ส่ วนที่หนึ่ง: ภูมิหลังของความขัดแย้ งทางชาติพนั ธุ์

ภูมิปุตรา

ภูมิปุตรา หมายถึง “ชือ่ เรี ยกในภาษามลายู แปลว่า ลูกของแผ่นดิน (Son of the Soil) ใช้เรี ยกชาวมาเลเซี ยเชื้ อ สาย
มลายู หรื อเชือ้ สายอื่น ๆ ที่เป็ นมุ สลิม และมี ถิ่น ฐานดั้งเดิม อยู ใ่ นอาณาเขตของประเทศมาเลเซี ย ปัจ จุ บนั ”5 โดยคานิ ย าม
ดังกล่าวเป็ นส่วนหนึ่ งของกระบวนการการสร้างชาติ ของมาเลเซี ย เมื่ อได้รับเอกราชภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง แนวคิ ด
ที่ เ ป็ นที่ นิ ย มของการสร้ างชาติ คื อ การรวบรวมกลุม่ ชาติ พนั ธุ ์ต า่ ง ๆ ให้ พ วกเขาเปลี่ ยนความแตกต่างทางชาติ พนั ธุ ์ ไปสู ่
ลักษณะร่วมกับชนชาติ ที่เ ป็ นฝ่ ายข้างมาก6 ดังนั้นเมื่ อชนชั้นนาของกลุ ม่ ผลประโยชน์ ตา่ ง ๆ ร่วมโต๊ะเจรจาเพื่อสร้างความ
มั่นคงของชาติเ กิดใหม่ กลุม่ พรรคการเมื อ ง BN (Barisan National / National Front) อันประกอบไปด้ว ย UMNO (United
Malay National Organization) ซึ่ งเป็ นตัวแทนคนมาเลย์ MCA (Malaysian Chinese Association) ซึ่ งเป็ นตัวแทนคนจีน และ
MIC (Malaysian Indian Congress) ซึ่ งเป็ นตัว แทนคนอิ น เดี ย จึ ง ได้ต กลงให้ชาวมาเลย์เป็ นฝ่ ายนาทางการเมื อ ง ใช้ภาษา
มาเลย์เ ป็ นภาษาประจ าชาติ พร้ อ มกับยอมรั บการมี อ ยู ข่ องชนชาติ อื่ น ๆ ที่ ไ ม่ใ ชม่ าเลย์ และไม่แทรกแซงกิจ กรรมทาง
เศรษฐกิจ7

คาศัพท์ ภูมิปุตรา เป็ นคาที่ใช้มาตั้ง แต่การแบ่งสรรอานาจทางการเมื อ งและเศรษฐกิจตามเชื้อชาติในชว่ งที่ อ ยู ใ่ น


การครอบครองของอังกฤษ โดยอังกฤษให้สิทธิ แก ่อานาจทางเศรษฐกิจกับชาวจีน และอินเดีย ในขณะที่ชาวมลายูมีสิ ทธิ ใ น
การรับราชการ และให้สุลต่านปกครองรัฐของตน ชาวมลายูจึงมี อานาจทางการเมื องและอยูใ่ นฐานะเจ้าของแผ่นดิน หรื อภูมิ
บุตร8 และปรากฏอีกครั้งในรัฐธรรมนู ญ ค.ศ. 1957 ในส่วนของการสงวนการบริ การและโอกาสกับชนชาติมาเลย์และชนพื้ น
ถิน่ ของรัฐซาบาห์และซาราวัก (Reservation of quotas in respect of services, permits, etc., for Malays and natives of any of
the States of Sabah and Sarawak) ใน Article 153 (1) มี เนื้ อหาดังนี้ :9

It shall be the responsibility of the Yang di-Pertuan Agong to safeguard the special
position of the Malays and natives of any of the States of Sabah and Sarawak and the legitimate
interests of other communities in accordance with the provisions of this Article.

กล่าวคื อ รัฐธรรมนู ญมาเลเซี ยให้สิทธิ พิเศษแก ่ชาวมาเลย์ ซึ่ งเป็ นเจ้าของอย่างชอบธรรมของดินแดน หรื อบุตรแห่ง
แผ่นดิน โดยถือเป็ นความรั บผิด ชอบของประมุ ข แห่งรัฐ อีก ด้ว ย ในบางครั้งชาวมาเลย์ก ็จ ะนั บรวม Orang Asli ซึ่ งเป็ น ชื่อ

5
ศุภการ สิริไพศาล และอดิศร ศักดิ์สูง. ภู มิปุตรา: ประวัตศิ าสตร์ ความขัดแย้งและกระบวนการพัฒนาประเทศของมาเลเซีย. กรุ งเทพฯ :
สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั , 2554. 19.
6
P. Ramasamy. “Nation-Building in Malaysia: Victimization of Indians?”. In Ethnic Relations and Nation-Building in Southeast Asia,
edited by Leo Suryadinata. Singapore : Institute of Southeast Asian Studies, 2004. 145-146.
7
Ibid. 147-148.
8
ศุภการ สิริไพศาล. ภู มิปุตรา. 40-41.
9
Attorney’s General of Malaysia. Federal Constitution. The Commissioner of Law Revision Malaysia. http://www.agc.gov.my/agcportal/
uploads/files/Publications/FC/Federal%20Consti%20(BI%20text).pdf (Accessed May 13, 2017)

3
คณากร กานต์ธีรดา 5741207424

เรี ยกชนพื้นถิ่นของมาเลเซี ย แต่บอ่ ยครั้งที่พ วกเขาก็ถูก ละเลยในทางปฏิ บัติ ซึ่ งในกรณี น้ ี รวมถึงชนพื้นเมื องของรัฐซา บาห์
และรัฐซาราวัก ซึ่ งสิ ทธิ ประโยชน์บางส่วนก็ไม่ครอบคลุมในความเป็ นจริ ง10 นอกจากนี้ ในรัฐธรรมนู ญดังกล่าวยังนิ ยามชาว
มาเลย์ไว้ดว้ ยว่าครอบคลุมถึงคนกลุม่ ใดบ้า ง ใน Article 160 (2) ซึ่ งมี เนื้ อหาดังนี้ :11

“Malay” means a person who professes the religion of Islam, habitually speaks the
Malay language, [and] conforms to Malay custom

การนิ ยามคนมาเลย์น้ ี จึงแสดงออกถึ งความเป็ นไปได้ข องการเลื่ อนขั้น ทางสั งคม กล่าวคื อแม้วา่ คนหนึ่ งจะไม่ ไ ด้
เป็ นคนมาเลย์แต่ก าเนิ ด ไม่ไ ด้สื บเชื้อ สายคนมาเลย์ แต่ห ากนั บถื อ ศาสนาอิ ส ลาม พู ด ภาษามาเลย์ และปฏิ บัติ ต า ม
ขนบธรรมเนี ยมมาเลย์ ก็สามารถเป็ นคนมาเลย์ไ ด้ตามหลัก รัฐธรรมนู ญ แต่ในขณะเดี ยวกัน การกระทาดัง กล่าวก็เ ป็ นไป
ไม่ไ ด้เ ลยส าหรั บชาวจี น ที่ แม้ จ ะพู ด ภาษามาเ ลย์ไ ด้ ก็ไ ม่ไ ด้นับถื อ ศาสนาอิ ส ลาม หรื อ มี วิ ถี ปฏิ บัติ แบบมาเลย์ค รบถ้วน
กฎหมายดังกล่าวจึงได้ผลในการยกระดับฐานะชนชาติมาเลย์

สิ ทธิ พิเศษของภูมิปุตราคื ออะไรบ้าง จากการรวบรวมของ Suresh Jeyaverasingam 12 กล่าวไว้วา่ ชาวมาเลย์และชน


ชาติพื้นเมื องได้รับสิ ทธิ พิเศษทางด้านการศึกษา การเข้ารับราชการ ธุ รกิจ การเมื อง และอสังหาริ มทรัพย์ ทางด้านการศึกษา
นั้ น ภู มิ ปุต ราจะเข้าสู ่ระบบการสอบเข้า มหาวิทยาลัยที่ แตกต่างกับคนอื่ น ซึ่ งผู ้ที่ไ ม่ใชภ่ ูมิ ปุต ราต้อ งเรี ยนเกินนอกเหนื อ
การศึ ก ษาระดับมัธยมศึ ก ษา 2 ปี และต้อ งได้ค ะแนนที่ สูง มากจึง จะมี สิ ทธิ์ เข้ า มหาวิ ทยาลัย ได้ ผู ้ที่ไ ม่ใ ชภ่ ูมิปุต ราจะไม่มี
โอกาสในการเข้าถึงทุนระดับปริ ญ ญาของรัฐบาล ส่วนภูมิปุตราจะมี มหาวิทยาลัยพิเศษที่เปิ ดให้เฉพาะภูมิปุตราเรี ยนเท่า นั้ น
ทางด้านการเข้ารับราชการนั้น ภูมิปุตราจะมี โอกาสในการก้าวหน้าในทางข้าราชการกว่ามาก และมี โควตาที่จากัดให้ ก บั ภู มิ
ปุตราในตาแหน่งที่สูงกว่า ทางด้านธุ รกิจ หากต้องการจัดตั้งกิจการเอกชนหรื อร่วมธุ รกิจกับรัฐบาล บุคคลนั้นต้องมี หุ้นส่ว น
เป็ นภูมิปุตรา โดยเฉพาะกิจการของเอกชนจะต้องจ้างภูมิปุตราในบริ ษ ัทเสมอ ทางด้านการเมื อง โควตาของที่นั่งในสภาและ
การเป็ นรัฐมนตรี กจ็ ากัดไว้ให้ กบั ภูมิ ปุตราเท่านั้น หากไม่ได้เป็ นภูมิปุตราอาจได้รับตาแหน่งสู งสุ ด แค่รัฐมนตรี ช ่วยเท่า นั้ น
และทางด้านอสังหาริ มทรัพย์ ภูมิปุตราจะได้รับส่วนลดค่าซื้ อ อสั งหาริ มทรัพ ย์ 15% และสถานที่บางแห่ง ถูกสงวนไว้ใ ห้ ก ับ
คนมาเลย์เท่านั้น (Tanah Rizab Melayu) แม้แต่การให้เช ่ายังทาได้เฉพาะกับชาวมาเลย์เท่านั้น เป็ นต้น

สิ ทธิ พิเศษต่าง ๆ เหล่านี้ มาจากเบื้องหลังความคิ ดของคนมาเลย์ ที่มองว่าตนเป็ นเจ้าของที่แท้จริ งของแผ่นดิน และ


ดินแดนมลายูเป็ นดัง่ แม่ผูใ้ ห้ กาเนิ ด กลุม่ คนชาติพนั ธุ ์ มลายู คนมาเลย์จึงให้ความสาคัญกับ ภูมิปุตรา เป็ นอย่างมาก และเป็ น
หน้าที่สาคัญที่คนมาเลย์จะต้อ งรั กษาและคงไว้ซ่ ึ งศัก ดิ์ศรี ของความเป็ นเจ้าของดิน แดนและลู กของแผ่นดิน ที่จะไม่ยอมให้

10
Hooker, Virginia Matheson. A Short History of Malaysia. 277.
11
Attorney’s General of Malaysia. Federal Constitution.
12
Suresh Jeyaverasingam. Malaysia: What's "Bumiputera's privilege"?. Quora. https://www.quora.com/Malaysia-Whats-Bumiputeras-
privilege (Accessed May 12, 2017)

4
คณากร กานต์ธีรดา 5741207424

คนต่างชาติซ่ ึ งเข้ามาทีหลังเป็ นเจ้าของหรื อ ปกครองดิน แดนนี้ 13 ซึ่ งวิธีคิดนี้ เองเป็ นชุดคาอธิ บายที่ชาวมาเลย์ให้ก บั เจ้าอา ณา -
นิ คมอังกฤษเพื่อเรี ยกร้องเอกราช ทาให้ตนมี อานาจปกครองสื บทอดจากอังกฤษเมื่ อได้รับเอกราชอย่างสมบูรณ์ 14

อย่างไรก็ตาม แนวความคิ ดที่ชาตินิยมสุ ดโต่งอย่าง ภูมิปุตรา ก็กลายเป็ นต้นตอของความขัด แย้ง ที่ตามมาอี ก เป็ น
จานวนมาก โดยหนึ่ งในจุดประสงค์ ด้ งั เดิม ของภูมิปุตราคื อ การประสานชอ่ งว่างทางเศรษฐกิจของชาวมาเลย์และชาวจี น ที่
ห่างกันมากตั้งแต่สมัยนิ คมช ่องแคบ สิ่ งที่เกิดขึ้นคื อความไม่หลอมรวมกัน ทางวัฒนธรรมของทั้งสองชนชั้น และการกีด กัน
ทางการเมื อง ทาให้ช ่องว่า งทางการเมื อ งไม่ได้รั บการประสานไปควบคู ่กนั ชนกลุม่ น้อยชาวจีนจึ ง แทบไม่มีโ อกา สทาง
การเมื อง ความคับข้องใจของชนกลุม่ น้อยชาวจีนจึงพัฒนาไปสู ค่ วามขัด แย้งทางชาติพนั ธุ ์ที่เต็มไปด้วยความรุ นแรง

ประวัติศาสตร์ ความขัดแย้ ง

จากที่นิสิตได้กล่าวไปเบื้องต้น ความขัดแย้งทางชาติพนั ธุ ์ของชาวมาเลย์และชาวจีนในประเทศมาเลเซี ยเกิดขึ้ น เป็ น


เวลานาน ก ่อนที่กฎเกณฑ์ภูมิปุตราจะบัญ ญัติ ข้ นึ และใช้อย่า งเป็ นทางการ จึงเป็ นการสมควรจะย้อนดู ภูมิห ลัง ความเป็ นมา
ของการอยูร่ ว่ มกันของทั้งสองชนชาติ

หากดูจากสัดส่วนประชากรก็จะรู ้เ บื้ องต้น ที่ ความขัด แย้ง ที่เ ห็ นได้ชดั หากย้อนกลับไปเมื่ อ ค.ศ. 1947 ภายหลัง
สงครามโลกครั้ง 2 ซึ่ งคาบเกีย่ วกับช ่วงเรี ยกร้องเอกราชจากสหราชอาณาจักร สัดส่วนประชากรของทั้งประเทศประกอบไป
ด้วย คนมาเลย์ 49.5% คนจีน 38.4% และคนอินเดีย 10.8%15 นั่นหมายความประชากรส่วนมากของประเทศมี จานวนเกินครึ่ ง
เพียงเล็กน้อย จึงไม่แปลกที่จะมองชนกลุม่ น้อยที่มี ปริ มาณใกล้เคี ย งกับตนเป็ นภัยคุก คาม และในระหว่างสหพันธรัฐมาล ายู
นั้น ช ่วงเวลาสั้น ๆ ที่มาการรวมประเทศสิ งคโปร์เข้าเป็ นส่วนหนึ่ งของประเทศ ในปี ค.ศ. 1963 ก็ทาให้การหวาดกลัวคนจี น
เป็ นเรื่ องที่สาคัญมากขึ้น สังเกตได้จากสัด ส่วนของประชากรที่เ ปลี่ ยนไป เป็ นคนมาเลย์ 49.9% และคนจีน 47.4%16 จึงไม่
แปลกเลยที่ทา้ ยที่สุด ตนกู อับดุล ราห์มาน ตัดสิ นใจตัดสิ งคโปร์ภายใต้การนาของ ลี กวนยู ออกจากสหพันธรัฐมาลายูใ นปี
ค.ศ. 1965 เพราะเกรงต่อนโยบายที่ทา้ ทายชาวมาเลย์ของพรรค PAP (People’s Action Party)17

หากย้อนดูวา่ แผ่น ดิน ประเทศมาเลเซี ยมี คนเหล่านี้ อาศัยอยูไ่ ด้อย่า งไร จะต้องย้อนไปเมื่ อ 35,000 ปี ก ่อนซึ่ งพบ
หลักฐานของการตั้งถิ่น ฐานของมนุ ษย์ครั้ งแรกในรัฐ ซาราวัก และราว 10,000 ปี ก ่อนในคาบสมุ ทรมาลายู18 คนเหล่านี้ ชน
พื้นเมื องดั้งเดิมซึ่ งตั้งถิ่นฐานอยูท่ ี่แผ่นดินมาเลเซี ยมาก ่อน ปัจจุบนั รู ้จกั ในนาม ออรัง อาสลิ (Orang Asli) ประกอบด้วยพวกนิ

13
ศุภการ สิริไพศาล. ภู มิปุตรา. 52-53.
14
เพิม่ อ้าง. 53.
15
เพิม่ อ้าง. 52.
16
เพิม่ อ้าง. 57.
17
Hooker, Virginia Matheson. A Short History of Malaysia. 222-226.
18
N.J. Ryan. A History of Malaysia and Singapore. Kuala Lumpur : Oxford University Press, 1976. 4-5.

5
คณากร กานต์ธีรดา 5741207424

กรี โต เซนนอย โปรโตมาเลย์ และเผ่าอื่น ๆ อีกกว่า 20 เผ่า19 ส่วนบรรพบุรุษของชาวมาเลย์ในปัจจุบนั นั้นเดินทางสู ด่ ินแดนนี้


เมื่ อ 1500 ถึง 500 ปี ก ่อนคริ สตกาล เมื่ อผู พ้ ูดภาษาออสโตรนี เชียนดั้งเดิมจากจีนตอนใต้อพยพกว่า 3,000 ปี สู ส่ ุ มาตราและ
คาบสมุ ทรมลายู ผู อ้ พยพเหล่านี้ ยา้ ยถิ่นฐานอย่างช้า ๆ และดัดแปลงวิถีการดาเนิ นชีวิตของตัวเองให้เข้ากับสิ่ ง แวดล้อมจากป่ า
ลึ ก สู ่ห มู ่เ กาะทะเล 20 พวกเขาผลัก ชนพื้ นเมื องเดิ มเข้า ไปส่ว นในภาคพื้ นทวี ปมากขึ้ น และตั้ง ถิ่ น ฐานอยู ท่ างตอนใต้ของ
คาบสมุ ทร กลุม่ นี้ มีชอื่ ว่าจาคุน 21

ตั้งแต่ศตวรรษที่ 4 เป็ นต้นมา ช ่องแคบมะละกาเป็ นจุดกลางของการค้าขายของอินเดีย และจีน มลายูเป็ นจุดพักซ่อม


เรื อในช ่วงมรสุ ม ทั้งยังมี วตั ถุดิบที่นามาเป็ นสิ น ค้าได้ และสามารถทาการค้าขายแลกเปลี่ยนสิ นค้ากับชนพื้นเมื อ งได้อี ก ด้ ว ย
จึ ง มี ก ารตั้ง ห้ า งค้า ขายอย่างเป็ นกิจ จะลัก ษณะ 22 และราวศตวรรษที่ 11 อาณาจัก รศรี วิ ชยั ก็ส ามารถควบคุ มชายฝั่ ง ทะเล
ตะวันออกของสุ มาตรา ชวาตะวันตก แหลมมลายู และทางตะวันตกเฉี ยงใต้ของเกาะบอร์เนี ยว ซึ่ งเห็ นได้จากบันทึกเรื่ องราว
เกีย่ วกับอาณาจักรศรี วิชยั ของชาวจีนที่มีค วามสัมพันธ์ท้ งั ทางด้านการค้า ศาสนา และสังคมวัฒนธรรม23 ก ่อนจะเปลี่ยนผ่าน
ไปสู อ่ าณาจักรมะละกาในศตวรรษที่ 14 มะละกากลายเป็ น อาณาจักรการค้าที่มั่ ง คั่ง มี เมื องท่าสาคัญ ดึงดูดพอ่ ค้าต่า งชา ติ
สร้างสถานี การค้า ซึ่ งนาไปสู โ่ รงเก็บสิ นค้าและชุม ชนการค้าที่มี ผูค้ นหลากหลาย 24 และในต้นศตวรรษที่ 15 ก็ได้พฒั นาเป็ น
รัฐสุ ลต่านมุ สลิม 25 ความเจริ ญของรัฐสุ ลต่านมะละกาจบลงการรุ กรานของตะวันตกในศตวรรษที่ 16 เมื่ อโปรตุเกสเข้าโจมตี
ในปี ค.ศ. 1511 26 ต่อด้วยการครอบครองของดัทช์ ในปี ค.ศ. 1641 27 และบริ ษทั อินเดี ยตะวัน ออก (British East India) ของ
อังกฤษในฐานะนิ คมช ่องแคบ (Straits Settlements) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 178628

จากประวัติศาสตร์ของมาเลเซี ยเบื้อ งต้น จะพบได้วา่ ภูมิรัฐศาสตร์ของมาเลเซี ยเอื้อต่อการเป็ นสั งคมพหุ วฒั นธรรม
เป็ นอย่างมาก เนื่ องจากมี สภาพเป็ นเกาะ ทาให้สามารถเดินทางไปมาได้งา่ ย และยังเป็ นจุด แลกเปลี่ ยนสิ น ค้า ที่สาคั ญ ของ
ภูมิภาคอีกด้วย ดังนั้นคาถามจึงอยูท่ ี่วา่ ความเป็ นสั งคมพหุ วฒั นธรรมเริ่ มขึ้น ตั้ง แต่เมื่ อไหร่ การติดต่อระหว่างมาเลเซี ย และ
ประเทศจีนมี มาเป็ นเวลานานแล้ว ผ่านการค้า การช ่วยเหลือทางการทหาร ปฏิ สัมพันธ์ระหว่างคณะผู แ้ ทน แต่จกั รวรรดิจี น ก็
ไม่ไ ด้มี ค วามสนใจในการยึ ด ครองมัล ละกา คนจี น จึ ง ตั้ง ถิ่ น ฐานเป็ นชุม ชนการค้ า เล็ ก ๆ ทั้ง ฝั่ ง คาบสมุ ทรและฝั่ ง เกาะ
บอร์เนี ยว29 ราวศตวรรษที่ 18 คนจีนกลุม่ แรกที่ต้ งั ถิ่น ฐานในมะละกามาจากหลากหลายเชือ้ สาย ส่วนใหญ่เป็ นชายโสดที่

19
ศุภการ สิริไพศาล. ภู มิปุตรา. 24.
20
มนัส เก ียรติธารัย, บก. ประวัตศิ าสตร์ มาเลเซีย. 17.
21
N.J. Ryan. A History of Malaysia and Singapore. 5.
22
เกริ กฤทธิ์ เชื้อมงคล. เปิ ดหน้ าประวัตศิ าสตร์ มาเลเซีย. 30.
23
เพิ่มอ้าง. 33-34.
24
ศุภการ สิริไพศาล. ภู มิปุตรา. 24-25.
25
เพิ่มอ้าง. 25.
26
เพิ่มอ้าง.
27
N.J. Ryan. A History of Malaysia and Singapore. 68-69.
28
ศุภการ สิริไพศาล. ภู มิปุตรา. 26-29.
29
N.J. Ryan. A History of Malaysia and Singapore. 136.

6
คณากร กานต์ธีรดา 5741207424

แต่ง งานข้า มเชื้อ ชาติ ก บั หญิ ง ชาวมาเลย์ บางส่ว นคงอัต ลัก ษณ์ ค วามเป็ นจี น พู ด ภาษาจี น แต่อี ก ส่ว นมี ก ารผสมผสาน
วัฒนธรรมกัน และใช้ภาษามาเลย์สาเนี ย งจีน ชาวจีนกลุม่ นี้ เรี ยกว่าจี น บาบ๋ า30 รู ปแบบปฏิ สัมพันธ์ ของทั้งสองเชื้อ ชาติ เ ริ่ ม
เปลี่ยนแปลงไปในต้นศตวรรษที่ 19 จากการอพยพของชาวจีน มาสู น่ ิ คมช ่องแคบ รู ปแบบทางสั งคมที่เ กิดขึ้น ในขณะนั้ น
เป็ นผลพวงจากปัญหาภายในประเทศของจีน นั่นการที่ประเทศจีนถูกยึดครองชาวแมนจูและสถาปนาเป็ นราชวงศ์ชงิ 31

ชาวแมนจูเป็ นดัง่ คนนอกของคนจีนเสมอ ดังนั้นการปกครองของราชวงศ์ชงิ จึ งไม่เป็ นที่ยอมรั บของชาวจีนจ านวน


มาก โดยเฉพาะทางตอนใต้ของจีน ชาวจีนจานวนหนึ่ งจึงเลือกที่จ ะข้ามสมุ ทรหนี จากราชวงศ์ที่กดขี่ และดินแดนที่ย ากต่อ
การเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจ และไปแสวงบุ ญในดิน แดนใหม่ ซึ่ งหนึ่ งในดิ นแดนเหล่านั้นคื อมาเลเซี ย32 ในสายตาของชาว
จีนนั้น ประเทศมาเลเซี ย หรื ออาณานิ คมช ่องแคบในขณะนั้น เป็ นสถานทีที่สามารถปกครองตัวเองได้มากกว่า และมี ความ
ปลอดภัยในทรัพย์สินมากกว่าอยูภ่ ายใต้ราชวงศ์ชงิ 33 พวกเขาเหล่านี้ เริ่ มต้นจากการเป็ นคนงานและนายช ่าง ก ่อนจะย้ายเข้าสู ่
การขุดเจาะเหมื องแร่ดีบุกให้ ก บั นายจ้า งชาวมาเลย์ เมื่ อจานวนชาวจีนเพิ่มมากขึ้น แบบก้า วกระโดด มาเลเซี ยก็ไม่สามารถ
จัดการควบคุมชาวจีน ได้ และการทะเลาะเบาะแว้งระหว่า งกลุม่ ของชาวจีนก็ส ร้างปัญหาให้ก บั คนมาเลย์เ ป็ นอย่างมาก แต่
อย่างไรก็ตามพวกเขาก็ไม่ห้ามการไหลข้าวของชาวจี น เพราะพวกเขาสร้างผลประโยชน์ให้ก บั ธุ รกิจเหมื อ งแร่ดี บุก ของคน
มาเลย์34 จนในที่สุด บางพื้นที่ในมาเลเซี ยกลับมี ประชากรชาวจีนมากกว่าคนมาเลย์ และนามาเลเซี ยมุ ง่ สู ส่ ังคมพหุ วฒั นธรรม
อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้35

ความแตกต่างที่สาคัญของผู อ้ พยพชาวจีนกลุม่ แรกและกลุม่ หลังคื อ การรั กษาอัต ลักษณ์ทางวัฒนธรรมของตน โดย


คนจีนในกลุม่ หลังนั้นเดินทางมาด้วยกันเป็ นจานวนมาก อยูร่ ว่ มกันเป็ นครอบครัว และสมาคม จึงไม่เป็ นการเปิ ดโอกาสให้
เกิดการหลอมรวมทางวัฒนธรรมขึ้น กลายเป็ นชุมชนที่แยกออกจากกันและพึ่งพาตนเอง36 ชาวจีนโพ้นทะเลมักจะรวมกันอยู ่
ภายใต้สมาคมลับ หรื อ อั้งยี่กก๊ ซึ่ งมี เถ้าแก ่เป็ นหัวหน้าสมาคม คอยจัดหางานและให้กยู ้ ืมเงิ น สมาคมเหล่านี้ พฒั นาขึ้นเป็ น
กลุม่ อิทธิ พลทางเศรษฐกิจที่มักมี เรื่ องวิวาทระหว่างกันเสมอ จนครึ่ งหนึ่ งลุกลามเป็ นสงครามขนาดย่อม ได้แก ่สงครามลารุ ต
(Larut War) ในปี ค.ศ. 1862 - 1873 ที่องั กฤษต้องปราบปรามด้ว ยตนเอง37 การเข้ามาของชาวจีนซึ่ งไม่มีเ จตนารมณ์ใ น การ
ผสมผสานวัฒนธรรมกับคนมาเลย์ที่มากขึ้นเรื่ อย ๆ และการจัดการที่ไม่เอื้อให้เกิดความร่วมมื อกันระหว่างสองชนชาติ ข อง
เจ้าอาณานิ คมอังกฤษ ทาให้ความขัดแย้งของชาวจีนและมาเลย์ชดั เจนขึ้นเรื่ อย ๆ 38

30
N.J. Ryan. A History of Malaysia and Singapore. 136-137.
31
Ibid. 137.
32
Ibid. 137-138.
33
Ibid. 139.
34
N.J. Ryan. A History of Malaysia and Singapore. 139-140.
35
Ibid. 140.
36
Ibid. 140-141.
37
ศุภการ สิริไพศาล. ภู มิปุตรา. 34.
38
เพิ่มอ้าง. 36-37.

7
คณากร กานต์ธีรดา 5741207424

ในช ่วงปี ค.ศ. 1930 ภาวะเศรษฐกิจตกต่า ทาให้ความต้องการยางพาราและแร่ดีบุกลดน้อ ยลง เมื่ อแรงงานอพยพ


เหล่านี้ กลายเป็ นภาระของรัฐบาลเจ้าอาณานิ คมอังกฤษ แต่พวกเขาเต็มใจที่จะอยูใ่ นคาบสมุ ทรมลายูต อ่ และปรับตัวโดยการ
หันไปประกอบอาชีพอื่น โดยเฉพาะคนจีนที่เข้ามาทาการค้า และเป็ นพ่อค้า คนกลาง กลายเป็ นผู ม้ ี อิทธิ พลทางเศรษฐกิจ สู ง
ในเวลาต่อมา39 สิ่ งที่เกิดขึ้นคื อ การแบ่งแยกที่ชดั เจนของชาวมลายู และชนกลุม่ น้อยที่ไม่ใ ชช่ าวมลายู ทั้งสองฝ่ ายมี วิถี ชีวิ ต
ภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม ที่แตกต่างกัน และมี ความพยายามรักษาอัต ลัก ษณ์ ของตนไว้ท้ งั คู40่ ความขัดแย้งระหว่างเชื้ อ
ชาติสะสมมาเรื่ อย ๆ ก ่อนจะถึงจุดแตกหักในเหตุการณ์จลาจลทางเชือ้ ชาติ ค.ศ. 1969

การจลาจลทางเชื้อ ชาติ ค.ศ. 1969 (May 13 Incident) เป็ นเหตุ ก ารณ์ ค วามรุ นแรงที่ ส ร้ างความเสี ยหายให้กบั
มาเลเซี ยเป็ นอย่างมาก เหตุ ก ารณ์ ด ังกล่าวเป็ นผลมาจากการสั่ ง สมของปั ญ หาความแตกต่างทางเชื้อชาติที่ด าเนิ นมากว่า
ทศวรรษหลังจากได้รับเอกราช41 โดยการจลาจลทางเชือ้ ชาติซ่ ึ งเริ่ มในวันที่ 13 พฤษภาคมนั้น เป็ นผลพวงมาจากการเลือกตั้ง
ในวันที่ 10 พฤษภาคม ค.ศ. 1969 นายกรัฐมนตรี ตนกู อับดุล ราห์มาน ได้จดั ให้มีการเลือกตั้ง ขึ้นในวัน ดัง กล่า วเนื่ อ งจาก
ครบรอบสมัยรัฐบาลตามที่ กาหนดไว้ในรัฐบาล42 โดยพรรคที่ครองเสี ย งข้า งมากโดยตลอดคื อ BN ซึ่ งเป็ นการรวมกัน ของ
พรรคพันธมิ ตร UMNO ผู แ้ ทนชนชาติมาเลย์ MCA ผู แ้ ทนชนชาติจีน และ MIC ผู แ้ ทนชนชาติอินเดีย แม้วา่ จะสามารถเป็ น
กระบอกเสี ยงให้กบั ชาวจีนในกระบวนการทางการเมื อง แต่อานาจของ MCA ยังไม่สามารถทาให้ความเป็ นอยูข่ องคนจี น ดี
ขึ้นได้ ประชาชนที่เคยสนับสนุ น BN จึงหันไปสนับสนุ นพรรคฝ่ ายค้านแทน เช ่น พรรคร่วมมาเลเซี ย -อิสลาม พรรคเกอรา
คาน พรรคกิจประชาธิ ปไตย พรรคร่วมจีนมาเลเซี ย พรรครายัต ฯลฯ 43

ผลการเลือกตั้งที่ออกมาเป็ น ข้อพิ สูจน์วา่ พรรค UMNO กาลังสู ญเสี ยความนิ ยมให้กบั พรรคฝ่ ายค้าน แม้วา่ จะเป็ น
เสี ยงข้างมากในสภา แต่กไ็ ด้รับที่นงั่ น้อยลงมาก จาก 89 ที่นงั่ ในการเลือกตั้งครั้งก ่อนหน้า มาเป็ น 76 ที่นงั่ ในขณะที่แกนน า
พรรค UMNO จานวนหนึ่ งพ่ายแพ้ให้กบั พรรคฝ่ ายค้านในเขตของตนด้วย ในขณะที่พรรคฝ่ ายค้ านได้ที่นั่งเพิ่มขึ้นมาเป็ น 38
ที่นั่ง จากเดิมเพียง 2-5 ที่นั่งเท่านั้น44 การแสดงออกถึ ง ความรุ น แรงเกิด ขึ้นอยู บ่ อ่ ยครั้ งก ่อนการเลือ กตั้ง และในวันที่ 12
พฤษภาคม หลังประกาศผลการเลือ กตั้งเพีย ง 1 วัน ชาวจีนก็ได้ออกมาเดินขบวนบนถนนและตะโกนคาพูด หยาบคา ยเชิง
เหยียดหยามชนชาติมาเลย์ ทาร้ายร่างกายชาวมาเลย์ สร้างความเดือดร้อนและความไม่พอใจกับชาวมาเลย์อย่างมาก 45 เป็ น
เหตุให้ในวันที่ 13 พฤษภาคม หรื อวันต่อมา ชาวมาเลย์ได้ทาการโต้ก ลับด้วยการก อ่ จลาจลทางเชือ้ ชาติ ข้ นึ เหตุการณ์บาน
ปลายจากในเมื องหลวงกรุ งกัวลาลัมเปอร์ไปทัว่ ประเทศ และดาเนิ นไปกว่า 2 เดือน จนถึงเดือนกรกฎาคมในปี เดียวกัน46 ทา
ให้รัฐบาลตนกู อับดุล ราห์มานประกาศภาวะฉุ กเฉิ นทัว่ ประเทศ และสมเด็จพระราชาธิ บดี แห่งมาเลเซี ย สุ ลต่านไซนัล อบิ

39
ศุภการ สิริไพศาล. ภู มิปุตรา. 37.
40
เพิ่มอ้าง. 37-38.
41
เพิ่มอ้าง. 60.
42
เพิ่มอ้าง. 64.
43
เพิ่มอ้าง. 64-65.
44
เพิ่มอ้าง. 67-69.
45
เพิ่มอ้าง. 70.
46
เพิ่มอ้าง. 70-71.

8
คณากร กานต์ธีรดา 5741207424

ดิน ทรงปรากฏพระองค์ ผา่ นการถ่ายทอดทางโทรทัศน์เพื่อ ทรงเรี ย กร้อ งให้เ กิด ความสงบสุ ข และสามั คคี ปรองดอง ของคน
ในชาติ47 ผลของการจลาจลทางเชือ้ ชาติทาให้มียอดผู เ้ สี ย ชีวิ ตอย่างเป็ น ทางการ 196 คน และคาดการณ์วา่ มี ยอดผู เ้ สี ยชีวิต จริ ง
ถึง 600 คน48

ภายหลังเหตุการณ์นองเลือดดัง กล่าว ตุน อับดุล ราซัก นายกรัฐมนตรี คนใหม่ ได้นาเสนอนโยบายเศรษฐกิจ ใหม่


(New Economic Policy : NEP) ซึ่ งเป็ นการแก้ไขปัญหาความยากจน ความเหลื่อมล้ าทางสัง คม และช ่องว่างทางฐาน ะและ
รายได้49 ซึ่ งได้รับความร่วมมื อจากชาวจีน ผ่านกระบวนการเลือ กตั้ง และการเป็ นตัว แทน โดยในมาเลเซี ยตะวันตกมี พ รรค
การเมื องผู แ้ ทนชาวจีนถึง 3 พรรค50 ความร่วมมื อภายใต้กรอบของ NEP ทาให้เกิดจุดสมดุลในความสัมพันธ์ทางชนชา ติ ใ น
มาเลเซี ย51 แม้วา่ การเหยียดเชือ้ ชาติย ังคงดาเนิ นให้เห็ น อยูโ่ ดยทัว่ ไปแม้ในปัจ จุ บนั เช ่น ในเดือนกันยายน ค.ศ. 2015 มี การ
เดินขบวนของชาวมาเลย์เสื้ อ แดงกว่า 30,000 คน ผู ส้ นับสนุ นพรรครัฐบาล UMNO ในย่าน Chinatown ผู ช้ มุ นุ มตะโกนว่า
ร้ายพรรคฝ่ ายค้านซึ่ งเป็ นตัวแทนของชาวจีน แสดงออกว่าศาสนาประจาชาติคือ ศาสนาอิสลาม และชาวมาเลย์คือผู เ้ จ้า ของที่
ชอบธรรมของดิน แดนนี้ 52 เหตุการณ์ดงั กล่าวเป็ นเครื่ องยืนยันอย่างดีวา่ ความตึ งเครี ย ดระหว่า งสองชนชาติย ังคงมี อ ยูเ่ สม อ
แต่ยงั ไม่ปะทุเป็ นความรุ นแรงดัง่ ที่เกิด ขึ้นใน ค.ศ. 1969

ปัจจุบนั สัดส่วนประชากรของประเทศมาเลเซี ย เปลี่ยนไปจากสมัยได้รั บเอกราชพอสมควร ด้วยคนมาเลย์ รวมชน


พื้นเมื อง (ภูมิปุตรา) 61.9% คนจีน 22.6% คนอินเดีย 6.7% จากประชากรประมาณ 30 ล้านคน 53 คนจีนจึงมี จานวนราว 7
ล้านคน ด้วยสภาพความเป็ นอยูแ่ ละสาธารณสุ ขที่เ อื้อ ประโยชน์ต อ่ คนมาเลย์มากยิง่ ขึ้น ชาวมาเลย์จึงมี สว่ นแบ่งของสั ด ส่ว น
ของประชากรที่เพิ่มขึ้น แต่ทว่าก็ยงั สามารถกล่าวได้วา่ ชนกลุม่ น้อยชาวจีน เองก็ยงั คงมี อยูจ่ านวนมาก

47
ศุภการ สิริไพศาล. ภู มิปุตรา. 71-72.
48
เพิ่มอ้าง. 74.
49
เพิ่มอ้าง. 76.
50
Lee Kam Hing and Heng Pek Koon. “The Chinese in the Malaysian Political System.” In The Chinese in Malaysia. Lee Kam Hing and
Tan Chee-Beng, eds. Oxford : Oxford University Press, 2000. 212.
51
Ibid. 223-224.
52
Trinna Leong and Ebrahim Harris. Pro-Government Malaysian Rally Raises Worry about Ethnic Tension. Reuters.
http://www.reuters.com/article/us-mamalaysia-politics-idUSKCN0RG0GD20150916 (Accessed May 13, 2017)
53
United States Central Intelligence Agency. The World Factbook: Malaysia. https://www.cia.gov/library/publications/the-world-
factbook/geos/my.html (Accessed May 13, 2017)

9
คณากร กานต์ธีรดา 5741207424

ส่ วนที่สอง: ข้ อเสนอที่แตกต่ างของสาเหตุความขัดแย้ งทางชาติพนั ธุ์

จากที่นิสิตได้กล่าวไว้ในส่วนที่ 1 ปูมหลังของความขัดแย้งทางชาติพนั ธุ ์ของชาวมาเลย์และชนกลุม่ น้อยชาวจี น นั้ น


มี มาก ่อนหน้าการปฏิ บตั ิใช้ภูมิ ปุต ราแล้ว ซึ่ งมองย้อนกลับไปได้ต้ งั แต่การเข้ามาของชาวจีนในแผ่นดินมะละกา ส่วนภูมิ ปุ
ตราเองก็มีความสาคัญในฐานะเครื่ องตอกย้ าความขัด แย้งดังกล่าว อันนาไปสู ก่ ารจลาจลทางชาติพนั ธุ ์ทั่ว ประเทศมาเลเซี ย
ใน ค.ศ. 1969 ดังนั้นเมื่ อความเชือ่ ที่วา่ ภูมิปุตราเป็ นต้นทางของปัญหาความไม่ลงรอยกันของทั้งสองชาติพนั ธุ ์น้ นั ไม่ใชเ่ รื่ อง
ที่สาคัญที่สุดแล้ว อะไรคื อสาเหตุของความขัด แย้ง ทางชาติพนั ธุ ์ในมาเลเซี ย ซึ่ งนิ สิตจะกล่าวต่อไป ซึ่ งทุกหัวข้อต่อไปนี้ ต่า ง
ใช้ประกอบกันโดยไม่สามารถละสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ งไปได้

ลักษณะทางสั งคมวิทยาที่แตกต่ างกัน

ความไม่ลงรอยของชาวมาเลย์และชาวจีนในประเทศมาเลเซี ยนั้น สามารถใช้กรอบที่ งา่ ยที่สุ ดในการมอง นั่นคื อ


ลักษณะทางสังคมวิทยาที่ แตกต่างกันของทั้งสองชนชาติ ณัจฉลดา พิชติ ให้บรรยายลักษณะของสภาพความเป็ นอยูข่ องชาว
มาเลย์ในประเทศมาเลเซี ย ว่า “หมู บ่ า้ นชาวมาเลย์เป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมมุ มฉากแบบบ้านในชนบท... มี ระเบียงอยูห่ น้าบ้านและมี
ห้องใหญ่ มี ห้องนอนหลายห้องอยูข่ า้ งหลัง ภายในบ้านจะมี ห้องสวดมนต์อยูห่ นึ่ งห้อง... บ้านในชนบทของชาวมาเลย์จ ะอยู ่
เป็ นครอบครั ว เดี่ ย ว จะมี สุ เ หร่าในทุ ก หมู ่บ้าน เวลาเข้าสุ เหร่าจะไม่ส วมรองเท้า ” 54 และเมื่ อ กล่าวถึง ผู ้นาของชุมชน “...
หัวหน้าของหมู บ่ า้ นจะได้รับเลือกจากผู ม้ ี ความสามารถมี ความซื่ อสัตย์และจริ งใจต่อหมู ่บ้าน เป็ นผู น้ าประกอบพิธีกรรมทาง
ศาสนาต่าง ๆ ... ผู ท้ ี่ได้ไปแสวงบุญ ที่เมกกะมาแล้วมั กจะได้รั บความเคารพยกย่อ งนับถื อหน้าตา”55 จากส่วนนี้ จึงกล่าวได้ว า่
คนมาเลย์โดยทัว่ ไปให้ความสาคัญกับศาสนาอิสลามเป็ นอย่างมาก และในส่วนของหน้าที่การงาน “...ชาวนาบางคนพอหมด
หน้านาก็จะไปกรี ดยางพารา เด็ก ๆ ชอบกรี ดยางพารามากกว่าทานา แต่ผูส้ ู งอายุชอบทานามากกว่าการกีดยางพาราซึ่ งเริ่ ม ใน
ตอนเช้า เพราะในตอนเที่ยงยางเมื่ อถูกความร้อนจะไม่ไหล ชาวมาเลย์นอกจากปลูกข้าวแล้ว มี อาชีพทาเนื้ อมะพร้าวตากแห้ ง
น้ ามันมะกอก สับปะรด กาแฟ ไร่ขิง ยาสู บ... ชาวมาเลย์บางคนมี อาชีพเป็ นชาวประมง”56 และส่วนสุ ดท้ายในด้านการศึ ก ษา
และอาชีพการงาน “...ชาวชนบทในรอบนอกโดยปกติจะมี การศึกษาในเกณฑ์บงั คั บ และไม่สามารถทางานรัฐบาลได้ มักจะ
เข้าไปทางานเป็ นผู ช้ ่วยแม่บา้ น คนสวน คนขับรถ กรรมกร ทางานในโรงงานอุตสาหกรรม คนในเมื องที่มีการศึกษาสู ง กว่ า
เกณฑ์บงั คับ จะมี อาชีพเสมี ยน ครู ผู ท้ ี่มีการศึกษาสู ง กว่านี้ ก็มีโ อกาสทางานอาชีพ ก้าวหน้า ”57 สังเกตได้วา่ โดยทัว่ ไปชาว
มาเลย์จะค่อนข้างใช้ชวี ิต อย่างสมถะ และจะมี เพียงผู ท้ ี่มีการศึก ษาสู งเท่านั้น ที่จะมี โอกาสในการเข้าถึงอานาจทางการเมื อง
หรื อการรับข้าราชการ โดยทัว่ ไปไม่นิยมสะสมทุนหรื อทาการค้า

54
ณัจฉลดา พิชิต. วัฒนธรรมและสังคมในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้. กรุ งเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคาแหง, 2520. 39.
55
เพิ่มอ้าง.
56
เพิ่มอ้าง.
57
เพิ่มอ้าง.

10
คณากร กานต์ธีรดา 5741207424

ต่อมในส่วนของชาวจีนในประเทศมาเลเซี ย ณัจฉลดา พิชติ อธิ บายไว้วา่ “...ชาวจีนยังคงสภาพด้านวัฒนธรรมแห่ง


ความเป็ นความจีนได้และชาวมาเลย์คิด ว่า ชาวจีน เป็ น ชาวต่างชาติ ที่เ ข้ามาทามาหากินในประเทศของตน ”58 จากข้อความ
ข้างต้นก็เห็ นได้ชดั ถึงความไม่ผสมกลมกลืนกันทางวัฒนธรรมของทั้งสองชนชาติ ผ่านทางความแตกต่างทางลักษณะสั ง คม
วิทยาแล้ว นอกจากนี้ ยงั ได้กล่าวเพิ่มอีกว่า “ชาวจีนส่วนใหญ่ค้าขายอยูใ่ นเมื อง คนจีนที่ร่ ารวยจะปลูกบ้านแบบยุโรป มี คนรับ
ใช้ คนสวน คนชั้นกลางจะอยูบ่ า้ นหลังย่อมลงมาและบางคนก็ทาการค้าขายแบบตึ ก แถว โดยมี ช้นั ล่างค้าขายและชั้นบนเป็ น
ที่พกั อาศัย คนยากจนในเมื องจะอยูใ่ นตึก แถวที่ เก ่าหรื อ แฟลตที่ สร้า งให้ สาหรั บคนจนเข้าพักอาศัย ”59 การแบ่งแยกชน ชั้น
ของคนจีนอยูท่ ี่สถานภาพทางเศรษฐกิจเป็ นหลัก นอกจากนี้ ชาวจีนยังคงยึดความเป็ นพื้นถิ่น ของตนด้วย “...ชาวจีนฮกเกี้ยน
จะมี อาชีพค้าขายตามร้านค้าในเมื องมะละกา ปี นัง ทาไร่สับปะรด... คนกวางตุง้ มี อาชีพทาแร่ดีบุก คนแต้จวิ๋ ส่วนใหญ่จ ะอยู ่
ในเมื อง คนไฮหลาจะอยูใ่ นเมื องเล็ก ๆ ค้าขายของ ทายาง รับจ้าง เล็ก ๆ น้อย ๆ ทัว่ ไป”60 ในส่วนนี้ เราจะเห็ นได้วา่ คน จี น
นอกจากรักษาอัตลักษณ์ความเป็ นจีนแล้ว ยังคงความเป็ นท้องถิ่นของตนอีกด้วย และการงานผู กพันกับการค้าและเศรษฐ กิจ
เป็ นส่วนมาก ต่อไปแสดงถึง การครอบครองปั จจัย การผลิ ตที่ สาคัญ “...ชาวจีนจะเป็ นเจ้าของอุตสาหกรรมแร่ อุตสาหกรรม
สับปะรด ซึ่ งนับว่าเป็ นสิ นค้าออกที่สาคัญอัน ดับที่ 3 ก็ตกอยูใ่ นมื อของชาวจีน... นอกจากนี้ ชาวจีนมี อาชีพทางปลู กผั ก ขาย
บางกลุม่ เป็ นชาวประมงก็อยูท่ างภาคตะวันตกของมาเลเซี ย มี ท้ งั การจับปลาด้วยวิธีธรรมดา และใช้เรื อลากอวน”61 ทั้งหมดนี้
แสดงให้ภาพว่าชาวจีนนั้นอยูใ่ นสถานะของเจ้าของปัจจัย การผลิต และมี สถานะเหนื อในทางเศรษฐกิจกับคนมาเลย์เกือ บทุ ก
ทาง ในส่วนของวัฒนธรรมนั้น การเคารพผู ส้ ู งอายุและสายเลือ ดเป็ น สิ่ ง สาคัญ สาหรั บคนจีนมาก “...ชาวจีนให้ความสาคั ญ
กับแซ่ (นามสกุล) คนแซ่เดียวกันถือว่ามี บรรพบุรุษร่วมกัน... ช ่วยเหลือกันเพื่อความสุ ขสมบูรณ์ข องคนสกุ ลเดีย วกัน มี การ
ตั้งสมาคมเรี่ ยรายเงิ นเพื่อช ่วยเหลือชาวจีนแซ่เดียวกัน ที่มีฐานะยากจน... ผู อ้ าวุโสได้รับความเคารพเชือ่ ฟั ง ผู ห้ ญิ งจีนต้องเชื่อ
ฟั งสามี ... ลูกต้องเชือ่ ฟั งพ่อ... ผู ห้ ญิ งจีนต้องการลูกชายเพื่อ จะได้มีอานาจควบคุม ลูก สะใภ้ ”62 สิ่ งที่ทาให้ความสัมพันธ์ ข อง
ทั้งสองชนชาติซั บซ้นมากขึ้น คื อความเข้มแข็ง ของสมาคมและการนั บถื อตระกูล ของคนจีน ซึ่ งเป็ นเหตุที่ทาให้การหลอม
รวมวัฒนธรรมเป็ นไปได้ยาก

จากที่กล่าวเบื้องต้น จะเห็ นได้วา่ ลักษณะของชาวจีนและชาวมาเลย์มี ความแตกต่า งกันตั้ง แต่พื้นฐาน จึงไม่แปลกที่


ความร่วมมื อของทั้งสองชนชาติน้ นั จะเป็ นไปได้ยาก พื้นฐานที่แตกต่างกันนี้ สว่ นหนึ่ งเกิดมาจากลัก ษณะภูมิประเทศดั้ งเดิ ม
ด้วย คนจีนซึ่ งอพยพมาจากแผ่น ดินใหญ่ ย่อมมี อุปนิ สัยที่แตกต่างจากคนมาเลย์ซ่ ึ ง อาศัย อยูใ่ นลัก ษณะหมู เ่ กาะตั้ง แต่บรรพ
บุรุษ ความสัมพันธ์ของทั้งสองชนชาติสามารถสรุ ปออกมาได้จากข้อ ความต่อ ไปนี้ “ชาวจีนในมาเลย์ก ่อให้เกิด ปัญ หา แก ่
รัฐบาลมาเลย์เรื่ องความสนใจทางการเมทองและความร่ ารวยที่ใคร ๆ ก็พากันอิจฉา แต่คนจีนส่วนใหญ่ในมาเลย์ที่ยากจนจะ
ยากจนจริ ง ๆ ที่รวยก็รวยจริ ง ๆ ชาวจีนและชาวมาเลย์มรความรักชาติอย่างรุ น แรงเท่ากัน ความมั่นคงทางการเมื องขึ้นอยู ก่ บั

58
ณัจฉลดา พิชิต. วัฒนธรรมและสังคมในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้. 40.
59
เพิ่มอ้าง.
60
เพิ่มอ้าง.
61
เพิ่มอ้าง.
62
เพิ่มอ้าง.

11
คณากร กานต์ธีรดา 5741207424

ความสัมพันธ์อนั ดีของทั้งสองฝ่ าย คนมาเลย์ที่มีฐานะยากจนจะยอมรั บการปกครองของชาวมาเลย์ช้นั สู ง แต่จะไม่ยอมรั บ


ชาวจีน”63

บทบาทนาทางเศรษฐกิจของชาวจีน

จากลักษณะทางสัง คมวิ ทยาที่ก ล่าวไปเบื้อ งต้น ตั้งแต่อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในดิน แดนใหม่เพีย งไม่นาน ชาวจีน


ได้ทาการครอบครองปั จจัย การผลิ ตของมาเลเซี ยจานวนมาก ภายในศตวรรษที่ 19 ชาวจีนสามารถครอบงาเกษตรกรรมเชิง
พาณิ ชย์ และการทาเหมื องแร่ได้สาเร็ จ64 ในขณะที่ชาวมาเลย์มีฐานะทางเศรษฐกิจ ที่ไม่สู้ดีนั ก ก ่อนเหตุการณ์การจลาจลทาง
ชาติพนั ธุ ์ในปี ค.ศ. 1969 ผลการสารวจดัชนี ความยากจนของประเทศมาเลเซี ย แยกตามกลุม่ เชือ่ ชาติ พบว่า ชาวมาเลย์มีดชั นี
ความยากจนอยูท่ ี่ 66.2 ในขณะที่คนจีนมี ดชั นี ความยากจนเพียงแค่ 29.6 เท่านั้น65 การแสดงออกถึงบทบาทนาทางเศรษฐกิ จ
ของชาวจี น จึ ง เป็ นปั จ จัย หลัก ที่ ทาให้ ค นมาเลย์ไ ม่พ อใจสถานะของคนจี น และมองว่า กลุ ม่ คนเหล่า นี้ ก าลัง ตัก ตวง
ผลประโยชน์จากดินแดนของตน ในขณะที่ตวั เองประสบกับความยากลาบาก

ต่อมาเมื่ อชาวมาเลย์ได้รับการศึกษามากขึ้น และมี สว่ นร่วมทางการเมื องในฐานะสมาชิกพรรค UMNO พวกเขาก็มี


ความสนใจและพุง่ แรงกดดันไปที่ ปฏิ บตั ิ การเพื่ อกระจายความมั่ง คั่ งเข้า สู ช่ าวมาเลย์มากยิ่ง ขึ้น 66 การประชุมใหญ่ทางด้า น
เศรษฐกิจถูกจัดขึ้น 2 ครั้ง ระหว่างปี ค.ศ. 1965 และ 1968 ซึ่ งได้ผลผลิตเป็ นมาตรการต่า ง ๆ ที่สง่ เสริ มการพัฒนาเศรษฐกิจ
มลายู แต่ไม่มีมาตรการใด ๆ ที่กล่าวถึงการขจัดความยากจนอย่างเป็ นรู ปธรรมและเห็ นผล 67

ภายหลัง เหตุ ก ารณ์ ใ นปี ค.ศ. 1969 การด าเนิ น การนโยบายเศรษฐกิจ ใหม่ (New Economic Policy : NEP) มี
วัตถุประสงค์หลัก 2 ประการ ได้แก ่ การลดและกาจัดความยากจนโดยไม่คานึ ง ถึงเชือ้ ชาติ และการจัดโครงสร้างสัง คมใหม่
เพื่อลดและกาจัด การกาหนดเชือ้ ชาติใ ห้ทาหน้า ที่ ทางเศรษฐกิจ 68 โดยวัตถุประสงค์ แรกนั้นบรรลุ ผลสาเร็ จ ได้เนื่ องจากการ
อ านวยความสะดวกเรื่ อ งที่ ดิ น ทุ น ที่ เ ป็ นวัต ถุ การฝึ กปบรม และที่ พ ัก ผ่อ นหย่อ นใจสาธารณะส าหรับผู ้ด ้อ ยโอกาสทาง
เศรษฐกิจ ลดภาวะการพึ่งพาเกษตรกรรมเพื่ อการยัง ชีพของชาวมาเลย์และชาวพื้นเมื อง 69 ส่วนในวัตถุประสงค์ ที่สองนั้ นมี
ความเป็ นไปได้ยากกว่า เนื่ องจากการจัดโครงสร้างใหม่ต ้องไม่ใชก่ ารกระจายทรัพ ยากรที่มี อยูเ่ สี ย ใหม่ แต่ตอ้ งคานึ งถึง การ
คงไว้ซ่ ึ งการเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจเดิมด้วย เพื่อว่าจะไม่มีกลุม่ ใดที่ประสบกับการสู ญเสี ยเป็ นพิเศษ หรื อถูกกีดกันออกไป

63
ณัจฉลดา พิชิต. วัฒนธรรมและสังคมในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้. 41.
64
มนัส เก ียรติธารัย, บก. ประวัตศิ าสตร์ มาเลเซีย. 224-225.
65
ศุภการ สิริไพศาล. ภู มิปุตรา. 55.
66
มนัส เก ียรติธารัย, บก. ประวัตศิ าสตร์ มาเลเซีย. 501-502.
67
เพิ่มอ้าง. 502.
68
เพิ่มอ้าง. 502-503.
69
เพิ่มอ้าง. 503.

12
คณากร กานต์ธีรดา 5741207424

จากกระบวนการ70 สิ่ งที่เกิดขึ้นคื อ การจัด โครงสร้างของการศึ กษาเสี ยใหม่เพื่ อ ชาวมาเลย์ ซึ่ งเป็ นการศึก ษาที่ต รงข้า ม กับ
การศึกษาในสมัยอาณานิ คม กล่าวคื อภาษาพื้นเมื องอย่างง่าย ๆ ไม่เพียงพอต่อการทาให้ชาวมาเลย์สามารถย้ายเข้าไปทางาน
ในเขตที่กลุม่ ชาติพนั ธุ ์อื่นครอบครองมาก ่อน 71

นโยบาย NEP ประสบความสาเร็ จพอสมควรในการลดแรงกดดันจากทางฝั่งมาเลย์ วัดจากการขยายตัวของชนชั้น


กลาง ซึ่ งมี ขนาดเพิ่มขึ้นเป็ น 1 ใน 3 ในปี ค.ศ. 199072 และในตลาดแรงงานปรากฏส่วนประกอบที่เป็ นชาวมาเลย์เพิ่มมากขึ้ น
ซึ่ งเป็ นผลมาจากการคัดเลือกที่ให้สิทธิ พิเศษแก ่ชาวมาเลย์ในภาคสาธารณะ และแรงกดดันรัฐบาลต่อวิ สาหกิจเอกชนในการ
จ้างชาวมาเลย์73 ภายในเวลา 20 ปี แรงงานชาวมาเลย์ที่ทางานในอาชีพของชนชั้นกลาง ด้านวิชาชีพ เทคนิ คการบริ หาร การ
จัดการ งานเสมี ยน งานขาย เพิม่ ขึ้นจากร้อยละ 13 ไปสู ร่ ้อยละ 27 และคนงานชาวมาเลย์ในระบบ เพิม่ ขึ้นจากร้อยละ 7.8
ไปสู ร่ ้อยละ 22 ในช ่วงเวลาเดียวกัน 74

ดังนั้นหากถามว่านโยบาย NEP แก้ปัญหาบทบาทนาทางเศรษฐกิจของชาวจีนได้อ ย่างครบถ้วนหรื อ ไม่ คาตอบคื อ


ยังไม่ได้อย่างครบถ้วน โดยสังเกตได้จากจานวนตลาดแรงงานที่สัดส่วนคนมาเลย์ยงั คงมี ปริ มาณน้อยหากเทีย บกับคนจีน ซึ่ ง
หากเทียบกันจริ งก็ยงั แสดงบทบาทนาในทางการค้า หรื อทางเศรษฐกิจโดยรวมอยู ่ แต่กช็ ่วยคลายความตึ งเครี ยดในฝั่ ง ของ
ชาวมาเลย์ได้มาก ในทางกลับกัน กฎระเบียบที่มากขึ้น กลับส่ง ผลเสี ย ต่อชาวจีนอย่า งหลีก เลี่ ยงไม่ไ ด้ NEP ก็มีมาตรการที่
รองรับในส่วนนี้ เ ช ่นเดีย วกัน เช ่นพรรคร่วมรัฐบาล MCA มี โครงการในการตั้ง วิทยาลัย ตวนกู อับดุล เราะห์มาน ในการ
จัดสรรที่สาหรับการศึกษาให้กบั ชาวจีนที่ไม่สามารถเจ้ามหาวิทยาลัย ที่มีกฏเกณฑ์ข องภูมิปุตราได้75 มาตรการนี้ และอื่น ๆ ที่
นิ สิตไม่ได้กล่าวถึง ช ่วยผ่อนคลายแรงกดดันที่มีตอ่ ครอบครัว ชาวจีนได้ก ็จริ ง แต่ความขัดแย้งก็ยงั ถูกซ่อนอยูภ่ ายใน กล่าวคื อ
ความพยายามในการจัดโครงสร้างใหม่โดยไม่ให้มีใครเสี ยประโยชน์น้ นั แทบจะเป็ นไปไม่ได้เลย และผู ท้ ี่กาลังเสี ยประโยชน์
คื อชาวจีนที่กาลังประสบกับการแบ่งพื้นที่ทางเศรษฐกิจของชาวมาเลย์ และพื้นที่ทางการเมื องที่ไม่ได้รับ และไม่มีต้ งั แต่ตน้

สวัสดิการและปัญหาปากท้ อง

ความอยูด่ ีกนิ ดีและการจัดสวัสดิการของรัฐเป็ นตัวชะลอความรุ น แรงในความขัด แย้ง ทางชาติพนั ธุ ์ของทั้ง สองชน


ชาติได้ดีที่สุ ด ไม่วา่ จะเป็ นฝ่ ายชาวมาเลย์หรื อ ชาวจีน หากปัญหาของความแตกต่า งของชาติพนั ธุ ์ส ่ง ผลกระทบต่อ ความ
เป็ นอยูใ่ นชีวิตประจาวัน ก็ยอ่ มทาให้เกิดความไม่พอใจที่พฒั นาเป็ นความรุ น แรงได้ การทางานของสวัสดิการของมาเลเซี ย
ทางานควบคูก่ บั แนวคิ ดภูมิปุตราและ NEP นั่นคื อสิ ทธิ พิเศษที่รัฐบาลมอบเป็ นสิ ทธิ พิเศษของชาวมาเลย์และชนพื้นเมื อง

70
มนัส เก ียรติธารัย, บก. ประวัตศิ าสตร์ มาเลเซีย. 503.
71
เพิ่มอ้าง. 515.
72
เพิ่มอ้าง. 522.
73
เพิ่มอ้าง.
74
เพิ่มอ้าง. 522-523.
75
เพิ่มอ้าง. 522.

13
คณากร กานต์ธีรดา 5741207424

จากแผน Outline Perspective Plan (OPP) ซึ่ งเป็ นแผนงานระยะยาว 20 ปี ระหว่า งปี ค.ศ. 1970 ถึ ง 1990 เป็ น
แผนการที่แสดงถึ ง ความพยายามของรัฐ บาลในการจัด สวัสดิ การรัฐ ที่มี ประสิ ทธิ ภาพสาหรั บคนมาเลเซี ยมากที่ สุ ด โดยมี
เป้าหมายในการลดความยากจน จากร้อยละ 49 เป็ นร้อยละ 16 โดยเฉพาะเขตชนบทซึ่ งเป็ นเป้าหมายหลัก จะลดลงจากร้ อ ย
ละ 59 ร้อยละ 23 76 นอกจากนี้ รัฐบาลยังตั้ง กองทุน ชดเชยราคาน้ ามัน ดีเ ซล เพื่อช ่วยเหลือกลุม่ ชาวมาเลย์ที่ประกอบอา ชีพ
ประมง กาหนดราคาขั้นต่าของข้าว และใช้เงิ นงบประมาณแผ่นดินในการจ่ายเงิ น ชดเชยราคาปุ๋ ยให้ชาวนา 77 นอกจากนี้ ยงั มี
การปรับเปลี่ยนนโยบายเศรษฐกิจใหม่ โดยปรับและกระจายการจ้า งงานและการศึก ษาให้ ชาวมาเลย์ และความพยายามให้
ชาวมาเลย์ได้เข้าถือหุ ้นในรัฐวิสาหกิจ หรื อ บรรษัทของรัฐที่ รัฐบาลมาเลเซี ยได้คืนมาจากชาวตะวันตก ธุ รกิจ ซึ่ งมี ชาวมาเลย์
เป็ นเจ้าของกิจการจึงเพิ่ม ขึ้นจาก 76 แห่งในทศวรรษที่ 1960 สู ่ 1,149 แห่ง ในปี ค.ศ. 1992 ซึ่ งล้วนแต่เป็ นรัฐวิสาหกิจ ที่ รั ฐ
เป็ นหุ ้นส่วนและริ เริ่ มดาเนิ นงาน78

นอกจากสวัส ดิ ก ารต่าง ๆ แล้ว สภาพเศรษฐกิจของมาเลเซี ย ก็เ ติ บโตได้ดี ด ้วย หากวัด จากผลิ ต ภัณฑ์มวลรวม
ภายในประเทศ (Gross Domestic Product - GDP) ของมาเลเซี ย มี ค วามคาดการณ์ ที่จ ะโตขึ้ นกว่า 4.4 % ในปี ค.ศ. 2017
ท่ามกลางความผันผวนของนโยบายด้านเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริ กา และการตกลงการค้าใหม่ ๆ 79 ซึ่ งถือว่าเป็ นตัวเลขแสดง
ถึงการเติบโตทางเศรษฐกิจที่คอ่ นข้างดี

สวัสดิการและปัญหาปากท้อ งเป็ น แนวทางหนึ่ ง ในการกดทับประเด็น ความขัด แย้ง ซึ่ งได้ผลทางทั้งฝั่ งชาวจี น ฝั่ ง
ชาวมาเลย์ แล้วแต่วา่ นโยบายหรื อ แผนปฏิ บัติ การนั้น ๆ จะเอื้อประโยชน์ คนกลุ ม่ ไหน การกระทานี้ เองเป็ น การซ่อ น เร้ น
ปัญหาซึ่ งเป็ นความรุ นแรงเชิงระบบให้ไม่สามารถมองเห็ นได้โดยทัว่ ไป แต่แท้จริ งแล้วความรุ น แรงก็ย ังคงปรากฏและมี ก าร
กดขี่ชนกลุม่ น้อย การเอารัดเอาเปรี ยบ เกิดขึ้นอยูท่ ุกขณะ

มรดกสมัยอาณานิคม

มรดกสมัยอาณานิ คมเป็ นอาจจะถือได้วา่ เป็ นสาเหตุที่สาคั ญที่สุ ดที่นาไปสู ค่ วามขัด แย้ง ทางชนชั้นในมาเลเซี ย จาก
ที่ ก ล่า วไว้ใ นส่วนของภูมิ หลัง ความขัด แย้ง ประเทศมาเลเซี ย ผ่านการตกเป็ นอาณานิ ค มของ 3 จัก รวรรดิ ด ้วยกัน ได้แก ่
โปรตุเกส ดัทช์ และอังกฤษ ซึ่ งกินเวลายาวนานกว่า 450 ปี ซึ่ งในช ่วงหนึ่ งร้อยปี หลัง ได้คาบเกีย่ วกับการอพยพย้ายถิ่ น ฐาน
ของชาวจีนสู ค่ าบสมุ ทรมลายู

76
ศุภการ สิริไพศาล. ภู มิปุตรา. 80.
77
เพิ่มอ้าง.
78
เพิ่มอ้าง. 80-81.
79
Neily Syafiqah Eusoff. Malaysia's GDP to Pick Up to 4.4% This Year, Says ICAEW. The Edge Markets. http://www.theedgemarkets.com/
article/malaysias-gdp-pick-44-year-says-icaew (Accessed May 14, 2017)

14
คณากร กานต์ธีรดา 5741207424

ในศตวรรษที่ 19 การหลัง่ ไหลของชาวจีน และชาวอิ นเดีย ในคาบสมุ ทรมลายูอ ย่างต่อเนื่ องส่งผลต่อ โครงสร้ า ง
สังคมในดินแดนมลายูอ ย่างมหาศาล ด้วยจานวนปริ มาณของประชากรที่ คอ่ นข้างมาก การอพยพนี้ จึงส่งผลต่อทั้ง สั ด ส่ว น
ประชากร การรักษาอัตลักษณ์ทางชาติพนั ธุ ์ ศาสนา และวัฒนธรรม และการปรับตัวเข้า กับวิ ถีชีวิ ตของชาวพื้นเมื อ ง 80 เมื่ อ
เวลาผ่านไปสักพัก รู ปแบบความสัมพันธ์ของชนชาติตา่ ง ๆ ในคาบสมุ ทรมลายู กเ็ ริ่ มเห็ นชัดขึ้น กล่าวคื อ การแบ่งออกเป็ น 3
กลุม่ หลัก ได้แก ่ ชาวพื้นเมื องมลายู ชาวจีน และชาวอินเดีย โดยโครงสร้างสังคมของพื้นที่ดงั กล่าวไม่ได้เอื้อให้ชาวมลายู แ ละ
ไม่ใช ่ชาวมลายูมีปฏิ สัมพันธ์กนั เลย เนื่ องจากชาวมลายูอยูใ่ ต้การปกครองของสุ ลต่าน ในขณะที่กลุม่ คนที่อยูใ่ นฐานะคนใน
ความคุ้มครองของอังกฤษ ผู อ้ พยพเพื่อแสวงหาโอกาสให้ก บั ชีวิต หรื อผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ แต่ไม่ตอ้ งการฐานะทาง
การเมื อง81

ในส่วนนี้ เราจะเห็ นได้ถึ ง ลัก ษณะการตัดสิ นใจของเจ้าอาณานิ คมในกรณี ที่แบ่ง แยกกลุม่ คนออกจากกัน นั่นคื อ
แบ่งแยกการปกครอง เพื่อให้งา่ ยต่อการควบคุม หลักการดังกล่าวคื อ การแบ่ง แยกและปกครอง (Divide and Rule) ซึ่ งเป็ น
แนวคิ ดที่จกั รวรรดิ องั กฤษนิ ยมใช้กบั อาณานิ คมของตน วิธีการนี้ เองจะทาให้ก ลุม่ ก้อนทางการเมื อ งมี ขนาดเล็ก ลง อานาจ
ต่อรองน้อยลง และป้องกันการต่อกรเจ้าอาณานิ คมได้อ ย่างดี ในกรณี น้ ี กเ็ ช ่นเดี ยวกัน อังกฤษได้ต ัดสิ นใจให้ ชนพื้ น เมื อง
มลายูน้ นั อยูใ่ นการดูแลของสุ ล ต่าน ผู ป้ กครองเดิมของชาวมลายู ซึ่ งเป็ นชนชั้นนามาเลย์ที่องั กฤษอนุ ญาตให้ใ ช้อานาจของ
ตนต่อไปภายใต้เงื่ อนไขของอังกฤษ และในส่วนของผู อ้ พยพมาใหม่น้ นั อยูใ่ นการดูแลของอังกฤษ เมื่ อเกิดการแบ่งแยกตั้ง แต่
ด่านแรก ปฏิ สัมพันธ์ของทั้งสองชนชาติจึงเกิดขึ้นได้ยาก

เมื่ อ อัง กฤษได้เ ข้ามาปกครองอาณานิ ค มชอ่ งแคบและคาบสมุ ทรมลายูท้ งั หมด ก็เ ข้า ตักตวงผลประโยชน์จาก
ทรัพยากรธรรมชาติในบริ เวณพื้นที่ทนั ที เหมื องแร่ดีบุกเป็ นอุตสาหกรรมหนึ่ งที่ตอ้ งใช้แรงงานจานวนมาก ชาวจีนซึ่ งอพยพ
เข้ามาอย่างค่อยเป็ นค่อยไปจึ งเป็ นคาตอบของเจ้า อาณานิ คม เมื่ ออุตสาหกรรมดีบุก และยางพาราเติ บโตขึ้น ก็พฒั นาระบบ
เศรษฐกิจแบบทุนนิ ยมให้เ ติบโตขึ้นไปด้วย82 ชาวจีนซึ่ งมี ความสามารถในการค้าขายเป็ น ทุนเดิมอยู แ่ ล้ว จึงเกาะกระแสทุ น
นิ ยมและสั่งสมทุน จนกลายเป็ น ชนชั้นนาทางเศรษฐกิจ ในระยะเวลาไม่นาน รัฐบาลอังกฤษมี วิธีรั บมื อ กับสั งคมพหุ นิ ย มนี้
ด้วยกันแบ่งสรรอานาจทางการเมื องและเศรษฐกิจ แยกออกจากกัน โดยทางการเมื องให้กบั ชาวมลายูที่เข้ารั บราชการและอยู ่
ใต้การปกครองของสุ ลต่านในรัฐของตน ส่วนอานาจหน้าที่ทางเศรษฐกิจนั้นก็ตกอยูก่ บั ชนชาติ ที่ไม่ใ ช ่มลายู การแบ่ง แยก
อานาจหน้าที่ทางเศรษฐกิจและสังคมตามเชือ้ ชาติจึงเกิดขึ้น 83

การขยายตัวทางเศรษฐกิจเมื องก ่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ตามมาคื อช ่องว่างระหว่างเมื องและชนบทที่มากขึ้น ซึ่ งส่งผลต่อ


ความสัมพันธ์ระหว่างชาติพนั ธุ ์โดยตรง เนื่ องจากชาวมลายูซ่ ึ งมี วิธีชวี ิต อยูก่ บั การทายางและทาประมงแบบดั้งเดิมจะตั้ งถิ่ น
ฐานในเขตชนบท ในขณะที่ชาวจีน รวมถึงชาวอินเดีย ต่างอาศัยอยูใ่ นเขตเมื อ ง การรวมกลุม่ ทางเศรษฐกิจ ตั้งสมาคมและ

80
ศุภการ สิริไพศาล. ภู มิปุตรา. 36.
81
เพิ่มอ้าง. 36-37.
82
เพิ่มอ้าง. 40.
83
เพิ่มอ้าง. 40-41.

15
คณากร กานต์ธีรดา 5741207424

หอการค้ า จึ ง เป็ นอี ก ปรากฏการณ์ ที่ต ามมาเป็ นลู ก โซ่ 84 แม้ ว า่ ชาวมลายู จ ะได้รับสิ ทธิ พิเศษทางด้านการเมื องและสั งคม
มากมาย แต่ปัญหาเรื่ องช ่องว่า งทางเศรษฐกิจ และความขัดแย้ง ของชนชัน้ นาชาวมาเลย์ต อ่ นายทุนชาวจีน ก็เป็ น ชนวนของ
ความขัดแย้งอยูเ่ สมอ85

มรดกตกทอดจากสมั ยอาณานิ คมคื อ ปัจ จัย สาคัญ ในการกาหนดภู มิทัศน์ ทางการเมื อ งของประเทศต่า ง ๆ เสมอ
โดยเฉพาะประเทศมาเลเซี ย ซึ่ ง ตกเป็ น อาณานิ คมของชาติ ต ะวัน ตกเป็ นเวลานาน บางประเทศแผลของอาณานิ คมนั้น สร้ า ง
ความเสี ยหายให้กบั ประเทศนั้น ๆ ที่จะส่งผลต่อ ไปเป็ น เวลานาน แต่สาหรับคาบสมุ ทรมลายูน้ นั คื อความขัดแย้ง ทา งชาติ
พันธุ ์ของชนชาติมาเลย์และชนชาติจีนนั่นเอง

การกระจายอานาจทางการเมื อง

ส่วนสุ ดท้ายที่ แสดงถึ ง สาเหตุ ข องความขัด แย้ง ระหว่า งชาติพนั ธุ ์ ในมาเลเซี ย คื อปัญหาการกระจายอานาจทาง
การเมื องอย่างไม่ทวั่ ถึ งระหว่า งกลุม่ อานาจต่า ง ๆ โดยตั้งแต่สมัย การเจรจากับรัฐ บาลอัง กฤษในการประกาศเอกรา ชของ
มาเลเซี ยภายหลัง สงครามโลกครั้ งที่ 2 ตัว แสดงหลัก ที่ มีค วามโดดเด่น และยัง คงความส าคั ญ มาจนถึ ง ทุ ก วัน นี้ คื อพรรค
พันธมิ ตร BN (Barisan Nasional / National Front) ที่นิยามว่าเป็ นพรรคพันธมิ ตร เนื่ องจาก BN คื อการรวมตัวกันของพรรค
การเมื อ ง 3 พรรค ซึ่ งเป็ นตัว แทนของกลุ ม่ ผลประโยชน์ ที่แตกต่า งกัน ได้แ ก ่ พรรค UMNO (United Malays National
Organization) ซึ่ งตั ว แทน ผลประโยชน์ ข องชน ชา ติ ม า เลย์ พรรค MCA (Malaysian Chinese Association) ตั ว แทน
ผลประโยชน์ของชนชาติจีน และ MIC (Malaysian Indian Congress) ตัวแทนผลประโยชน์ของชนชาติอินเดีย

เหตุ ผ ลที่ ย ก BN และ UMNO ขึ้ น มาเมื่ อ พู ด ถึง การกระจายอ านาจทางการเมื อ ง เนื่ อ งจากพรรคการเมื อ งคื อผู ้
รวบรวมประเด็น ทางการเมื องเข้า สู ก่ ระบวนการตัดสิ น ใจนโยบายอยู แ่ ล้ว และความพิเศษของ BN คื อการชูความร่ว มมื อ
ภายใต้ความหลากหลายทางชาติพนั ธุ ์ อันมี ชาติพนั ธุ ์มาเลย์เป็ นผู ม้ ี อานาจเหนื อ แม้ประเทศมาเลเซี ยจะประกอบไปด้วยพรรค
การเมื องจานวนมาก UMNO ก็ได้รับเลือกเป็ นพรรครัฐ บาลเสมอ ฉะนั้นตามทฤษฎี แล้ว ผลประโยชน์ของคนจีน ก็ค วรจะ
ได้รับการพิจารณาผ่านพรรค UMNO ด้วย และความขัดแย้งทางชาติพนั ธุ ์กค็ วรจะลดน้อยลงไปหรื อไม่มีให้เห็ น อีก แล้ว แต่
เมื่ อความจริ งเรายังพบเจอกับความขัดแย้งของทั้งสองชาติพนั ธุ ์ตามหน้าหนังสื อพิมพ์เสมอ ดังนั้นคาถามจึงเป็ น พรรค MCA
ได้ทาหน้าที่และความคาดหวังที่ตนเองพึงมี หรื อไม่

พรรค MCA เป็ นส่ว นหนึ่ งในการขับเคลื่ อ นผลประโยชน์ ข องชาวจี น ในพรรคร่ว มรั ฐ บาล BN จริ ง แต่ใ น
ขณะเดียวกัน พรรค MCA ยังต้องพบกับทางสองแพร่ง ที่ ทาให้การวางตัว ของพรรคเต็มไปด้วยข้อจากัดมากมาย โดยพรรค
MCA เริ่ มมี บทบาททางการเมื องอย่างจริ งจังในกรณี ข องการเจรจาเอกราชและรัฐธรรมนู ญ จากจักรวรรดิอ ังกฤษ ในการเข้า
ร่ว มเป็ นคู ่เ จรจานั้ น พรรค MCA มี จุ ด มุ ่ง หมายที่ ต ้อ งทาให้ส าเร็ จ อยู เ่ พีย งข้อ เดี ย ว นั่ น คื อการเจรจาเพื่อ สิ ทธิ ใ นการเป็ น

84
ศุภการ สิริไพศาล. ภู มิปุตรา. 41.
85
เพิ่มอ้าง. 42.

16
คณากร กานต์ธีรดา 5741207424

พลเมื องตามหลักการอาศัย อยู86่ พวกเขาเชือ่ ว่าหากสิ ทธิ ในการเป็ นพลเมื องของพวกเขาไม่เกิด ขึ้นจริ ง ไม่เพียงแต่สถาน ะ
การเมื องเท่านั้น แต่สถานะทางเศรษฐกิจ ของชาวจีนในมาเลเซี ย จะตกอยูใ่ นอัน ตราย87 MCA รู ้ตวั ถึงสถานะที่เป็ นรองของ
ตนดี จึงไม่ได้คาดหวังว่าชาวจีนจะต้อ งได้ทุก อย่างที่ตนต้องการภายใต้การนาของ UMNO แต่หากคนจีนได้รับสถานการณ์
เป็ นพลเมื อง ก็เพียงพอที่จะเป็ นสิ่ งรั บประกัน ความอยูร่ อดของคนจีน ในมาเลเซี ย88 นอกเหนื อจากนั้น MCA ยังคิ ดต่อไปว่า
สถานะทางการเงิ นของตนไม่นา่ มี ปัญหา เนื่ องจากได้รับการสนับสนุ นจากกลุม่ ทุนชาวจีนด้ วยกัน แต่สถานะทางการเมื อ งก็
ยังไม่แน่นอน เพราะต้องพึ่งบารมี ของ UMNO อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ MCA จึงจาเป็ นต้องให้ความร่วมมื อกับ UMNO แม้ตอ้ ง
เสี ยผลประโยชน์ในบางอย่างบ้างก็ตาม 89

จากฐานคิ ดของ MCA ทีก่ ล่าวเบื้องต้น จึงทาให้เห็ นว่าพรรค MCA เผชิญกับข้อจากัดมากมายที่ไม่สามารถทาให้


พรรคกลายเป็ นผู น้ าทางจิตวิญญาณให้ก บั ชาวจีน ที่มีอุดมการณ์สู งได้ ความไม่เท่าเทียมในการจัดสรรอานาจทางการเมื อ งนี้
เองจึ ง เป็ นอี ก หนึ่ งปั จ จัยที่ ทาให้ชนกลุ ม่ น้อ ยชาวจี นคั บข้อ งใจต่อ การกระทาของ UMNO ในฐานะพรรคซึ่ งครองเสี ยง
ส่วนมากมาตลอดตั้งแต่ค รั้นก ่อตั้ง ประเทศ ดังนั้นชาวจีนที่มีความกระตื อรื อร้น ทางการเมื องจึงหันไปสนับสนุ นพรรคฝ่ าย
ค้านที่มีแนวทางที่สุดโต่งและชัดเจน เช ่น Democratic Action Party (DAP) หรื อ People's Justice Party (PKR) แทน

นอกจากเรื่ องพรรคการเมื อ งแล้ว การเข้ารับราชการก็เป็ น อีก หนึ่ ง ส่ว นของการกระจายอานาจทางการเมื อ งที่ ไ ม่


เป็ นธรรมของทั้ง สองชนชาติ เนื่ องจากภูมิปุตราและมรดกจากอาณานิ คมทาให้การเข้ารั บราชการนั้น จากัดอยู ใ่ ห้ ก ับ ชาว
มาเลย์เท่านั้น หรื อมี จานวนน้อยมากที่เปิ ดรับชนชาติอื่นที่ไม่ใ ช ่มาเลย์ และหากไม่มีชนชาติอื่น ๆ เป็ นข้าราชการ การติดต่อ
ราชการจึงจาเป็ นต้องกระทาภายใต้กฎระเบีย บและบรรทัดฐานของชนชาติมาเลย์ด ้วย นี่ เองจึ งเป็ นส่วนหนึ่ งของสาเหตุ ใ น
ความขัดแย้งทางชาติพนั ธุ ์ของชนกลุม่ น้อยชาวจีนในมาเลเซี ย

86
Heng Pek Koon. Chinese Politics in Malaysia: A History of the Malaysian Chinese Association. Singapore : Oxford University Press,
1988. 232-233.
87
Ibid. 233.
88
Ibid.
89
Ibid. 233-234.

17
คณากร กานต์ธีรดา 5741207424

ส่ วนที่สาม: ภูมิปุตราในปัจจุบัน

กรณีเปรียบเทียบ: ชนกลุ่มน้ อยชาวจีนในประเทศไทย

จากที่กล่าวเบื้องต้น ประเทศมาเลเซี ยนั้นเป็ นประเทศที่มีความขัด แย้ง ทางชาติพนั ธุ ์ที่เห็ นได้ชดั ในความไม่ลงรอย


กันของสามชนชาติหลัก ได้แก ่ ชาวมาเลย์ ชาวจีน และชาวอินเดีย ด้วยแนวคิ ดภูมิปุ ตรา ที่ให้สิทธิ พิเศษแก ่คนมาเลย์ ซึ่ งพูด
ภาษามาเลย์ นับถือศาสนาอิสลาม และปฏิ บตั ิตามวิถีของมาเลย์ ทั้งทางด้านการเมื อง เศรษฐกิจ และสังคม ในฐานะบุตรของ
แผ่นดิน แต่เมื่ อเรามองออกมาจากประเทศมาเลเซี ย และมองในภาพรวมของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ เราจะพบว่าชาว
จีนโพ้นทะเลได้อพยพและลงหลักปักฐานในสถานที่ ตา่ ง ๆ ทัว่ ภูมิภาค และในแต่ละที่น้ ันก็พบเจอสถานการณ์ ที่แตกต่า งกัน
ไป

จี. วิลเลียม สกินเนอร์ นักวิชาการผู เ้ ชีย่ วชาญเอเชียตะวัน ออกเฉี ย งใต้ศึ กษากล่า วว่า “ชาวจีนโพ้นทะเลมี บ ทบาท
สาคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ และความเจริ ญ ทางสั ง คมของประเทศสาคั ญ ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉี ย งใต้ ไม่เป็ นการเกิน
ความจริ งเลยที่จะกล่า วว่า เราจะไม่สามารถเข้าใจหรื อ วิเ คราะห์ ประวัติศาสตร์ไ ทยปัจ จุ บนั ได้อย่า งถู กต้อง หากแยกสภาพ
การเปลี่ยนแปลงของชาวจี น โพ้น ทะเลออกไป”90 แน่นอนว่าชาวจีนโพ้น ทะเลมี ความสาคัญ ในทิ ศ ทางประวัติ ศาสตร์ ข อง
ไทย แต่คาถามที่นา่ สนใจอยูท่ ี่ วา่ อะไรเป็ นเหตุผ ลที่ ทาให้ คนไทยและคนจีน ในประเทศไทยสามารถอยู ร่ ว่ มกันได้ มี การ
หลอมรวมทางวัฒนธรรม โดยไม่มีความขัดแย้ง

แต่ในความเป็ นจริ ง คนจีน ในไทยก็เคยผ่านชว่ งเวลาของความขัด แย้ง มาก อ่ นเช ่นกัน เช ่นเดียวกับมาเลเซี ย การ
ติดต่อระหว่างประเทศจีน กับประเทศไทย ซึ่ งเป็ นอาณาจักรอยุ ธยาในขณะนั้น มี มาก ่อนแล้ว ก ่อนที่จะเกิดการอพยพของคน
จีนเข้าสู เ่ อเชียตะวันออกเฉี ยงใต้อย่างเป็ นระลอก91 ซึ่ งอยูใ่ นรัชสมัย รัชกาลที่ 5 จุดเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร์ของคนจี น
ในสยาม คื อในปี ค.ศ. 1910 (พ.ศ. 2453) เมื่ อพระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ ัว ผู ท้ รงเป็ นมิ ตรกับชาวจีน ได้เ สด็ จ
สวรรคต และสมเด็จพระบรมโอรสาธิ ราชเจ้าฟ้ าวชิราวุธขึ้น ครองราชย์พระองค์ทรงเป็ นนัก ชาตินิ ยมแบบเพ้อฝัน และทรง
ประกาศลัทธิ ตอ่ ต้านจีน92 ในปี เดียวกันนี้ เกิดเหตุการณ์หยุดงานทัว่ ไปครั้งใหญ่ของคนจีนในกรุ งเทพฯ เกิดเป็ นปัญหาคนจีน
ขึ้นมา พร้อมกับความเปลี่ยนแปลงอย่างสาคัญหลายประการ93

คนจีนอพยพเข้ามาในไทยเยอะขึ้น และมี บทบาทสาคัญ ต่อเศรษฐกิจไทย โดยเฉพาะในกรุ งเทพฯ และพลวัต ของ


ความสัมพันธ์กเ็ ข้าสู ค่ วามขัดแย้งอีกครั้งภายใต้รัฐบาลของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ซึ่ งมี กฎระเบียบที่ทาให้เกิดการแบ่ง แยก
คนจีนและคนไทยออกจากกัน 94 จนกระทัง่ ภายหลังสงครามโลกครั้ง ที่ 2 นโยบายของไทยต่อชาวจีนมี ต้ งั แต่อะลุม้ อล่ว ยไป

90
จี. วิลเลียม สก ินเนอร์ ; พรรณี ฉัตรพลรักษ์ และคนอื่น ๆ, ผู แ้ ปล; ชาญวิทย์ เกษตรศิริ, บก. สังคมจีนในประเทศไทย : ประวัตศิ าสตร์ เชิง
วิเคราะห์ . พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุ งเทพฯ : มูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย : มูลนิธิโครงการตาราสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ , 2548. (30).
91
เพิ่มอ้าง. 30-36.
92
เพิ่มอ้าง. 158.
93
เพิ่มอ้าง.
94
เพิ่มอ้าง. 303-304.

18
คณากร กานต์ธีรดา 5741207424

จนถึงรุ นแรงก้าวร้าว แต่ทา้ ยที่สุด ในปี ค.ศ. 1956 (พ.ศ. 2499) ได้มีการใช้นโยบายอะลุม้ อล่วยเพื่อผสมผสานชาวจีนเข้า ไป
ในสังคมไทยอยากเห็ นได้ชดั

โดยสรุ ป อิทธิ พลที่ทาให้คนไทยและคนจีนผสมกลมกลืนกัน ได้ เนื่ องจากเนื้ อหาและปริ มาณการศึก ษาแบบจี น


ลักษณะความแตกต่า งที่พ ัฒนาจากการเป็ นคนต่างด้าวในรุ น่ แรก ไปสู ก่ ารแปลงสัญชาติ เป็ นคนไทยเชือ้ สายจีนในรุ น่ ต่อ มา
ขอบเขตในการส่งเสริ มลัทธิ ชาตินิยมจีน และอิทธิ พลของรัฐบาลจีนในประเทศไทย

สิ่ งที่แตกต่างอย่า งชัดเจนระหว่า งชนกลุม่ น้อ ยชาวจีน ในไทยกับในมาเลเซี ย มี อยู ด่ ว้ ยกันสองประการ นั่นคื อฐาน
คิ ดที่แตกต่างกัน คนมาเลย์มองว่าชาวจีนเป็ นชนชาติ ที่มาที หลัง มี ความด้อยกว่า และไม่สมควรได้รับสิ ทธิ ประโยชน์ ที่ ชาว
มาเลย์ได้ ในฐานะบุตรแห่งแผ่นดิน ในขณะที่ ในไทยจะมี ความคิ ดที่เ ปิ ด กว้างมากกว่า และมี สภาพแวดล้อมที่เอื้ออานวยต่อ
การผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรมมากกว่า และอิทธิ พลหรื อมรดกจากยุ คสมัย อาณานิ คม กล่าวคื อ จักรวรรดิองั กฤษได้เ ป็ น
กลไกส าคั ญ ที่ ทาให้ชาวมาเลย์ถื อ ครองปั จ จัยทางการเมื อง และให้ ชาวจี นถื อ ครองปั จจัย ทางเศรษฐกิ จแยกออกจากกัน
ผลลัพธ์ของการแบ่ง แยกดังกล่า วได้มีอิ ทธิ พลมาจนถึ ง ปัจ จุ บนั ในขณะที่คนไทยไม่มี การแบ่ง แยกอย่า งชัดเจนถึ ง การถื อ
ครองปัจจัยการเมื อ งหรื อเศรษฐกิจ การที่คนไทยจะเข้าไปมี สว่ นร่วมทางเศรษฐกิจกับคนจีน จึ งเป็ นไปได้งา่ ยกว่ามาก ซึ่ ง
ทั้งหมดนี้ ทาให้ประเทศไทยไม่ประสบปัญหาความขัด แย้งทางชาติพนั ธุ ์ที่มาจากชนชาติจีน

ความท้ าทายใหม่

ความขัดแย้งทางชาติพนั ธุ ์ของชนกลุม่ น้อยชาวจีนนั้นเป็ นส่วนหนึ่ ง ของกระบวนการสร้า งชาติ ซึ่ งเชิดชูชาวมาเลย์


ให้ มี ล ัก ษณะเป็ นชนชั้นน าทางการเมื อ งที่ ค รอบครองปั จ จัยทางการเมื อ งและสั ง คมทั้ง หมด แต่ปัจ จุ บัน ขบวนการทาง
การเมื องของ BN กาลังสั่นคลอนจากการท้าทายของพรรคฝ่ ายค้าน และประชาชนที่มีสิทธิ์ มี เสี ยง โดยจุดพลิกผันที่สาคัญ คื อ
เหตุการณ์เลือกตั้งทัว่ ไปใน ค.ศ. 2008 เมื่ อนายกรัฐมนตรี อบั ดุลละห์ อะห์มัด บาดาวี จากพรรค BN เกือบจะไม่ชนะเสี ยงข้า ง
มากในสภา ด้วยคะแนนเสี ยงหล่น ลงมาที่ 50.6 %95 ในขณะที่พรรคฝ่ ายค้านได้ค ะแนนเสี ย งและที่นั่งเพิ่ มขึ้นอย่างน่าตกใจ
นอกจากนี้ ในการเลือกตั้งในปี 2013 ก็เกิดเหตุการณ์คล้ายกัน พรรค BN ซึ่ งรวมถึงพรรค UMNO ไม่สามารถรวบรวมเสี ย ง
ข้างมากของประเทศได้อีกต่อไปแล้ว

แนวทางการเปลี่ ยนแปลงที่เกิด ขึ้นผ่านการเลื อ กตั้งนี้ แสดงให้เห็ นถึง ความเป็ น ไปได้ข องระบบสองพรรค ซึ่ งมี
ความเป็ นประชาธิ ปไตยมากขึ้ น และความกัง วลถึ ง ทิ ศ ทางการเมื อ งในอนาคต เนื่ อ งจากพรรคฝ่ ายค้ า นเองก็มี ความ
หลากหลาย พรรค DAP เป็ นพรรคที่ครองโดยคนจี น พรรค PKR เป็ นพรรคที่มีหลากหลายเชื้อ ชาติ และพรรค PAS เป็ น
พรรคที่มีความเคร่งในศาสนา96 ดังนั้นจึงเป็ นที่นา่ จับตามองว่า ทิศทางการเมื องของมาเลเซี ยจะเปลี่ยนไปอย่า งไร หากไม่ตก

95
Lee Hock Guan and Leo Suryadinata, ed. Malaysian Chinese: Recent Developments and Prospects. Singapore : Institute of Southeast
Asian Studies, 2012. 70-71.
96
Ibid.

19
คณากร กานต์ธีรดา 5741207424

อยูภ่ ายใต้การนาของพรรค UMNO อีกต่อไป รวมถึงความสัมพันธ์ระหว่างชนกลุม่ น้อยชาวจีนและชาวมาเลย์อาจเปลี่ ย นไป


ได้อีก หากพรรคที่เป็ นรัฐบาล หรื อตัวนายกรัฐมนตรี เองเป็ นคนเชือ้ สายจีน ปรากฏการณ์ดงั กล่าวอาจนาไปสู ข่ อ้ ยุติของความ
ขัดแย้งที่ดาเนิ นมาหลายทศวรรษ หรื ออาจจะพัฒนาไปสู เ่ หตุการณ์ความรุ นแรงครั้งใหม่กเ็ ป็ นได้

สรุป

ความขัด แย้ง ทางชาติ พนั ธุ ์ ระหว่า งชนกลุ ม่ น้ อยชาวจี น และชาวมาเลย์ เป็ นผลผลิ ตของปรากฏการณ์ ต า่ ง ๆ ที่
ซับซ้อนและเชือ่ มโยงกัน และไม่ได้มาจากแนวคิ ดเรื่ องภูมิ ปุตราเพีย งอย่า งเดียว ปัจจัยต่อไปนี้ เป็ นเหตุผ ลของปัญหา ความ
ขัดแย้งเช ่นกัน ได้แก ่ ลักษณะทางสังคมวิทยาของทั้ง สองชนชาติ ซึ่ งมี ความแตกต่างกัน อย่างมาก บทบาทนาทางเศรษฐกิจ
ของจีน ซึ่ งกดดันทาให้ชาวมาเลย์มีชวี ิตความเป็ นอยูท่ ี่ยากจน การกระจายอานาจทางการเมื องอย่างไม่เท่าเทียม ซึ่ งทาให้ชาว
จีนไม่ได้รับการตอบสนองต่อความกดขี่ทางการเมื องที่ตนเผชิญ มรดกตกทอดจากสมัยอาณานิ คม ซึ่ งแนวทางการแบ่ง แยก
และปกครองสร้า งแผลลึ กในความไม่ลงรอยกันของทั้งสองชาติพนั ธุ ์ และสวัสดิการสั งคมที่เ ป็ น ผู พ้ ยุ งความขัด แย้ง ไม่ใ ห้
ไปสู ร่ ะดับความรุ นแรง

อย่างไรก็ตามภูมิปุตราเองก็มีความสาคัญเป็ นอ่างมาก เนื่ องจากเป็ น หลักฐานที่แน่ชดั ที่สุด ที่แสดงให้เห็ นถึงความ


ขัดแย้งที่เกิดขึ้นมาและยังคงดาเนิ นอยู ใ่ นปั จจุ บนั โดยในช ่วงราว 10 ปี ที่ผา่ นมา ปรากฏการณ์ทางการเมื องภายในมาเลเซี ย
เริ่ มแสดงให้เห็ นถึงความเป็ นไปได้ในการเปลี่ยนแปลงขั้ว อานาจ ซึ่ งจะเป็ นการผลิกโฉมหน้าประวัติ ศาสตร์มาเลเซี ย ต่อ ไป
ในอนาคต

20

You might also like