You are on page 1of 52

คู่มือการใช้โปรแกรมจัดการบรรณานุกรม EndNoteX7

EndNote โปรแกรมจัดการบรรณานุกรมทีใ่ ช้สาหรับจัดการข้อมูลเอกสารอ้างอิงที่ได้มาจากการบันทึกข้อมูลด้วยตนเอง การสืบค้น

และการถ่ายโอน (Import) ข้อมูลบรรณานุกรมจากแหล่งข้อมูลต่างๆ เช่น ฐานข้อมูลของห้องสมุด (OPAC) ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์


(Database) และ เอกสาร PDF Files ฯลฯ

EndNote สามารถจัดเก็บไฟล์รูปภาพ ตาราง กราฟ เอกสารฉบับเต็ม และบรรณานุกรมในรูปแบบฐานข้อมูลส่วนตัว โดยสามารถ

นาข้อมูลที่จัดเก็บเหล่านี้มาใช้ในการเขียนเอกสารอ้างอิงและเขียนบรรณานุกรมประกอบงานวิจัย บทความ หรือผลงานวิชาการอื่นๆได้ ซึ่ง


โปรแกรม EndNote ผลิตโดยบริษัท Thomson Reuters

คุณสมบัติ EndNoteX7

1. โปรแกรม Endnote จัดเก็บรายละเอียดต่างๆของเอกสารอ้างอิงไว้ในห้องสมุด (Library)


2. สามารถสร้างห้องสมุด (Library) ได้ไม่จากัดจานวน แต่ละห้องสมุดจะมีนามสกุล .enl และสามารถจัดเก็บเอกสารอ้างอิงไม่จากัด
จานวน
3. มีรูปแบบบรรณานุกรมที่หลากหลายมากกว่า 5,000 รูปแบบ
4. สามารถสร้างกลุ่ม (group Set) ได้สูงสุด 5,000 Group ต่อหนึ่งห้องสมุด
5. สามารถสร้าง Custom Group และ Smart Group รวมกันได้สูงสุด 5,000 Group ต่อหนึ่งห้องสมุด
6. สามารถถ่ายโอนไฟล์เอกสารในรูปแบบ PDF (Importing PDF Files)
7. ไฟล์ PDF ที่จัดเก็บในโปรแกรมEndNote สามารถเพิ่มข้อความหรือไฮไลท์ข้อความสาคัญได้ และสืบค้นเนื้อหาในไฟล์ พร้อมทั้ง
บันทึก หรือสั่งพิมพ์ไฟล์ได้
8. สามารถค้นหาไฟล์เอกสารฉบับเต็มของเอกสารทีถ่ ่ายโอนจากฐานข้อมูลออนไลน์ได้
9. ส่ง Email รายการอ้างอิง พร้อมเอกสารฉบับเต็มได้
10. สามารถตรวจสอบรายการซ้าได้
11. ปรับปรุงเนื้อหาใหม่ของรายการอ้างอิงที่มีอยูเ่ ดิมให้ทันสมัยได้ (Find Reference Updates)
12. เปลี่ยนรูปแบบการแสดงหน้าจอ (Layout) ได้
13. เปลี่ยนรูปแบบตัวอักษรของชื่อเรื่อง ชื่อวารสาร หรือเขตข้อมูลที่ตอ้ งการ (Change Case)
14. แสดงข้อมูล read/unread reference
15. สามารถจัดลาดับความสาคัญของเอกสารอ้างอิง (ratings reference)
16. สามารถเปลี่ยนรูปแบบการอ้างอิงในเนื้อหา (Citation in text) ได้ หลากหลายรูปแบบ เช่น นามปี(Author Year) , ตัวเลข
(Number) ฯลฯ

17. เชื่อมต่อกับโปรแกรม EndNote web ทาให้สามารถเพิ่มรายการอ้างอิงได้สูงสุด 100,000 รายการพร้อมไฟล์ได้สูงสุด 5 GB


18. สามารถถ่ายโอนข้อมูลระหว่าง Library ได้
19. สามารถใช้งานร่วมกับโปรแกรม Microsoft word / PowerPoint for windows 2007,2010, 2013 /OpenOffice.org
version3 writer
20. ใช้งานร่วมกับปฏิบัติการ windows XP,Vista, windows7 และ 8
การติดตั้งโปแกรม (Install Program)

1. ติดต่อหอสมุดฯ เพื่อลงโปแกรม
2. ลงด้วยตนเองยืมแผ่นโปรแกรมได้ที่เคาน์เตอร์ ยืม- คืน

การใช้งานโปแกรม EndNoteX7

โปรแกรมจัดการเอกสารอ้างอิง EndNote

ชื่อ Library นามสกุล .enl เมนูใช้งานโปรแกรม

รายละเอียดบรรณานุกรม
หน้าจอย่อยแสดงข้อมูล
บรรณานุกรม
1. การสร้างห้องสมุด (Create Library)

1.1 สร้างห้องสมุด (Library) เพือ่ จัดเก็บเอกสารอ้างอิง ตั้งชื่อ Library ส่วนตัวและสถานทีจ่ ัดเก็บ นามสกุลของ Library จะเป็น .enl

คลิก สร้าง Library ส่วนตัว เพื่อจัดเก็บเอกสารอ้างอิง

เปิด Library เดิมที่มีอยู่แล้ว

ชื่อ Library

2.สถานที่จัดเก็บ

หน้าจอพร้อมใช้งาน

1.ชื่อ Library
3.บันทึก
2. การเพิ่มรายการเอกสารอ้างอิง (Add Reference) การเพิม่ รายการอ้างอิงเข้าสู่ EndNote ทาได้ 2 วิธี

1. การเพิ่มรายการเอกสารอ้างอิงด้วยตนเอง (Entering Reference)

- เอกสารที่ที่อยูใ่ นรูปสิ่งพิมพ์
- ฐานข้อมูลบางฐานที่ไม่รองรับโปรแกรมจัดการบรรณานุกรม EndNote
- ข้อมูลอ้างอิงพร้อมภาพ ตาราง แผนภูมิ เป็นต้น
- ข้อมูลอ้างอิงพร้อมแนบไฟล์เอกสาร

วิธีการนาเข้าข้อมูลเอกสารอ้างอิงด้วยตนเอง

ใช้คาสั่งเมนู Reference > New Reference > เลือกประเภทเอกสารที่ต้องการกรอกข้อมูล > บันทึกเอกสาร คลิก หรือใช้คาสั่ง
File เลือก save

เมนู Reference > New Reference


คลิกเลือกประเภทเอกสารที่
ต้องการจัดเก็บข้อมูลต้องการ
กรอก

ฟอร์มกรอกข้อมูลเอกสารอ้างอิงตาม
ประเภทเอกสารที่เลือก

ข้อกาหนดเบื้องต้นในการเพิ่มเอกสารอ้างอิงด้วยตนเอง

1. ชื่อผู้แต่ง (Author)

- ชื่อผู้แต่งคนไทย : ชื่อ นามสกุล เช่น ประภัสสร ปัญโญ หลังนามสกุลใส่เครื่องหมาย จุลภาค(,)เสมอ เช่น ประภัสสร ปัญโญ,

- ชื่อผู้แต่งชาวต่างประเทศ : นามสกุล ชื่อต้น ชื่อกลาง เช่น John S. Najarian เป็น Najarian, John S หรือกรอกตามที่ปรากฏในเอกสาร

- ชื่อผู้แต่งนิติบคุ คล : หน่วยงานใหญ่ หน่วยงานรอง ตามลาดับ ระหว่างชื่อหน่วยงานใส่เครื่องหมายมหภาค (.) คั่นและเว้น ระยะห่างแต่ละ


หน่วยงาน 1 ตัวอักษร เช่น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, คณะแพทยศาสตร์, ภาควิชากุมารเวชศาสตร์,

- ผู้แต่งเขียนได้ไม่เกิน 6 คน ผู้เขียนคนที่ 7 ใช้ และคนอื่นๆ หรือ et al หรือหากกาหนดผู้เขียน 3 คน คนที่ 4 จะใช้ และคนอื่นๆ หรือ et al

เช่น วิชัย ประยูรรัตน์, แสงสุรีย จุฑา, ถนอมศรี ศรีชัยกุล, สุทธิพร วีระการ, อารี เหลาสุวรรณ, กีรติรัตนขจร, และคนอื่นๆ
2.ชื่อเรื่อง (Title) ชื่อเรื่องที่เป็นภาษาอังกฤษ ใช้ตวั อักษรพิมพ์ใหญ่เฉพาะตัวแรกเท่านั้น หากมีชื่อเรื่องย่อยใช้เครื่องใช้ : คั่นชื่อเรื่อง

Samitivej proceedings 2004 : Smitivej annual scientific meeting 9-10 september 2004 ณ ห้องสยามมกุฎราชกุมาร อาคาร

เฉลิมพระบารมี 50 ปี แพทยสมาคมแห่งประเทศไทย.

3. ปีที่พิมพ์ (Year) ใส่เฉพาะตัวเลขเท่านั้น เช่น 2556 หรือ 2013

4. ครั้งที่พิมพ์ (Editions) ครั้งที่พิมพ์หนังสือภาษาไทย : พิมพ์ครั้งที่ 2 หนังสือภาษาต่างประเทศ : 2nd

5. เลขหน้า (Page) กรอกเฉพาะตัวเลขเท่านั้น เช่น 456-560

ตัวอย่างการกรอกข้อมูลเอกสารอ้างอิงด้วยตนเอง

1.เอกสารประเภทบทความวารสาร (Journal Article)

Author: วรรยา ลาภเจริญ, Year: 2546

Title: สุขภาพจิตกับการทางาน Journal : วารสารสถาบันธัญลักษณ์

Volume: 1 Issues: 1

Pages: 41-42

** สาหรับรูปแบบบรรณานุกรมแบบ Vancouver ในส่วน Journal จะใช้ชื่อย่อของวารสาร และ การกรอกข้อมูลเลขหน้า (Page)

41-42 จะกรอกเป็น 41-2

ตัวอย่างการกรอกข้อมูลบทความ
วารสาร
2.เอกสารประเภทหนังสือ (Book)

Author: Juan A. del Regato, Harlan J. Spjut Year: 1997

Title: Ackerman and del Regato's cancer : diagnosis, treatment, and prognosis

Place Publisher: St. Louis Publisher: C. V. Mosby

Editions: 5th ed. Pages: -

ตัวอย่างการกรอกข้อมูลหนังสือ

3.เอกสารประเภทบทหนึ่งของหนังสือ (Book Section)

Author: ปิยทัศน์ ทัศนาวิวัฒน์, Year: 2550

Title: ประวัติโรคไหลตาย Editor: สุมาลี นิมมานนิตย์,

ปรีดา มาลาสิน, บรรณาธิการ.

Book Title: โรคไหลตาย : Sudden unexplained death syndrome Place Publisher: กรุงเทพฯ

Publisher: คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล Pages: 12-25

Editions: พิมพ์ครั้งที่ 2
ตัวอย่างการกรอกข้อมูลบทหนึ่งในหนังสือ

4.เอกสารประเภทวิทยานิพนธ์

Author: นงลักษณ์ เล่งน้อย, Year: 2548

Title: ปัจจัยทีม
่ ีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของมารดาในการสร้างเสริมสุขภาพบุตรป่วยด้วยโรคมะเร็ง [วิทยานิพนธ์]

Place Publisher: สงขลา University: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

** สาหรับรูปแบบบรรณานุกรมแบบ APA 6th จะเพิม่ เขตข้อมูล Thesis type: วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ในการกรอกข้อมูล

บรรณานุกรมของคณะพยาบาลศาสตร์ ให้หรอกตามตัวอย่าง

ตัวอย่างการกรอกข้อมูลวิทยานิพนธ์

แบบ Vancouver
การกรอกข้อมูลวิทยานิพนธ์แบบ
APA 6th คณะพยาบาล

4.เอกสารประเภท Web Page

Author: วิกิพเี ดีย Year: 2556

Title: จิต Access Date วันที่คน


้ ข้อมูล: 25 สิงหาคม 2556 (เอกสารภาษาไทย)

2014 Aug 25 (เอกสารภาษาอังกฤษ)

Year Cited: 2556 Date Cited: 25 สิงหาคม 2556

2014 Aug 25

Url: http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%95

** สาหรับรูปแบบบรรณานุกรมแบบ APA 6th ไม่ต้องกรอกข้อมูลในส่วน Access Date , Year Cited , Date Cited
6.ฐานข้อมูล Up To Date ซึ่งเป็นฐานข้อมูลที่ไม่รองรับการจัดการบรรณานุกรมด้วยโปรแกรม EndNote หากต้องการจัดเก็บบรรณานุกรมต้อง
กรอกข้อมูลด้วยตนเอง มีขั้นตอนดังนี้

1.สืบค้นเรื่องที่ต้องการ

1
2.เลือกรายการทีต่ ้องการจัดเก็บบรรณานุกรม

3. กรอกข้อมูลรายการเอกสารทีเ่ ลือกลงโปรแกรม EndNote

3.1 เปิดหน้าเอกสารที่เลือกจากฐานข้อมูล หรือจดรายละเอียดบรรณานุกรม


3.2 เลือก Reference Type : Web Page กรอกข้อมูลตามตัวอย่าง แล้วคลิกบันทึก มุมบนขวาของจอ

การกรอกข้อมูลบรรณานุกรมจากฐานข้อมูล UpToDate มีเขต


ข้อมูลที่ต้องกรอกดังนี้

Author / Year / Title / Place Published / Publisher/

Access Year / Access Date / URL

การเพิ่มรูปภาพ ตาราง แผนภูมิและไฟล์

การเพิม่ รูปภาพ ตาราง แผนภูมิ และไฟล์เอกสารต่างๆ PDF เพิ่มได้ ไม่เกิน 45 ภาพ สามารถเลือกเพิ่มเติมในรายการเอกสารอ้างอิง
ที่มีอยู่เดิมเพื่อแนบเก็บ หรือ สร้างเป็นข้อมูลเอกสารอ้างอิงเฉพาะได้ โดยวิธีการนาเข้าดังนี้

เลือกเอกสารอ้างอิงที่ต้องการแนบไฟล์ หรือ รูป > เมนู Reference > File Attachment > Attach File > เลือกไฟล์เอกสารที่
ต้องการแนบ จากคอมพิวเตอร์ > คลิก open
1

2
3

รายการเอกสารอ้างอิง ที่มีไฟล์เอกสารแนบ จะมีสัญลักษณ์คลิปหนีบ หน้าเอกสารอ้างอิงนั้น


หากต้องการแนบรูปภาพ ใช้เมนูเดียวกันกับการแนบไฟล์เอกสาร โดยเปลี่ยนคาสั่ง File Attachments เป็น Figure > Attach
Figure > เลือกรูปภาพที่ต้องการ > คลิก OK

1
2

ตัวอย่างการกรอกข้อมูลในส่วนคาอธิบายรูปภาพ Caption

** ส่วนสาคัญในการแนบไฟล์ภาพคือ คาอธิบายใต้ภาพ เขตข้อมูล Caption ต้องกรอกข้อมูลในส่วนนี้เสมอ เพื่อให้สามารถค้นหา

ภาพที่แนบในเอกสารอ้างอิงได้

2. การถ่ายโอนข้อมูลเอกสารอ้างอิงจากการสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์ (Export)
- การถ่ายโอนข้อมูลโดยตรงจากฐานข้อมูล (Direct Export)

- การถ่ายโอนโดยใช้ Filter (Import)

- การถ่ายโอนไฟล์ PDF

- การถ่ายโอนจากการสืบค้นจากฐานข้อมูลภายใน EndNote

2.1 การถ่ายโอนข้อมูลโดยตรงจากฐานข้อมูล (Direct Export)

ในขณะสืบค้นข้อมูลจากฐานข้อมูลออนไลน์ สามารถถ่ายโอนบรรณานุกรมจากหน้าจอเข้าสู่ EndNote ได้ทันที ฐานข้อมูลที่


สามารถถ่ายโอนบรรณานุกรมเข้าสู่ Endnote ได้ทันที ได้แก่ ฐานข้อมูล Science Direct , CINAHL, Web of science, Wiley Online
Library, Oxford Journal, PubMed เป็นต้น นอกจากฐานข้อมูลแล้วในส่วน E-Journal สามารถถ่ายโอนข้อมูลบรรณานุกรมได้โดยตรง
โดยดูคาสั่งที่ถา่ ยโอนข้อมูลโดยตรงจากหน้าจอ E-Journal ดังนี้ Export, Export Citations, Download reference manager,

Download to citations manager, Bibliographic manager เป็นต้น

วิธีการนาเข้าข้อมูลโดยตรงจากฐานข้อมูลออนไลน์ต่างๆ

1.ฐาน ONE Search @Prince of Songkla University

1.1จากหน้าฐานข้อมูล One Search พิมพ์คาค้นที่ต้อง เลือกบทความที่ต้องการนาบรรณานุกรมจัดเก็บเข้าสู่โปรแกรม EndNote

1.2 ในส่วนหน้าบทความทีต่ ้องการจัดเก็บบรรณานุกรม คลิกเลือก ปุ่ม Export

1.3 โปรแกรมจะเข้าสู่หน้าจอ Export Manager เพื่อนาเข้าข้อมูลบรรณานุกรมสู่ EndNote เลือกปุ่ม save > เปิดด้วยโปรแกรม
(ให้เลือกหา โปรแกรม EndNoteX7) > ตกลง ระบบจะนารายการบรรณานุกรมเข้าสู่ EndNote โดยตรง เมื่อเสร็จสิ้นกระบวนการ
จัดเก็บ หน้าจอคอมฯ จะเปิดโปรแกรม EndNoteX7 โดยอัตโนมัติ พร้อมแสดงรายการบรรณานุกรมที่นาเข้า

รูปที่ 1 หน้าจอสืบค้น One Search พร้อมคาค้น

1.พิมพ์คาค้น

2.คลิก search
1
2
รูปที่ 2 ผลการสืบค้นข้อมูล > เลือกบทความที่ต้องการจัดเก็บบรรณานุกรม

1.เลือกบทความที่ตอ้ งการ

2.คลิก Export
ผลการสืบค้น One Search

2
1

รูปที่ 3 โปรแกรม Export Manager เพื่อนาเข้าข้อมูลบรรณนุกรมโดยตรง

1.คลิก save

2. Open “EndNoteX7”

3.คลิก ตกลง
3

รูปที่ 4 ผลการนาเข้าบรรณานุกรมจากฐาน One Search เข้าสู่โปรแกรม EndNote โดยอัตโนมัติ


2.ฐานข้อมูล PubMed

2.1 สืบค้นเอกสารที่ต้องการจากฐานข้อมูล PubMed เลือกบทความที่ต้องการ ทีละรายการหรือกี่รายการก็ได้

2
2.2 ปุ่ม Send To > เลือกคาสัง่ Citation manager > Create File

2.3 โปรแกรมจะเรียกหาการเปิดข้อมูลอัตโนมัติ เลือกเปิดด้วย EndNoteX7 และคลิกปุ่ม ตกลง โปรแกรมจะเรียกหา EndNote พร้อมแสดง


บรรณานุกรมจาก PubMed เข้าสู่โปรแกรม EndNoteX7 > คลิก ตกลง บรรณานุกรมจะเข้าสู่โปรแกรม EndNote โดยอัตโนมัติ

7
รายการบรรณานุกรม 3
รายการจากฐาน PubMed

*** นอกจากการจัดเก็บบรรณานุกรมแบบอัตโนมัติจากฐานข้อมูล PubMed ยังมีอีกหนึ่งวิธีการดังนี้


1.คลิกเลือกรายการเอกสาร > เมนู send to > File > MEDLINE > Create File
2.เอกสารที่ต้องการจัดเก็บบรรณานุกรมถูกบันทึกไว้ โดยปกติหากไม่เลือกสถานที่จดั เก็บ คอมพิวเตอร์จะจัดเก็บเอกสารไว้ที่ My
Document / Downloads แต่ทั้งนี้อาจขึ้นอยู่กับบราวเซอร์ที่ใช้ ในส่วนตัวอย่างใช้บราวเซอร์ Google Chrome เมื่อคลิก Create File แล้ว
เอกสารจะถูกบันทึกไว้มุมล่างของหน้าจอคอมพิวเตอร์ ซึ่งในบราวเซอร์ Mozilla Firefox จะไม่แสดงเช่นนี้ แต่จดั เก็บใน My Document /
Downloads เช่นเดียวกัน

3.เปิดโปรแกรม EndNoteX7 > คลิก หน้าต่าง Import File จะแสดง คลิก Choose เพื่อเลือกไฟล์บรรณานุกรมที่บันทึกไว้
4. หน้าต่าง Import File จะแสดงเพื่อให้เลือกไฟล์ที่ต้องการนาเข้าบรรณานุกรม คลิก Choose เพื่อหาไฟล์ที่จัดเก็บจาก
ฐานข้อมูล PubMed ซึ่งจัดเก็บอยู่ที่ My Document / Downloads ชื่อ pubmed_result

5. คลิก Import Option หา PubMed ซึ่งหากไม่ปรากฏดังตัวอย่างสามารถคลิกหาจาก Other Filter ซึ่งเป็นแหล่งรวม Filter


หน้าจอ Import File เพื่อนาเข้าบรรณานุกรมจากฐานข้อมูล PubMed

6.คลิก Import เพื่อนาเข้าข้อมูลบรรณานุกรม หน้าจอจะแสดงไฟล์ข้อมูลบรรณานุกรมที่นาเข้ามาจากฐานข้อมูล PubMed ในเมนู


Imported References

4.ฐานข้อมูล OVID วิธีการดังกล่าวสามารถทาได้เช่นเดียวกันกับการอ่านจากวารสารเดีย่ วๆ ภายในฐาน OVID เช่น Academic


Medicine , Anesthesia & Analgesia เป็นต้น

- สืบค้นบทความ เลือกบทความทีต่ ้องการจากหน้าฐานข้อมูล คลิกเลือกได้ไม่จากัดจานวน


- คลิกเลือก เมนู Export เพื่อจัดการบรรณานุกรมทีเ่ ลือก

1
1.เลือก Export To “EndNote”
2
2.ต้องการนาออกรูปแบบเอกสารแบบใด

3. คลิกเลือก Export Citation


3

- แสดงหน้าจอเพื่อนารายการบรรณานุกรมออกไปจัดเก็บในโปรแกรม EndNoteX7 คลิก OK เพื่อนาเข้าโปรแกรม EndNote โดย


อัตโนมัติ และโปรแกรมจะ Pop-up หน้าต่าง Filter เพื่อคลิก Choose ข้อมูลบรรณานุกรมจากฐานข้อมูล OVID จะเข้าสูโ่ ปรแกรม
EndNote อัตโนมัติ

5
6

5.ฐานข้อมูลWiley Online Library รวมถึงวารสารเดี่ยวๆในฐานข้อมูล Wiley ทั้งหมด

- เลือกบทความทีต่ ้องการจัดเก็บบรรณานุกรม ไม่จากัดจานวน

-คลิกเลือกเมนู Export Citation เพื่อนาข้อมูลที่เลือกเข้าสู่โปรแกรม EndNote หน้าต่าง Export Citation จะปรากฏ เพื่อคลิก
Submit ข้อมูล

2
3

- คลิก Submit จะมีหน้าต่างคาสัง่ ให้เลือกเปิดข้อมูลที่นาออกด้วยโปรแกรมอะไร เลือก open with EndNoteX7.1 >คลิก OK


โปรแกรมจะเปิดโปรแกรม End Note อัตโนมัติพร้อมนาเข้าข้อมูลบรรณานุกรมที่เลือกจัดเก็บ

2.2 การถ่ายโอนบรรณานุกรมจากฐานข้อมูลออนไลน์ที่ตอ้ งใช้ Filter

ฐานข้อมูลออนไลน์บางฐานข้อมูล สามารถนาเข้าข้อมูลบรรณานุกรม เข้าสู่โปรแกรม EndNote ได้โดยอาศัย Filter ของแต่ละ

ฐานข้อมูล เช่น ฐานข้อมูลบรรณานุกรม (OPAC) ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

การนาข้อมูลบรรณานุกรม จาก OPAC ห้องสมุดมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เข้าสู่โปรแกรม Endnote ทาได้ดงั นี้


1. เลือกเอกสารจากหน้าผลการสืบค้น ไม่จากัดจานวน คลิก  ในช่อง หน้าตัวเลขแต่ละรายการ > เลือกคาสัง่ “บันทึกรายการที่

เลือก ” > คลิกเลือก “ส่งออกข้อมูลที่บันทึก ” > เลือกรูปแบบที่ต้องการส่งออก เป็น > คลิก

“ส่งออก ”
2 3

** ข้อสังเกต หากเป็นหนังสือภาษาไทย หลังจากเลือกรูปแบบ ให้เปลี่ยนในส่วน


เป็นรูปแบบ Unicode (UTF-8) ก่อนการคลิก “ส่งออก”

** ไฟล์เอกสารอ้างอิงที่บันทึก ส่วนใหญ่จะจัดเก็บในคอมพิวเตอร์ในส่วน Folder Download

2.เมื่อส่งออกเอกสารที่จัดเก็บจากหน้า OPAC เรียบร้อยแล้ว เปิดโปรแกรม EndNote เลือก Library ที่ต้องการจัดเก็บเอกสารอ้างอิง


จาก OPAC ใช้เมนู File หรือ ลูกศร > หน้าต่าง Import จะปรากฏ เพื่อเลือกไฟล์ที่ต้องการนาเข้า

การนาเข้าไฟล์เอกสารอ้างอิงที่จัดเก็บ เพื่อเข้าสู่ Library สามารถทาได้ 2 วิธี

1.คาสั่ง File > Import > File หน้าต่าง Import จะปรากฏ หรือ

2. คลิกที่สัญลักษณ์ลูกศร หน้าต่าง Import จะปรากฏ


1

1 เมนูทางลัด

3.เลือกไฟล์เอกสารจาก OPAC ที่จัดเก็บ ใน Folder Download ชื่อ คลิกเลือก Choose > ไฟล์จาก OPAC
“ExportBib.txt” > เลือก Import Option “EndNote Import” > คลิก Import >เอกสารอ้างอิงจะจัดเก็บเข้าสู่โปรแกรม

2
คลิก Choose เพื่อหาชื่อ
File ที่ตั้งไว้

เลือก File ส่วนใหญ่


นามสกุลของไฟล์ .txt
หน้าจอพร้อมจัดเก็บ File เอกสาร โดยใช้ Filterเพื่อเข้าสู่ End Note

1.ชื่อไฟล์เอกสารที่ต้องการ
1 จัดเก็บ

2 2.Filter ที่ใช้สาหรับไฟล์
เอกสารจาก OPAC

3.คลิก Import
3

** ในปัจจุบันส่วนใหญ่ฐานข้อมูลออนไลน์หรือหากสืบค้นทรัพยากรห้องสมุดของแต่ละมหาวิทยาลัย จะสามารถถ่ายโอนข้อมูลบรรณานุกรม

เข้าสู่โปรแกรม EndNote ได้โดยตรง เช่นเดียวกับ OPAC ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตัวอย่างข้างต้นแสดงให้ดใู นกรณีที่ต้องการใช้


Filter แต่หากต้องการนาเข้าโดยอัตโนมัติก็สามารถทาได้โดยขั้นตอนเหมือนข้อ 2.1 ข้างต้น แต่ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการเลือกใช้บราวเซอร์ในการค้น

ข้อมูล เช่น IE , Firefox , Chrome

2.3 การนาเข้าไฟล์เอกสารอ้างอิงในรูปแบบไฟล์ PDF เพื่อให้โปรแกรมจัดทาบรรณานุกรมให้โดยอัตโนมัติ

- เปิดโปรแกรม EndNote เลือก Library ที่ต้องการนาเข้าไฟล์เอกสาร PDF เพื่อจัดทาเอกสารอ้างอิง

- คลิกเมนู File > Import > File > หน้าต่าง Import ให้เลือกไฟล์เอกสาร PDF ที่ต้องการ วิธีการจะเหมือนกันการนาเข้าข้อมูล
เอกสารอ้างอิงแบบใช้ Filter > เลือก ไฟล์ PDF ที่ต้องการ > Import Option เป็น PDF > คลิก Import

เลือกเอกสาร
PDF ที่ต้องการ
ทาบรรณานุกรม
หน้าจอพร้อมนาเข้าเอกสารอ้างอิงที่จดั เก็บในรูป PDF

เอกสาร PDF เข้าสู่


โปรแกรม End Note

2.4 นาเข้าข้อมูลบรรณานุกรมจากการสืบค้นผ่าน Online Search ภายในโปรแกรม EndNote ซึ่งสามารถใช้ฐานข้อมูล PubMed ,

Library of Congress , Web of Science เป็นต้น สามารถทาได้โดย

- สังเกตหน้าจอเมนู Online Search ปรากฏหรือไม่ หากยังไม่ปรากฏ คลิก เพื่อให้เมนูปรากฏ

- คลิกเลือกฐานข้อมูลที่ต้องการ เข่น PubMed หน้าจอแสดงช่องการสืบค้น


การแสดงผลหน้าจอโปรแกรม EndNote

การแสดงผลของโปรแกรม End Note เมื่อมีการนาเข้าเอกสารอ้างอิง ปุ่มเครื่องมือบางเมนูจะปรากฏ เพื่อสามารถให้จัดการ


เอกสารอ้างอิงได้

หน้าจอพร้อมนาเข้าเอกสารอ้างอิง

รายละเอียดของ
เมนูหลักและเมนูจาก รายละเอียดบรรณานุกรมในส่วนเนื้อหา เอกสารอ้างอิงแต่ละรายการ
การนาเข้าเอกสารอ้างอิง หลักๆ ได้แก่ ชื่อผู้แต่ง , ปีพิมพ์ , ชื่อเรื่อง , สามารถเลือกการแสดงผล ได้
แหล่งที่มาของเอกสาร เช่น Reference, Preview ,
PDf
การจัดกลุ่มเอกสารอ้างอิง Group

ในแต่ละ Library ที่จัดเก็บเอกสารอ้างอิงได้ไม่จากัดรายการนั้น หากต้องการจัดกลุ่มเอกสารอ้างอิงเพื่อให้สะดวกต่อการใช้งาน ซึง่

การจัดกลุ่มจะแสดงผลในเมนู โดยสามารถจัดกลุ่มได้ 3 แบบ คือ

1.จัดกลุ่มแบบ Create Group

2.จัดกลุ่มแบบ Create Smart

3.จัดกลุ่มแบบ Create From Group

1.จัดกลุ่มแบบ Create Group

-คลิกเมนู Group > Create Group > ตั้งชื่อกลุ่มที่ต้องการ > คลิกพื้นที่ว่างในหน้าโปรแกรม เพือ่ รับคาสั่งการตัง้ ชื่อกลุ่ม

ตัวอย่างการตั้งชื่อกลุ่ม
ตั้งชื่อกลุ่ม

-เมื่อตัง้ ชื่อกลุ่มเรียบร้อยแล้ว ต้องการนาเอกสารอ้างอิงแต่ละรายการเข้ากลุ่ม ทาได้โดย คลิกเลือกเอกสารอ้างอิงกี่รายการก็ได้จาก

หน้า All Reference ขั้นตอนดังนี้ คลิกเลือกเอกสารอ้างอิง หากเลือกหลายรายการกด Shift ที่คีย์บอร์ดแล้วกดเลือกเอกสาร หากต้องการ


เลือกเอกสารอ้างอิงรายการใดก็ได้ไม่ติดกัน กด Crtl ค้างไว้ แล้วคลิกเลือกเอกสารอ้างอิงที่ต้องการ > คลิกเมนู Group > Add Reference
To > เลือกชื่อกลุ่มทีต
่ ้องการจัดเก็บเอกสารอ้างอิง
2.จัดกลุ่มแบบ Create Smart

- คลิกเมนู Group > Create Smart > หน้าต่าง Smart Group พร้อมรับคาสั่งการตัง้ ชื่อ และค้นหาเอกสารอ้างอิงจากการสืบค้น

โดยกรอกรายละเอียดในหน้าต่าง Smart Group ในส่วน ชื่อกลุ่ม, สิ่งที่ต้องการค้นเพื่อจัดกลุ่ม เช่น ชื่อผู้แต่ง, ชื่อเรื่อง และ ปี สามารถกรอก
ช่องใดช่องหนึ่ง หรือทั้งหมดก็ได้ จากนั้นคลิก Create

ช่องการสืบค้น
ตั้งชื่อกลุ่ม
เอกสารอ้างอิง เพื่อ
2013
ต้องการจัดกลุ่ม เช่น
ต้องการจัดกลุ่ม
เอกสารอ้างอิง ปี 2013

ตัวอย่างการจัดกลุ่มแบบ Smart Group

ชื่อกลุ่ม Nursing Health Care ค้นหาเอกสารปี 2014

3.จัดกลุ่มแบบ Create From Group

- คลิกเมนู Group > Create From Group หน้าต่างคาสั่งปรากฏ ตั้งชื่อกลุ่มใหม่ เพื่อเป็นการรวมกลุ่มย่อยให้เป็นกลุ่มใหญ่

ตั้งชื่อกลุ่ม
-ตั้งชื่อกลุ่มใน หน้าต่าง Create From Group ในช่อง Group Name > คลิกลูกศรหลังคา Select a group เพื่อเลือกกลุ่ม และ
เลือกกลุ่มถัดไปในช่องถัดไป สามารถเลือกกลุ่มในการรวมทุกช่องก็ได้ หรือต้องการรวมเฉพาะบางกลุ่ม > คลิก Create

การลบ/แก้ไข / ตั้งชื่อใหม่ กลุม่ ต่างๆ

1.คลิกชื่อกลุม่ ที่ต้องการ > คลิกเมนู Group > จะมีคาสั่ง

2.คลิกชื่อกลุม่ ที่ต้องการแก้ไข หรือตั้งชื่อใหม่ > คลิกเมนู Group >

ข้อสังเกต

1. หากเอกสารอ้างอิงจัดเก็บอยูใ่ นเมนู รายการอ้างอิงจะไม่สามารถนาไปอ้างอิงใน MS Word ได้

เนื่องจากเป็นการจัดเก็บเอกสารอ้างอิงแบบออนไลน์ ซึ่งต้องเปลีย่ นการจัดเก็บอ้างอิง เป็น โดย

คลิก

2. การสืบค้นเอกสารอ้างอิงผ่าน Online Search หน้าจอหลักจะแสดงเมนูการสืบค้นออนไลน์เพื่อใส่คาค้น และแสดงผลรายการอ้างอิงที่

ต้องการจัดเก็บ เมื่อเสร็จสิ้นการค้นหา สามารถเก็บเมนู Online Search โดยคลิก เพื่อกลับสู่หน้าจอโปรแกรม


ปกติได้
3. การเลือกรูปแบบการแสดงผลหน้าจอ

2 3 4
1

หมายเลข 1 คลิกเมื่อต้องการแสดงเขตข้อมูลรายละเอียดของเอกสารอ้างอิงนั้นๆ

หมายเลข 2 คลิกเมื่อต้องการให้แสดงรูปแบบบรรณานุกรมตามสไตล์ต่างๆ

หมายเลข 3 คลิกเมื่อต้องการอ่านเอกสาร PDF ของเอกสารอ้างอิงนั้นๆ เมื่อคลิกเมนูนจี้ ะมีเมนูซ้อนปรากฏ เพื่อให้สามารถจัดการเอกสาร


PDF ได้ เช่น พิมพ์, บันทึก

หมายเลข 4 คลิกเลือกเมื่อต้องการแนบเอกสาร PDF กับเอกสารอ้างอิงนั้นๆ

การเลือกรูปแบบการเขียนเอกสารอ้างอิง

เมื่อผ่านกระบวนการจัดเก็บเอกสารอ้างอิงด้วยวิธีการต่างๆเพื่อนาเข้าสู่โปรแกรม EndNote การใช้งานเอกสารอ้างอิงเพื่อประกอบ


ผลงานต่างๆ รูปแบบบรรณานุกรมของคณะต่างๆ หรือ วารสารชือ่ ต่างๆ จะมีรูปแบบที่แตกต่างกัน ซึ่งในโปรแกรม EndNote จะมีรปู แบบ
บรรณานุกรมในเวอร์ชั่น X7 มากกว่า 5,000 รูปแบบ และสามารถเพิ่มเติมรูปแบบต่างๆได้ ผ่าน www.EndNote.com

สาขาเกี่ยวกับทางด้านการแพทย์ วิทยาศาสตร์สุขภาพส่วนใหญ่ จะใช้รูปแบบบรรณานุกรม Vancouver แต่อาจจะปรับเปลี่ยนบางส่วนจาก


รูปแบบ Vancouver ทีโ่ ปรแกรมกาหนด ได้แก่

รูปแบบการเขียนเอกสารอ้างอิงแบบ Vancouver ตามแบบ สงขลานครินทร์เวชสาร คณะแพทยศาสตร์


มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีรูปแบบการเขียนบรรณานุกรมแบบ Vancouver ดังนี้

1.การอ้างอิงในเนื้อหาใช้ ,
1 2-6
ใช้ตัวเลขยก
2. การอ้างอิงท้ายบท
- บทความวารสาร จะไม่ใส่ ฉบับที่ (Issue)
- ชื่อผู้แต่งที่มากกว่า 3 คน ใช้ และคนอื่นๆ หรือ et al
ตัวอย่างรูปแบบ
Martin J, Chater A, Lorencatto F. Effective behaviour change techniques in the prevention and management of childhood obesity. Int J Obes
(Lond) 2013;37:1287-94.
Li ZG, Jiao Y, Li WJ, et al. Hypermethylation of two CpG sites upstream of CASP8AP2 promoter influences gene expression and treatment
outcome in childhood acute lymphoblastic leukemia. Leuk Res 2013;37:1287-93.
วิธีการจัดรูปแบบเอกสารอ้างอิงในโปรแกรม End Note

1. เลือก คลิกเลือก Select Another Style เพื่อหารูปแบบบรรณานุกรมที่ต้องการ เช่น Vancouver ,


APA6th ฯ,ฯ
2. เลือกรูปแบบบรรณานุกรมที่ต้องการ เมนู Choose A Style จะรวบรวมรูปแบบบรรณานุกรมไว้ โดยจัดเรียงตามลาดับตัวอักษร A-Z
เลือกรูปแบบบรรณานุกรมที่ต้องการได้แล้ว คลิก Choose

3
การใช้งานโปรแกรม EndNote กับ Microsoft Word

คุณสมบัติของโปรแกรม EndNote เวอร์ชั่น X7 สามารถใช้งานร่วมกับ MS Word 2007 , MS Word 2010 , MS Word 2013
ซึ่งเมื่อติดตั้งโปรแกรม EndNote สมบูรณ์ในหน้า MS Word จะมีเมนู End Note ปรากฏพร้อมสาหรับการใช้งาน

วิธีการใช้งานเมือ่ ต้องการอ้างอิงเอกสารสาหรับการเขียนผลงานต่างๆ

1.เปิดโปรแกรม MS Word เพื่อเขียนงาน ใช้เมาส์คลิกตาแหน่งที่ต้องการ วางเอกสารอ้างอิง เมื่อกาหนดการวางเอกสารอ้างอิงในเนื้อหา


โปรแกรมจะวางเอกสารอ้างอิงท้ายบทในหน้าสุดท้ายของเอกสารเสมอ

2.คลิกที่โปรแกรม EndNoteX7 บนแถบเมนูหน้า MS Word เลือกเอกสารอ้างอิงที่ต้องการแทรก รายการทีเ่ ลือกจะแสดงเป็นแถบสีฟ้า >

คลิกเมนู เพื่อแทรกเอกสารอ้างอิงใน MS Word

2 1.กาหนดตาแหน่งที่ต้องการแทรก
เอกสารอ้างอิง

2.คลิกเมนู EndNoteX7 โปรแกรมจะเปิด


เพื่อรอรับคาสั่งการเลือกบรรณานุกรม เลือก
1
บรรณานุกรมที่ต้องการ คลิก

3
เอกสารอ้างอิงในเนื้อหา
พร้อมบรรณานุกรมท้ายเล่ม

** เมื่อแทรกเอกสารอ้างอิงในเนื้อหาของผลงาน สังเกตตัวอักษรของเอกสารอ้างอิงโดยเฉพาะในส่วนอ้างอิงท้ายบท อาจมีรูปแบบตัวอักษรไม่


สวยงาม ในขั้นตอนนี้ไม่ต้องแก้ไขเอกสารใดๆทัง้ สิ้น จนกว่าจะเขียนผลงานพร้อมแนบเอกสารอ้างอิงเสร็จเรียบร้อยแล้ว

การแก้ไขรูปแบบบรรณานุกรมแบบ Vancouver

รูปแบบการเขียนเอกสารอ้างอิงแบบ Vancouver ดังวิธีการดังกล่าว อาจจะไม่เหมือนรูปแบบของ สงขลานครินทร์เวชสาร คณะ


แพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หรือแบบ Vancouver ที่เผยแพร่ในวารสารทางด้านการแพทย์ สามารถแก้ไขรูปแบบ
บรรณานุกรมให้ตรงตามแหล่งเผยแพร่ผลงานต่างๆได้

รูปแบบบรรณานุกรม Vancouver ที่ใช้แทรกในเนื้อหามีรูปแบบดังนี้


1
ตัวเลขยกเดี่ยว
(1)
ตัวเลขยกอยูใ่ นวงเล็บ

[ 1]
ตัวเลขยกอยูใ่ นวงเล็บเหลี่ยม

ซึ่งตาแหน่งการแก้ไขอยู่ในวิธีการเดียวกัน แล้วแต่กาหนดใช้การอ้างอิงในเนื้อหาแบบใด
วิธีการแก้ไขตัวเลขในการอ้างอิงภายในเนื้อหา

1. เปิด MS Word เอกสารที่เขียนผลงาน ซึ่งต้องการแก้ไขการอ้างอิง คลิกตาแหน่งการอ้างอิงภายในเนื้อหาตาแหน่งใดก็ได้ สังเกตที่ตัวเลข


อ้างอิงจะเป็นผืนสีเทา คลิกเลือก EndNoteX7

1
1. F

2. โปรแกรม EndNote จะถูกเปิดโดยอัตโนมัติ คลิกเมนู Edit > Output Style > Edit Vancouver

2
3. หน้าต่างจัดการเบื้องหลังโปรแกรม จะแสดงขึ้นมา เลือกหมวด Citation คลิก Templates

4. สังเกตคาว่า หากต้องการแก้ไขให้เป็นรูปแบบใดกาหนดตามต้องการ เช่น

ตัวเลขยก 1 เปลี่ยน โดยลบเครื่องหมายวงเล็บออก แล้วป้ายข้อความ

ดังกล่าวให้เป็นแถบสีเพื่อรับคาสัง่ คลิก

ตัวเลขยกอยูใ่ นวงเล็บเหลี่ยม [1]


เปลี่ยน เป็นเครื่องหมายวงเล็บเหลี่ยม คลิก

5. คลิกบันทึกโดยคลิก X สีเทาเพือ่ บันทึกและปิดคาสัง่ หน้าต่างคาสั่งยืนยันการบันทึกแสดงคลิก Yes

พร้อมตั้งชือ่ รูปแบบการเขียนบรรณานุกรมใหม่ โดยปกติโปรแกรมจะใช้ชื่อรูปแบบเดิม เพิม่ คาว่า copy คลิก save เพื่อบันทึก


6.หน้าจอ Library ที่แก้ไขรูปแบบบรรณานุกรม เปลี่ยนชื่อรูปแบบตามที่กาหนดไว้คือ Vancouver copy

11

7. เปิด MS Word ที่ต้องการเปลี่ยนรูปแบบบรรณานุกรมที่ต้องการ คลิกเมนู End NoteX7 > คลิกตาแหน่งการอ้างอิงในเนื้อ เพื่อให้เป็นผืนสี


เทา > คลิกเลือก Style “Vancouver copy” หน้าจอแสดงผลการอ้างอิงในเนื้อหาจะเปลี่ยนรูปแบบทันที
การจัดการเอกสารอ้างอิง กับผลงานประเภทวิทยานิพนธ์

การเขียนวิทยานิพนธ์ หรือเอกสารที่มีลักษณะเป็นบทๆ ต้องการให้เป็นเอกสารไฟล์เดียวกัน และมีส่วนอ้างอิงในบททีท่ ี่เป็น


บรรณานุกรม ซึ่งโปรแกรม EndNote สามารถจัดการงานเขียนลักษณะนี้ได้ โดยมีวิธีการดังนี้

1.ใน MS Word สร้างไฟล์เอกสารจานวน 5 ไฟล์ และทาการแทรกรายการอ้างอิงตามปกติ และสร้างไฟล์เอกสารเปล่าที่ชื่อReferences ด้วย


เช่น ไฟล์ที่ 1 บทที่ 1 , ไฟล์ที่ 2 บทที่ 2 จนครบ 5 บท และ ไฟล์บรรณานุกรม

2. คลิก ที่ Convert Citations and Bibliography แล้วเลือก Convert to Unformatted Citations

3. คลิกที่ File - Save As เพื่อบันทึก ไฟล์ เลือก Folder ที่จัดเก็บ เช่น Desktop , Document เพื่อสะดวกในการเปิดหาไฟล์เอกสารเมื่อดาเนินการ
เสร็จสิ้น
4. ตั้งชื่อ ไฟล์ข้อมูล เช่น บทที่ 1, บทที่ 2, บทที่ 3, บรรณานุกรม ตามลาดับ และเลือก Save as type เป็น Rich Text Format (*.rtf) แล้วคลิก
save และ ปิดโปรแกรม Microsoft Word

5.ใน EndNote เลือกที่ Tools – Format Paper – Format Paper


6. เลือกไฟล์เอกสารที่บันทึก แล้วคลิก Open

7. EndNote จะแสดงหน้าจอการตรวจสอบเอกสาร จากนั้นบันทึก จากนั้นคลิก Scan Next เพื่อเลือกเอกสารในลาดับถัดไป ไปจนครบทุกไฟล์

8. เลือกรูปแบบบรรณานุกรมที่ตอ้ งการใช้งานในส่วน Output Style เช่น Vancouver , APA 6th และคลิกที่ Format
9. EndNote จะสร้างไฟล์ผลลัพธ์ขึ้นมาใหม่ ซึ่งไฟล์เหล่านั้น จะมีชื่อเหมือนไฟล์ต้นฉบับ แล้วตามด้วยชื่อรูปแบบบรรณานุกรมทีเ่ ลือก เช่น

บทที่ 1 Vancouver.rtf คลิกบันทึกไปเรื่อยๆจนกว่าจะครบบทต่างๆที่กาหนดไว้

10.เปิด MS Word เพื่อดูผลงานการอ้างอิงเป็นบทๆ ทีบ่ ันทึกไว้ จากตัวอย่างบันทึกผลงานไว้ที่ Document จึงเรียกหาไฟล์จาก Folder ผลงานที่
ได้จะแสดงชื่อไฟล์เป็น

บทที่ 1-Vancouver copy, บทที่ 2 –Vancouver copy, บทที่ 3-Vancouver copy, บรรณานุกรม-Vancouver copy ลักษณะดังกล่าวหมายถึงชื่อ
บท และตามด้วยรูปแบบบรรณานุกรมที่ใช้
การถอดโปรแกรม EndNote ออกจากโปรแกรม MS Word

การใช้งานโปรแกรมจัดการเอกสารอ้างอิงกับ MS Word ในการเขียนผลงานต่างๆ เพื่อความสะดวกในการจัดทาเอกสารอ้างอิงให้


สะดวก รวดเร็วยิ่งขึ้น เมื่อใช้งานโปแกรม EndNote ในการจัดการเอกสารอ้างอิงเสร็จเรียบร้อยแล้ว โดยที่ไม่มีการเพิ่มเติมเอกสารอ้างอิงใด
ข้อสังเกตเอกสาร Word ที่พ่วง EndNote เมื่อคลิกที่ตัวเลขอ้างอิง หรือส่วนบรรณานุกรมท้ายเล่ม จะเป็นลักษณะผืนสีเทาคลุมตัวอักษร

สามารถถอดโปรแกรม EndNote ออกจาก MS Word เพื่อให้เอกสารใน Word สามารถแก้ไขตัวอักษร หรือแก้ไขในส่วน


เอกสารอ้างอิง ให้สวยงามเป็นรูปแบบตัวอักษรเช่นเดียวกับงานเขียน หรือต้องการแก้ไขในส่วนอื่นๆ และ พิมพ์ผลงานส่งเผยแพร่ สามารถทา
ได้สะดวกยิ่งขึ้น

1. เปิดเอกสาร Word ที่เขียนงานร่วมกับโปรแกรม EndNote ร่วมด้วย คลิกเลือก EndNoteX7


2. คลิกลูกศรด้านหลัง Convert Citations and Bibliography คลิกเลือก Convert to Palin Text จะ
ปรากฏหน้าจอบันทึกเอกสารจะปรากฏ คลิก save
3. ตั้งชื่อเอกสาร และเลือกที่จัดเก็บระบบจะจัดเก็บเอกสาร Word 2 เอกสาร สังเกตได้ว่าเอกสารที่ถอดโปรแกรม EndNote แล้วจะไม่มีลักษณะ
ผืนสีเทาบนข้อความบรรณานุกรม สามารถแก้ไขตัวอักษรคือการสะกดคาของเอกสารอ้างอิงท้ายเล่มได้ง่ายยิ่งขึ้น
เทคนิคเพิ่มเติมการใช้โปรแกรม EndNoteX7

1. การเปลี่ยนรูปแบบการแสดงหน้าจอ (Chang Layout)


- คลิก Layout เพื่อเลือกหน้าจอ เลือกตาแหน่งทีต่ ้องการให้หน้าจอแสดงผล
- เลือกหน้าจอที่ต้องการให้แสดงผล

ภาพตัวอย่างการจัด Layout

2.
3.
2.การเปลี่ยนรูปแบบตัวอักษร
- คลิกเลือกเอกสารอ้างอิงที่ต้องการแก้ไขในส่วน Reference

- ให้ไฮไลท์ข้อความที่ต้องการเปลีย่ นแบบตัวอักษรเลือกแบบตัวอักษรที่ต้องการ เช่น ตัวหนา (B) , ตัวเอียง (I) หรือ ให้อักษร


ตัวแรกของแต่ละคาเป็นตัวพิมพ์ใหญ่ Capitalize Each Word เป็นต้น

3. การแสดงเอกสารที่ยังไม่ได้/อ่านแล้ว

เอกสารที่อ่านแล้ว

เอกสารที่ยังไม่ได้อ่าน

4. คาสั่งในการถ่ายโอนข้อมูลเอกสารอ้างอิงแบบโดยอัตโนมัติจากฐานข้อมูล หรือวารสารออนไลน์ส่วนใหญ่มักจะมีเมนูเหล่านี้เป็น
ตัวนาออกเอกสารอ้างอิงเข้าสู่ EndNote
Direct Export / Export directly to EndNote or Reference Manager / Download to reference manager / Bibliographic manager /
Citations in Direct Export format เป็นต้น
5. Ratings Reference การจัดลาดับความสาคัญของเอกสารอ้างอิงด้วย 
- คลิกเลือกเอกสารอ้างอิงที่ต้องการจัดลาดับ สังเกตรายละเอียดของเอกสารอ้างอิงนั้นๆ จะมีช่อง Rating คลิกจานวน  ตาม
ต้องการ

6. Find Full Text (การค้นหาเอกสารฉบับเต็ม) ใช้งานกับรายการเอกสารอ้างอิงที่นาเข้าจากฐานข้อมูลออนไลน์ หรือเอกสารที่เป็น


ประเภทออนไลน์ เป็นการสั่งให้โปรแกรมหาเอกสารฉบับเต็มของรายการเอกสารอ้างอิง ที่เราจัดเก็บใน EndNote

เอกสารที่มี Full text

1.คลิกเลือกเอกสารอ้างอิงที่ต้องการ 2.คลิกสัญลักษณ์

3 3.โปรแกรมจะค้นหา Full text


7. การแก้ไข และจัดการเอกสารอ้างอิงแทรกในเนื้อหา
1. คลิก EndNoteX7 2. คลิก Edit & Manage Citation

1
3
2

3. คลิก Edit Reference ในรายการที่ต้องการ


Edit Library Reference แก้ไขข้อมูลรายการอ้างอิง
Find Reference Updates อัพเดทรายการอ้างอิงทีเ่ ลือก
Remove Citation ลบรายการอ้างอิงที่เลือก
Insert Citation แทรกรายการอ้างอิงใหม่
Update from My Library อัพเดท library ที่เลือก

4. เปลี่ยนรูปแบบการอ้างอิง
Display: Author (Year) แสดงการอ้างอิงเป็น Author (Year)
Exclude Author แสดงการอ้างอิงเฉพาะชื่อผู้แต่ง
Exclude Year แสดงการอ้างอิงเฉพาะปีพิมพ์
Exclude Author & Year ไม่แสดงการอ้างอิงทั้งชื่อผู้แต่งและปีพิมพ์
Show Only in Bibliography แสดงเฉพาะบรรณานุกรม
8. การแทรกรูปภาพในเอกสาร MS Word

-คลิกเมาส์เพื่อกาหนดการแทรกรูปภาพ > คลิก Insert Citation > Insert Figure

-คาค้นภาพส่วนใหญ่จาก Caption เป็นส่วนคาอธิบายภาพจากโปรแกรม EndNote เพื่อนามาแทรกในการเขียนผลงาน

ใส่ค้นค้นทีต่ ้องการ > คลิก Find > หน้าจอแสดงภาพจากคาค้น > คลิก Insert

1 2

ใส่คาค้น “ น่อง”

รูปภาพแทรกใน MS Word

การแก้ไขข้อความที่เป็นผืน
สีเทา ทาหลังจากถอด
โปรแกรม EndNote ออก
9. การถ่ายโอนข้อมูลระหว่างห้องสมุด(Library) ของโปรแกรม EndNote สาหรับใช้ในกรณีที่มี Library จัดเก็บเอกสารอ้างอิงหลายๆ
Library

คลิกเมนู File > Import > File >หน้าต่าง Import File เลือก Choose เพื่อหา Library ที่ต้องการให้รวมเป็นหนึ่ง Library > เลือก
Import Option “EndNote generated XML” > คลิก Import

1
3

2 4

10.การหาข้อมูลเอกสารอ้างอิงซ้าใน Library ( Find Duplicate)

1.เลือกรายการเอกสารอ้างอิงที่ตอ้ งการ
1
2.เมนู Reference > Find Duplicates

2
หากมีรายการเอกสารอ้างอิงซ้า จะมี
การแสดงรายการที่ซา้ เพื่อให้เลือก
ส่วนรายการใดมี ไฮไลท์แสดงว่า
เอกสารอ้างอิงนั้นมีการอัพเดทข้อมูล
ใหม่ คลิก Keep This Record
รายการอ้างอิงที่ต้องการ

11. การใช้งานโปรแกรม End Note ร่วมกับ Microsoft Power point

2
3

1.วาง cursor ตาแหน่งที่ต้องการแทรกอ้างอิง 2. คลิก EndNoteX7 3. คลิก Go to EndNote

4. เลือกเอกสารอ้างอิงที่ต้องการ และคลิก เช่นเดียวกับ MS Word 5.เอกสารอ้างอิงจะแทรกในเนือ้ หา

****มีปัญหาการใช้โปรแกรม EndNote สามารถโพสต์ถามหรือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันได้ที่ Webboard EndNote

http://lib.med.psu.ac.th/eservice/endnote/ หรือ โทรสอบถาม 0-74451-1179

You might also like