You are on page 1of 11

การคุม

้ ครองสิทธิของผู ป
้ ่ วยกรณี การร ักษาพยาบาล

หลักจริยธรรมวิชาชีพแพทย ์
การดูแลร ักษาผู ้ป่ วยของผู ้ประกอบวิชาชีพด ้านสุขภาพในทุกกรณี
จะต ้องปฏิบต
ั ต
ิ ามจริยธรรมทางการแพทย ์อย่างเคร่งคร ัด หลักสาคัญขอ
งจริยธรรม 6 ประการ มีดงั นี ้
1. หลักประโยชน์สูงสุดของผู ป ้ ่ วย (Beneficence)
คือหลักประโยชน์นิยมสามารถแปลความได ้อย่างง่ายว่า ได ้แก่
การทาความดีละเว ้นสิงช ่ ร่ ั ้าย (do good and avoid
evil)จึงเรียกอีกอย่างหนึ่ งว่า “หลักการทาความดี”
่ เป็
สิงที ่ นประโยชน์กอ ่ ให ้เกิดผลดี ผู ้ประกอบวิชาชีพพึงกระทาในสิงที ่ เป็
่ น
ประโยชน์สงู สุดต่อผู ้ป่ วย จะต ้องจริงใจต่อผู ้ป่ วย

ดาเนิ นการเพือประโยชน์ ของผู ้ป่ วยไม่วา่ จะเป็ นกรณี ใด
ๆ ผู ้ป่ วยไม่ควรถูกสอบถามในเรืองที ่ ไม่
่ มค ี วามจาเป็ น ไม่ควรได ้ร ับการร ั
กษาทีเกิ ่ นความจาเป็ น จะต ้องร ักษาความเจ็บป่ วยทางกาย จิตใจ
สังคมและทาให ้เกิดความสุขภาวะของผู ้ป่ วย แพทย ์ต ้องเปลียนทั ่ ศนคติใ
่ คิ
นเรืองที ่ ดว่าตนเองมีความรู ้มากกว่าผู ้ป่ วย

2. หลักไม่กอ่ ให้เกิดอ ันตรายต่อผู ป ้ ่ วย (Non-


maleficence) คือ การลดความเสียง ่ อันตรายต่าง
่ จะด
ๆ สิงที ่ าเนิ นการจะต ้องไม่กอ
่ ให ้เกิดอันตรายต่อผู ้ป่ วย

ทังทางกายหรื อจิตใจ จะต ้องจริงใจต่อผู ้ป่ วย การโกหกผู ้ป่ วยหรือบอกค
วามจริงไม่ครบถ ้วนอาจก่อให ้เกิดอันตรายได ้ การดูแลร ักษาด ้วยวิธก ี ารใ
ดๆ
จะต ้องพิจารณาประโยชน์เปรียบเทียบกับผลกระทบทีจะเกิ ่ ้
ดขึนแก่ผู ้ป่ วย
ควรร ักษาผูป้ ่ วยต่อไปก็ตอ ่ โอกาสสูงทีจะช่
่ เมือมี ่ วยให ้ผูป้ ่ วยมีการอาการดี
ขึน้
และก่อให ้เกิดผลข ้างเคียงไม่มากนัก จะต ้องลดผลกระทบต่างๆให ้น้อยที่
สุด

3. หลักเคารพการตัดสินใจของผู ป ้ ่ วย (Autonomy) คือ


การยอมร ับสิทธิผูป้ ่ วยทีจะตั ่ ดสินใจเกียวกั่ บตัวเอง
่ อเป็ นการยืนยันเจตนาของผู ้ป่ วย การร ักษาจะดาเนิ นการได ้ต่อเมือไ
ซึงถื ่
ด ้ให ้ข ้อมูลแก่ผป ่
ู ้ ่ วยเพือขอความความยิ นยอม (informed
consent) ผูป้ ่ วยมีสท ี่ ดสินใจเลือกวิธก
ิ ธิทจะตั ี ารร ักษาต่าง ๆ ด ้วยตนเอง
ผูป้ ่ วยมีสท ิ ธิทจะร ี่ บั ทราบข ้อมูลทีจ่ าเป็ นและครบถ ้วนเพือการตั ่ ดสินใจ
ผูป้ ระกอบวิชาชีพด ้านสุขภาพมีหน้าทีให ่ ้ข ้อมูลทีครบถ
่ ้วน
ถูกต ้องเมือผู ่ ป้ ่ วยร ้องขอ
หลักการในข ้อนี ใช ้ ้กับการร ักษาผู ้ป่ วยและการเลือกสถานทีให ่ ้การร ักษา
ี่
และผูท้ จะให ้การดูแลร ักษาผู ้ป่ วยตรงข ้ามกับ heteronomyเพราะ
autonomyหมายถึง การทีบุ ่ คคลสามารถแสดงเจตนาด ้วยตนเอง

ในขณะทีheteronomy หมายถึง
การทีบุ ่ คคลหนึ่ งตกอยู่ภายใต ้อาณัตห ิ รือกฎเกณฑ ์ของบุคคลอืนท ่
าให ้ไม่เป็ นอิสระทีจะกระท ่ าการใด ๆ ด ้วยตนเอง
หลักการเสรีนิยมยังยอมร ับว่า
บางกรณี ผู ้เป็ นเจ ้าของชีวต ิ อาจจะถูกจากัดการใช ้สิทธิทจะก ี่
าหนดชะตาชีวต ิ ตนเองหากมีข ้อเท็จจริงทีเปลี ่ ยนแปลงไป
่ เป็ นต ้นว่า
ถ ้าเจ ้าของชีวต ิ มีข ้อบกพร่องจนไม่สามารถแสดงเจตนาด ้วยตนเอง
ผูป้ กครองดูแลอาจใช ้อานาจของบุพการี (parens
patriae)ให ้ความยินยอมแทนผู ้ป่ วยนั้น หรือการใช ้อ านาจร ัฐ (police
power)
บังคับใหร้ ักษาในกรณี การร ักษาพยาบาลทีจ่ าเป็ นเพือป้
่ องกันผลประโยช
น์ของสังคม

4. หลักความเป็ นธรรม (Justice) คือ


การจัดหาบริการสุขภาพอย่างเท่าเทียมกันตามความจาเป็ นโดยไม่คานึ ง
ถึงฐานะทางเศรษฐกิจ ชนชนทางสั ้ั ่
งคม ความเชือทางศาสนา หรือสีผวิ
อย่างไรก็ตามในปัจจุบน ่
ั พบว่าการใหบ้ ริการสุขภาพทัวโลกยั งมีปัญหาใน

เรืองความเป็ นธรรม การร ักษาหลายกรณี จากัดเฉพาะกลุ่มคนรวย
ี่ อานาจ มีอท
หรือผูท้ มี ี่
ิ ธิพล หรือผูท้ สามารถเรี ่ าง ๆ
ยกร ้องสิงต่
ื่
ได ้ดีกว่าผูอ้ น

5. การร ักษาความลับของผู ป ้ ่ วย (confidentiality)


ในส่วนนี มี้ ความจาเป็ นมาก
เพราะผูป้ ่ วยมอบความไว ้วางใจเล่าอาการและประวัตค ิ วามเป็ นมาต่าง ๆ
ให ้แพทย ์ได ้ทราบ ดังนั้น แพทย ์จึงควรระมัดระวังในการนาข ้อมูลต่าง ๆ
่ ไม่
ของผูป้ ่ วยไปบอกเล่าให ้ผู ้อืนที ่ เกียวข
่ ้องกับการดูแลร ักษาผู ้ป่ วย

ซึงอาจท ่
าให ้เกิดความเสือมเสี ยมาถึงผู ้ป่ วย
ยกเว ้นจะได ้ร ับความยินยอมจากผู ้ป่ วยหรือการปฏิบต ั ห ่
ิ น้าทีตามกฎหมา

6. หลักความซือสั ่ ตย ์ (fidelity)
แพทย ์จะต ้องไม่พูดปดหรือโกหกผู ้ป่ วย หรือพูดจาให ้ผู ้ป่ วยหลงผิด
่ อแสวงหาประโยชน์
ไม่ใช ้อานาจหน้าทีเพื ่ ส่วนตน

ยึดมันในภาระหน้ ่ ตนเองร
าทีที ่ ับผิดชอบอย่างเคร่งคร ัดทังต่้ อหน้าและลับ
หลัง ไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน นึ กถึงประโยชน์ส่วนรวม
และไม่ประพฤติปฏิบต ั ผ ิ ด ิ ระเบียบหรือข ้อบังคับของสังคม
ไม่อวดอ ้างความสามารถของตนเกินความจริง
ไม่ร ับความดีความชอบโดยทีตนเองไม่ ่ ได ้เป็ นผู ้กระทา
และยอมร ับความจริงเมือผิ ่ ดพลาดหรือกระทาความผิด

ความแตกต่างระหว่างความยินยอมของผูป่้ วยในทัศนะของกฏหมายต่าง
ประเทศและของไทย

1.ความยินยอมในทัศนะของกฏหมายต่างประเทศ

ยกตัวอย่างเช่นในประเทศอังกฏษ

ความยินยอมตามหลักกฎหมายอังกฤษมีข ้อพิจารณาดังนี ้
1)ความยินยอมของผูป้ ่ วยเป็ นเงือนไขส่ าคัญสาหร ับการร ักษาพยาบาลต
ามหลักกฎหมายการแพทย ์อังกฤษยอมร ับว่า การร ักษาพยาบาล
ไม่สามารถกระทาได ้เว ้นแต่แพทย ์จะได ้ร ับความยินยอมจากผู ้ป่ วยเสียก่อ
นแม้กระทังเป็่ นผู ้มีข ้อบกพร่อง (minor nature)
2)ลักษณะของความยินยอมตามกฎหมายอังกฤษ
-สาระสาคัญของความยินยอมตามกฎหมายอังกฤษ ได ้แก่
ผูใ้ ห ้ความยินยอมต ้องรู ้ในสาระสาคัญของการร ักษาอันได ้แก่
วิธก ่
ี ารทีสามารถใช ่
้ร ักษา ผลทีจะได ้ร ับจากการร ักษา

ผลข ้างเคียงทีจะเกิ ดขึน้
-
ขณะทีผู่ ป้ ่ วยให ้ความยินยอมนั้นต ้องได ้ความว่าผูป้ ่ วยมีสติสมั ปช ัญญะที่
สมบูรณ์รวมถึงการยินยอมนั้นต ้องเกิดจากความสมัครใจ ไม่ถก ู ช ักจูง
หรือข่มขูด ่ ้วยประการใด ๆ
-การร ักษาทีไม่ ่ ได ้รบั ความยินยอมแม้จะทาให ้แพทย ์มีความร ับผิด
แต่ความร ับผิดดังกล่าวจะเป็ นการประมาทเลินเล่อหรือไม่เป็ นคนละประเด็
นกัน
การจะวินิจฉัยว่าผูร้ ักษาประมาทเลินเล่อหรือไม่ต ้องพิจารณาว่าได ้กระท
าตามหลักมาตรฐานทางวิชาชีพทีก ่ าหนดโดยองค ์กวิชาชีพหรือไม่
หากได ้กระทาตามแล ้วเกิดความเสียหายขึนแม้ ้ แพทย ์ผูน ้ ้ันจะไม่ได ้รบั ควา
มยินยอมจากผู ้ป่ วย แพทย ์ก็จะไม่มค ี วามผิดฐานประมาท

3)ข ้อยกเว ้นทีแพทย ์สามารถร ักษาพยาบาลได ้โดยไม่ต ้องได ้ร ับความยิน
ยอม
-ความจาเป็ น
่ ้ร ับอันตรายทังที
หากแพทย ์ได ้ร ักษาผู ้ป่ วยทีได ้ เป็
่ นอันตรายต่อชีวติ และมิไ
ด ้เป็ นอันตรายต่อชีวต
ิ แล ้ว
ถ ้าการกระทาดังกล่าวเป็ นการปกป้ องความเสียหายทีเกิ ่ ดต่อชีวต
ิ ของผูป้ ่
วย การกระท าของแพทย ์ไม่เป็ นความผิดทังทางแพ่ ้ งและทางอาญา

-คาสังศาล
ในประเทศอังกฤษอนุ ญาตให ้ผู ้มีส่วนได ้เสียและแพทย ์สามารถร ้องขอต่อ
่ คาสังอนุ
ศาลเพือมี ่ ่ ป้ ่ วยอยู่ในสภาพทีไม่
ญาตให ้ร ักษาผู ้ป่ วยได ้เมือผู ่ สาม
่ ักษาหรือปฏิเสธการร ักษาพยาบาลดังกล่าวกร
ารถให ้ความยินยอมทีจะร
ี่
ณี ทศาลมี ่
คาสังตามความหมายนี ้
หมายถึ ่
งเป็ นคาสังเฉพาะกรณี
-กฎหมายบัญญัต ิ
ปัจจุบน
ั ในประเทศอังกฤษมีกฎหมายหลายฉบับทีบั ่ ญญัตริ ับรองการร ักษ
่ ต ้องขอความยินยอมจากผู ้ป่ วย เช่น
าพยาบาลผูป้ ่ วยทีไม่
กรณี ผูป้ ่ วยขาดความสามารถกรณี ผู ้ป่ วยเป็ นโรคจิตเป็ นต ้น

-ประโยชน์สงู สุดของผูป่้ วย
หากผูป้ ่ วยอยู่ในภาวะไม่สามารถติดต่อสือสารกั ่ บ
ผูใ้ ดได ้จะยินยอมให ้แพทย ์ร ักษาผูป้ ่ วยนั้นได ้หรือไม่ ดังนี ้
การจะตัดสินใจว่าจะให ้ร ักษาต่อหรือไม่จงึ ขึนอยู ้ ่กบั ประโยชน์สงู สุดของผู ้
ป่ วยเป็ นสาคัญ

่ นในตัวอย่างในประเทศอังกฏษ มีความคิดเห็นว่า
จากทีเห็
แม้กฏหมายของประเทศนี ดู ้ เหมือนจะให ้อิสระแก่ผู ้ป่ วยทีจะร
่ ับรู ้ ร ับทราบ
ผลจากการร ักษาทีจะเกิ่ ดขึนกั้ บตนเอง
ประกอบการตัดสินใจปฏิเสธหรือร ับการร ักษาแต่วา่ โดยท ้ายทีสุ ่ ดแล ้ว
้ บดุลยพินิจของศาลเป็ นสาคัญ โดยทังตั
ต ้องขึนกั ้ วผู ้ป่ วยเอง เช่น
ไม่อยู่ในสภาวะตัดสินใจได ้ หรือจากญาติผู ้ป่ วยหรือแพทย ์ผู ้ร ักษา
่ สท
ทีมี ี่ ้องขอให ้การปฏิเสธการรกั ษาของผู ้ป่ วยเป็ นโมฆะไปได ้
ิ ธิทจะร
จากจุดนี ท้ าให ้เห็นว่า ถ ้าศาลมีความรู ้มาตรฐานทางการแพทย ์
ก็จะเป็ นส่วนช่วยให ้เกิดประโยชน์สงู สุดต่อคนไข ้อย่างแท ้จริง

2)ความยินยอมในทัศนะของกฏหมายไทย

พระราชบัญญัตส
ิ ุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๐ มาตรา ๘

ระบุเรืองการให ้ความยินยอมของผู ้ป่ วยในการร ักษาทางการแพทย ์

มีเนื อหาคื อ แพทย ์ทีให ่ ้การร ักษามีหน้าทีแจ ่ ้งข ้อมูลทีเพี
่ ยงพอ
ในการตัดสินใจร ับบริการด ้านสาธารณสุขของผูป่้ วย (ผู ้ร ับบริการ)
หรือทีเรี ่ ยกว่า หลักความยินยอมทีได ่ ้ร ับการบอกกล่าว (informed
consent)
หลักการในเรืองนี ่ สอดคล
้ ้องกับหลักสากลคือปฏิญญาลิสบอนว่าด ้วย
“สิทธิผูป้ ่ วย” ของแพทยสมาคมโลก (The World Medical
Association Declaration on the Rights of the Patient) ซึงระบุ ่ วา่
ผูป้ ่ วยมีสท ี่ ดสินใจเกียวกั
ิ ธิทจะตั ่ บตนเองโดยอิสระ
โดยแพทย ์จะต ้องแจ ้งให ้ผู ้ป่ วยทราบถึงวัตถุประสงค ์ของการตรวจวินิจฉัย
หรือบาบัดร ักษา ผลทีจะเกิ ่ ้
ดขึนจากการตั ดสินใจนั้น
ความเสียงที ่ อาจเกิ
่ ดขึน้ ทังนี
้ ผู้ ้ป่ วยจะต ้องเข ้าใจข ้อมูล คาอธิบายนั้นด ้วย
่ ้าใจวิธก
ผูป้ ่ วยทีเข ี ารร ักษาแลว้ จะยินยอมให ้แพทย ์ร ักษาหรือไม่ก็ได ้

สาหร ับข ้อความในวรรคสองของมาตรา ๘ ทีระบุ ่ ว่า



ผูใ้ ห ้บริการซึงรวมถึ งแพทย ์ไม่ต ้องร ับผิดชอบในความเสียหายทีเกิ ่ ดกับผู ้
ร ับบริการหรือผู ้ป่ วย
หากผูป้ ่ วยไม่แจ ้งข ้อมูลทีรู่ ้หรือควรแจ ้งให ้แพทย ์ทราบนั้น
ไม่สอดคล ้องกับปฏิญญาว่าด ้วยสิทธิผู ้ป่ วยข ้างต ้น
และไม่มป ี ระเทศไหนทีบั ่ ญญัตก ิ ฎหมายในลักษณะนี ้
ข ้อความในวรรคสองนี เกิ ้ ดจากการผลักดันของแพทย ์บางกลุ่มในชนการ ้ั
พิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา ดังนั้น
สมควรทีจะพิ ่ จารณาตัดข ้อความในวรรคสองของมาตรา ๘ ออกไป
เพราะขัดต่อหลักกฎหมายและข ้อเท็จริง
กล่าวคือผู ้ป่ วยทีเป็่ นชาวบ ้านทัวไป ่
ย่อมไม่มค ี วามรู ้ทางการแพทย ์ทีจะบอกข่ ่
้อมูลทางการแพทย ์เกียวกับตนเ
องได ้
่ หน้าทีแจ
ในทางกลับกันผูใ้ ห ้การร ักษาต่างหากทีมี ่ ้งข ้อมูลให ้ผู ้ป่ วยทราบ
เช่น ซ ักถามประวัตก ่ งเกตได ้
ิ ารแพ้ยา หรืออาการข ้างเคียงทีสั

มาตรา ๘ วรรคท ้าย


บัญญัตข ่
ิ ้อยกเว ้นในเรืองการแจ ่
้งข ้อมูลเพือขอความยิ นยอมจากผู ้ป่ วย ๒
กรณี คอื (๑)
มีความจาเป็ นเร่งด่วนทีจะต ่ ้องช่วยเหลือผู ้ป่ วยทีอยู ่ ่ในภาวะเสียงอั
่ นตราย
ถึงชีวติ แพทย ์ก็สามารถให ้การช่วยเหลือได ้ในกรณี ฉุกเฉิ น
โดยสันนิ ษฐานว่าผู ้ป่ วยให ้ความยินยอมแล ้ว
และควรพิจารณาตามหลักประโยชน์สูงสุดของผูป้ ่ วย (the best interest
of the patient) หรือ (๒) กรณี ทผู ี่ ้ป่ วยไม่อาจสือสารกั
่ ่
บผู ้อืนได ้
ก็ให ้ขอความยินยอมจากผู ้มีอานาจปกครองดูแลหรือญาติผู ้ป่ วยแทนได ้
่ นแนวปฏิบต
ซึงเป็ ั ท ี่
ิ ยอมร ่
ับกันทัวไป

กฎหมายเป็ นเพียงกติกาทีช่ ่ วยควบคุม


กากับความสัมพันธ ์ระหว่างแพทย ์กับผู ้ป่ วย
แต่หากแพทย ์มีจต ่ จะดู
ิ วิญญาณมุ่งมันที ่ แลร ักษาผู ้ป่ วยเสมือนญาติพน้
ี่ อง
คนใกล ้ชิดของตนแล ้ว
ก็ไม่มค ่
ี วามจาเป็ นทีจะต ้องออกกฎหมายสุขภาพแห่งชาติมาตรานี ้

โดยสรุป กฏหมายไทยจะคล ้ายๆกับทีอื ่ นตรงให


่ ้อิสระ
เสรีภาพในการตัดสินใจของผูป่้ วย ในการปฏิเสธการร ักษา
แต่ก็ยงั คงมีปัญหาอยู่ เช่น ในส่วนของความรู ้ ความเข ้าใจในการร ักษา
่ งขาดความรู ้อยู่มากทาให ้เกิดความไม่เข ้าใจกัน
ซึงยั

สือสารกั นไม่ถกู ต ้อง

ถ ้าแก ้ไขในจุดนี จะลดความเข ่ นชาวบ ้าน
้าใจผิดกันระหว่างประชาชนทีเป็
และแพทย ์ได ้ ซึงในส่ ่ วนของต่างประเทศ
ื้
ค่อนข ้างจะมีพนความรู ้ทางกฏหมายทีดี ่ กว่า
ในกรณี สาหร ับข ้อความในวรรคสองของมาตรา ๘ ทีระบุ ่ วา่

ผูใ้ ห ้บริการซึงรวมถึ ่ ดกับผู ้
งแพทย ์ไม่ต ้องร ับผิดชอบในความเสียหายทีเกิ
ร ับบริการหรือผู ้ป่ วย
หากผูป้ ่ วยไม่แจ ้งข ้อมูลทีรู่ ้หรือควรแจ ้งให ้แพทย ์ทราบ

รายงาน
่ การให ้ความยินยอมในการร ักษา
เรือง
จัดทาโดย
นศพ. ภัสนันท ์ โชติสกุล
้ั ที่ 5 รหัส 5606981
ชนปี

้ นส่วนหนึ่ งของวิชานิ ตเิ วชศาสตร ์


รายงานเล่นนี เป็
รหัสวิชา FOR421 ปี การศึกษา 2559
คานา

่ ดขึนในปั
ปัญหาทีเกิ ้ จจุบน ั ในการร ักษาทางการแพทย ์
นั้นมีทงการร
้ั ่ วโรค การป้ องกันการเกิดโรค
ักษาทีตั

การรณรงค ์เกียวกั บชุมชน
้ นอกจากปั
ทังนี ้ ่
ญหาทีแพทย ้ ้ว
์ต ้องพบเจอกับปัญหาในด ้านนี แล
ยังต ้องพบกับปัญหาเกียวกั ่ บคนไข ้โดยตรง ทางด ้านความต ้องการ
การตอบสนองด ้วยการร ักษาทีดี ่
ในปัจจุบน ่ นด
ั ผู ้ป่ วยมีการฟ้ องร ้องแพทย ์ผู ้ใหก้ ารร ักษาเพิมขึ ้ ้วยอัตร
าทีน่่ าตกใจ
ดังนั้นแล ้วผู ้จัดทาได ้เล็งเห็นถึงปัญหาทีส ่ าคัญอีกปัญหาหนึ่ งนั้นคือ
ความยินยอมทางการแพทย ์ จึงได ้เรียบเรียงข ้อมูลออกมา
และหวังเป็ นอย่างยิงว่ ่ า
จะได ้ใช ้เป็ นแนวทางและตระหนักความสาคัญในการยินยอมการร ักษามา
กขึน้ เพือสร
่ ้างความสัมพันธ ์ทีดี ่ ในการร ักษาผูป้ ่ วย
้ วผูป้ ่ วยเองและแพทย ์ผู ้ทาการร ักษา ทังสองฝ่
ต่อทังตั ้ าย

นศพ.ภัสนันท ์ โชติสกุล
ผู ้จัดทา

You might also like