You are on page 1of 172

บทที่ 4

เทคนิคต่างๆ ที่ควรใช้ในการปรับพฤติกรรม
่ บั
◆ การเลือกเทคนิ คต่างๆ เพื่อนามาใช้ในการปรับพฤติกรรมนั้น ขึ้นอยูก
วัตถุประสงค์ในการปรับพฤติกรรมว่า ต้องการที่จะเพิ่ม คงไว้หรื อลด
พฤติกรรม จากนั้นจึงตัดสิ นใจเลือกเทคนิคการปรับพฤติกรรมต่างๆ ซึ่ง
ในการเลือกนั้นจะต้องคานึงถึงชนิดของพฤติกรรมและข้อดี ข้อจากัด
ของแต่ละเทคนิค
◆ ในบทนี้ จะเสนอเทคนิ คต่างๆ ที่ควรใช้ในการเพิ่ม คงไว้ สร้างขึ้นใหม่
หรื อลดพฤติกรรม โดยจะอธิบายวิธีการที่จะใช้ ตลอดจนข้อดี และ
ข้อจากัดต่างๆ ของแต่ละเทคนิค ซึ่งนักปรับพฤติกรรมอาจจะเลือกใช้
เพียงเทคนิคเดียวหรื อหลายๆ เทคนิครวมกันก็ได้ตามความเหมาะสมใน
แต่ละสภาพการณ์
เทคนิคการปรับพฤติกรรมที่ควรใช้
◆ ก.เทคนิคที่ควรใช้ในการเพิ่มพฤติกรรม
เทคนิค แนวคิด ตัวอย่าง
1. การเสริ มแรงทางบวก การให้ผลกรรมที่พึงพอใจ พฤติกรรมใดๆ ที่ตอ้ งการ
(Positive Reinforcement) แก่พฤติกรรมที่อินทรี ยท์ า พัฒนาเช่น พฤติกรรมที่พึง
1.1 อาหารหรื อสิ่ งที่เสพได้ เป็ นผลทาให้ความถี่ของ ประสงค์ในการเรี ยน(การ
การเกิดพฤติกรรมนั้นเพิ่ม ทาการบ้าน การยกมือตอบ
1.2 แรงเสริ มทางสังคม มากขึ้น คาถามฯลฯ) พฤติกรรมที่
1.3 หลักของพรี แม็ค พึงปรารถนาต่างๆ ใน
1.4 เบี้ยอรรถกร สังคม เช่นการปฏิบตั ิตาม
1.5 การให้ขอ้ มูลย้อนกลับ กฎจราจร
ณัฏฐิกา เจยาคม. (2551). พฤติกรรมการทางานของ
พนักงานดีเด่ นในโรงงานอุตสาหกรรม:
ผลการศึกษา พบว่า พฤติกรรมการทางานของพนักงานดีเด่น
ในโรงงานอุตสาหกรรม
มีคุณลักษณะ 4 ด้าน ดังต่อไปนี้
◆1. ด้านความมีวนิ ยั : มีการแสดงพฤติกรรมโดย มี
ความเอาใจใส่ ต่อการทางาน มีการวางแผนการทางาน
ล่วงหน้า และปฏิบตั ิตามกฏ ระเบียบ อย่างเคร่ งครัดแม้จะ
ไม่มีระบบ ตรวจสอบติดตามควบคุมการทางาน
◆ 2. ด้านความรับผิดชอบ: มีการแสดงพฤติกรรมโดย มีความ
กระตือรื อร้นในการทางาน มีความสุ ขกับการทางาน และใช้ทรัพยากร
ของทางโรงงานอุตสาหกรรมอย่างประหยัด
◆ 3. ด้านมนุษยสัมพันธ: มีการแสดงพฤติกรรมโดย มีความสมัครใจ
ที่จะอาสาชว่ยงานต่างๆ ของทางโรงงานอุตสาหกรรม ชอบให้ความ
ช่วยเหลือผูร้ ่ วมงานและให้ความสาคัญกับการทางานร่ วมกันเป็ นทีม
◆ 4. ด้านความคิดสร้างสรรค์: มีการแสดงพฤติกรรมโดย มีการ
พัฒนาการทางานของตนเองให้มีประสิ ทธิภาพเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง
แสวงหาความรู ้เพิ่มเติมจากการสร้างเครื อข่ายในการทางานและมีการ
จัดลาดับความสาคัญในการทางาน
เทคนิคการปรับพฤติกรรมที่ควรใช้
◆ ก.เทคนิคที่ควรใช้ในการเพิ่มพฤติกรรม

เทคนิค แนวคิด ตัวอย่าง


2. การทาสัญญาเงื่อนไข คือการทาสัญญาระหว่างผู้ พฤติกรรมใดๆก็ได้ที่ผทู้ ี่
(Contingency Contracts) ที่ตอ้ งการจะปรับ ต้องการจะปรับพฤติกรรม
พฤติกรรมกับผูท้ ี่ถกู ปรับ อยากให้ผถู้ กู ปรับ
พฤติกรรม โดยการ พฤติกรรมกระทา
กาหนดพฤติกรรม
เป้ าหมาย ตัวเสริ มแรง
และการลงโทษอย่าง
ชัดเจน
เทคนิคการปรับพฤติกรรมที่ควรใช้
◆ ก.เทคนิคที่ควรใช้ในการเพิ่มพฤติกรรม

เทคนิค แนวคิด ตัวอย่าง


3. การเสริ มแรงทางลบ คือการทาให้ความถี่ของ พฤติกรรมการเคารพ
(Negative Reinforcement) พฤติกรรมเพิ่มขึ้น อันเป็ น กฎหมายของสังคม
ผลเนื่องมาจากพฤติกรรม พฤติกรรมการพูดติดอ่าง
ที่อินทรี ยแ์ สดงออกนั้น พฤติกรรมการดูแลตนเอง
สามารถที่จะถอดถอนสิ่ ง เป็ นต้น
เร้าที่ตนไม่พึงพอใจออก
ได้
เทคนิคการปรับพฤติกรรมที่ควรใช้
◆ ก.เทคนิคที่ควรใช้ในการเพิ่มพฤติกรรม

เทคนิค แนวคิด ตัวอย่าง


4. การควบคุมสิ่ งเร้า คือการให้สิ่งเร้าที่แยกแยะ พฤติกรรมการกลับบ้านตรง
(Stimulus Control) ได้ เพื่อที่อินทรี ยจ์ ะได้แสดง เวลา(เสี ยงเตือนจากโทรศัพท์)
พฤติกรรมอันจะนาไปสู่ การ พฤติกรรมการทาการบ้าน
ได้รับแรงเสริ ม (ตาเตือนติดผนังห้อง วันนี้
ถ้าจะให้เขียนคาเตือนติดไว้ คุณทาการบ้านแล้วหรื อยัง)
ที่บา้ น อยากจะเขียนคาว่า ลาบากวันนี้เพื่อสบายใน
อะไร อนาคต
เทคนิคการปรับพฤติกรรมที่ควรใช้
◆ ก.เทคนิคที่ควรใช้ในการเพิ่มพฤติกรรม

เทคนิค แนวคิด ตัวอย่าง


5. การวางเงื่อนไข คือการใช้การวางเงื่อนไข การ ใช้ได้กบั ทุกพฤติกรรมที่
เป็ นกลุ่ม เสริ มแรงต่อพฤติกรรมของ เกิดขึ้นในสภาพชั้นเรี ยน
(Group Contingency) เด็กคนใดคนหนึ่งหรื อของ หรื อในสถานที่ทางาน
เด็กทั้งกลุ่ม โดยที่เด็กทั้งกลุ่ม ให้ลองวางเงื่อนไขเป็ น
จะได้รับการเสริ มแรงอันเป็ น กลุ่มในสถานที่ทางาน
ผลเนื่องมาจากการที่เด็กคน เช่น การใช้วสั ดุสิ้นเปลือง
ใดคนหนึ่งหรื อทั้งกลุ่มนั้น
แสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์ เครื่ องมือชารุ ดเสี ยหาย
อุบตั ิเหตุจากการทางาน
เทคนิคการปรับพฤติกรรมที่ควรใช้
◆ ก.เทคนิคที่ควรใช้ในการเพิ่มพฤติกรรม

เทคนิค แนวคิด ตัวอย่าง


6. การชี้แนะ เป็ นสิ่ งเร้าที่ให้แก่อินทรี ย ์ พฤติกรรมการดูแลตนเอง
(Prompting) เพื่อแน่ใจได้วา่ อินทรี ยจ์ ะ พฤติกรรมที่ตอ้ งใช้ในการ
แสดงพฤติกรรมที่กาหนด พัฒนาทักษะต่างๆ เช่น
ไว้ ซึ่ งผลจากการแสดง พฤติกรรมการเข้าห้องน้ า
พฤติกรรมนั้นของอินทรี ย ์ พฤติกรรมที่พึงประสงค์
จะได้รับการเสริ มแรง ในชั้นเรี ยน เป็ นต้น
ทางบวก
1. การเสริ มแรงทางบวก
(Positive Reinforcement)

◆ เป็ นการเพิ่มความถี่ของพฤติกรรม อันเป็ นผลเนื่ องมาจากการทีใ่ ห้สิ่งที่


อินทรี ยพ์ ึงพอใจ หลังจากที่แสดงพฤติกรรมนั้นแล้ว ซึ่งสิ่งที่อินทรี ยพ์ ึง
พอใจนั้นเรี ยกว่า ตัวเสริ มแรงทางบวก(Positive Reinforcer) เช่น
◆ เด็กชายสมชาย ยกมือขึ้นถามคาถามในขณะที่ครู สมศรี กาลังสอนอยู่

ครู สมศรี ชมเด็กชายสมชายที่รู้จกั ยกมือขึ้นถามคาถาม ผลที่ตามมาคือ


เด็กชายสมชายจะยกมือขึ้นทุกครั้งก่อนที่จะถามคาถาม แสดงว่า
พฤติกรรมการยกมือขึ้นถามคาถามนั้นได้รับการเสริ มแรงทางบวก
◆ เด็กหญิงแต๋ ว เข้าไปช่วยคุณแม่ทาครัว คุณแม่หยิบขนมคุกกี้ให้เด็กหญิง
แต๋ ว ผลปรากฏว่า เด็กหญิงแต๋ วเข้าไปช่วยคุณแม่ทาครัวทุกวัน แสดงว่า
พฤติกรรมเข้าไปช่วยคุณแม่ทาครัวคงไว้ดว้ ยการเสริ มแรงทางบวก
◆ การเสริ มแรงทางบวกนั้น สามารถใช้ได้กบ ั พฤติกรรมแทบทุกประเภท
และทุกสถานการณ์เพียงแต่ผนู ้ าไปใช้จะต้องสามารถเลือกตัวเสริ มแรง
ได้อย่างเหมาะสม และการใช้การเสริ มแรงทางบวกที่มีประสิ ทธิภาพมาก
ที่สุดนั้น มีหลักในการใช้ดงั ต่อไปนี้
◆ ก. ต้องให้การเสริ มแรงทันทีที่พฤติกรรมที่พึงประสงค์เกิดขึ้น เพราะถ้า
ไม่ให้การเสริ มแรงทันทีที่พฤติกรรมที่พึงประสงค์เกิดขึ้น จะทาให้เด็ก
ไม่รู้วา่ ตนเองได้รับการเสริ มแรงจากพฤติกรรมใด หรื อทาให้เด็กเข้าใจ
ผิดไปเข้าใจว่าได้รับการเสริ มแรงจากพฤติกรรมอื่น เช่น
◆ ขณะที่โฉมศรี กาลังทาการบ้านอยู่ คุณแม่คิดว่าจะต้องให้การเสริ มแรงแก่
พฤติกรรมการทาทาการบ้านของโฉมศรี แต่ทว่ายังไม่มีเวลา พอโฉมศรี
ทาการบ้านเสร็ จ จึงเปิ ดทีวีดู คุณแม่จึงชมว่า ลูกแม่เป็ นเด็กดีมาก พรุ่ งนี้
แม่จะพาไปซื้อตุก๊ ตา ซึ่งการที่คุณแม่ทาการเสริ มแรงในขณะที่โฉมศรี
กาลังดูทีวี ทาให้โฉมศรี คิดว่า สิ่ งที่ตนกาลังทาอยูน่ ้ นั เป็ นสิ่ งที่ทาให้ตน
ได้รับการเสริ มแรง ผลปรากฏว่า โฉมศรี กลับมาจากโรงเรี ยนจะเปิ ดทีวีดู
ทันที
◆ การให้การเสริ มแรงทันทีเป็ นสิ่ งจาเป็ นอย่างยิง่ เมื่อต้องการจะให้
พฤติกรรมที่พึงปรารถนานั้นเกิดขึ้นบ่อยครั้ง และเมื่อพฤติกรรมที่พึง
ปรารถนานั้นเกิดขึ้นจนสม่าเสมอแล้วจึงค่อยๆ ยืดเวลาของการให้แรง
เสริ มออกไป
◆ ข. ตัวเสริ มแรงที่ให้น้ น
ั จะต้องมีขนาดและจานวนมากพอแก่ความ
ต้องการของอินทรี ย ์ แต่ในขณะเดียวกันจะต้องไม่ให้มากเกินไปเพราะ
จะทาให้ตวั เสริ มแรงนั้นหมดสภาพการเป็ นตัวเสริ มแรงได้ เช่น การให้
ขนมเป็ นตัวเสริ มแรง ถ้าเด็กทานขนมจนอิ่ม ขนมนั้นจะไม่สามารถเป็ น
ตัวเสริ มแรงในเวลานั้นได้อีกเลย
◆ ค. ตัวเสริ มแรงที่ให้น้ นั จะต้องมีคุณภาพหรื อชนิ ดที่อินทรี ยต์ อ้ งการเช่น ถ้าเด็ก
ต้องการที่จะเล่นเกม แต่ครู ใช้ขนมเป็ นตัวเสริ มแรง ก็จะทาให้การเสริมแรงนั้นไม่
ประสบผลสาเร็ จ
◆ ง. การใช้ตารางการเสริ มแรง เมื่อพฤติกรรมเกิดขึ้นสม่าเสมอแล้วเพื่อให้พฤติกรรม
นั้นคงทนได้ตลอดไปควรใช้ตารางการเสริ มแรงเช่น FR FI VR VI
◆ 1.1 การใช้อาหารหรื อสิ่ งเสพได้เป็ นตัวเสริ มแรง
อาหารหรื อสิ่ งเสพได้ถือว่าเป็ นตัวเสริ มแรงชนิ ดที่ไม่ตอ้ งวางเงื่อนไข จึงทาให้ตวั
ของมันเองมีประสิ ทธิ ภาพมาก โดยเฉพาะอย่างยิง่ เมื่อใช้กบั เด็ก เช่น ขนมทุกชนิด
อาหารทุกชนิด ในการใช้อาหารหรื อสิ่ งที่เสพได้เป็ นตัวเสริ มแรงนั้น มีขอ้ จากัดที่
ควรพิจารณาดังต่อไปนี้
◆ 1. อาหารหรื อสิ่ งเสพได้ สามารถที่จะใช้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพได้ต่อเมื่อบุคคลที่
แสดงพฤติกรรมนั้นมีความหิ วอยูแ่ ล้ว ถ้าบุคคลนั้นเพิ่มรับประทานอาหารมาใหม่ๆ
อาหารย่อมไม่สามารถใช้เป็ นตัวเสริ มแรงได้
◆ 2. การใช้อาหารหรื อสิ่ งที่เสพได้ อาจก่อให้เกิดการหมดสภาพการเป็ นตัวเสริ มแรง
ได้ถา้ ใช้มากเกินไป เช่นครู ให้ขนมกับเด็กทุกครั้ง เมื่อเด็กทานขนมมากเกินไปก็จะ
ไม่มีความต้องการขนมอีกต่อไป ก็จะให้อาหารหมดสภาพเป็ นตัวเสริ มแรงใน
ขณะนั้นได้
◆ 3. เนื่ องจากเด็กแต่ละคนนั้นชอบไม่เหมือนกัน ดังนั้นจะต้องเตรี ยมอาหารมากชนิ ด
เพื่อทีวา่ จะได้ใช้เสริ มแรงเด็กได้ทุกคน
◆ ปั ญหาของการใช้อาหารหรื อสิ่ งเสพได้เป็ นตัวเสริ มแรง

◆ 1. การใช้อาหารหรื อสิ่ งเสพได้เป็ นตัวเสริ มแรง จะก่อให้เกิดการรบกวน


ต่อพฤติกรรมที่เด็กกาลังทาอยู่ เช่นการทาแบบฝึ กหัดในชั้นเรี ยน ครู ให้
การเสริ มแรงด้วยอาหารผลคือ เด็กจะต้องหยุดทาแบบฝึ กหัดแล้วมา
รับประทานอาหารแทน
◆ 2. ไม่เหมาะสมที่จะใช้กบั เด็กเป็ นกลุ่ม เพราะว่ายิง่ มีเด็กมากเท่าใด ครู
จะต้องเตรี ยมชนิดของอาหารมากขึ้นเท่านั้น จะทาให้เกิดความลาบาก
ในการดาเนินโปรแกรมการปรับพฤติกรรม
ตัวอย่างของการใช้อาหารหรื อสิ่ งเสพได้เป็ นตัวเสริ มแรง

พฤติกรมที่เป็ นปัญหา เด็กพิการที่ไม่ยมิ้ และชอบทาหน้าเศร้าตลอดเวลา


พฤติกรรมเป้ าหมาย ยิม้ กับเพื่อนที่เดินอยูใ่ นโรงเรี ยน
ตัวเสริ มแรง ให้ขนมที่เด็กชอบ
วิธีดาเนินการ ช่วงที่ 1 เก็บข้อมูลพื้นฐานโดยการสังเกตและบันทึกจานวน
ครั้งของพฤติกรรมการยิม้ ที่เกิดขึ้นในขณะที่เดินอยูใ่ นโรงเรี ยน
ช่วงที่ 2 ดาเนินการโดยทุกครั้งที่เห็นเด็กยิม้ กับคนอื่นๆ ในโรงเรี ยนใน
ขณะที่เดินอยูก่ จ็ ะให้ขนม 1 ชิ้นทันที
ผล พฤติกรรมการยิม้ ให้กบั คนอื่นในขณะเดินอยูใ่ นโรงเรี ยนเพิ่มขึ้น
◆ 1.2 การใช้แรงเสริ มทางสังคม

◆ แรงเสริ มทางสังคมอาจได้แก่ การพูดจายกย่องชมเชย การให้ความสนใจ


การแตะตัว การกอด การแสดงออกทางสี หน้า(ยิม้ มองตา ยักคิ้ว) แรง
เสริ มทางสังคมเป็ นแรงเสริ มประเภทที่ตอ้ งวางเงื่อนไข และสามารถ
นามาใช้ในสถานการณ์ทวั่ ไปได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
◆ แรงเสริ มทางสังคมแบ่งออกเป็ น 2 ลักษณะคือ ลักษณะที่เป็ นภาษาพูด
และลักษณะที่เป็ นภาษาท่าทาง ในการใช้การเสริ มแรงทางสังคมผูใ้ ช้
จะต้องระมัดระวังดังต่อไปนี้
◆ ก. กรณี ที่เป็ นภาษาพูด

◆ 1. ผูใ้ ช้จะต้องแสดงความจริ งใจออกมา เช่น ครู เห็นนักเรี ยนวาดภาพอยู่


แล้วพูดว่า ฉันชอบภาพวาดของเธอมากเลย แต่สายตากลับไปมองทีอ่ ื่น
จะทาให้นกั เรี ยนทราบว่า ครู ไม่ได้ชมอย่างจริ งใจ ซึ่งไม่เป็ นผลดีและ
ไม่ได้เป็ นการเสริ มแรง
◆ 2. ใช้คาพูดที่มีลกั ษณะเป็ นส่ วนตัว เช่น พูดว่า ครู ภูมิใจในตัวเธอมากที่
เธอทางานส่ งครู ทุกครั้ง แทนที่จะพูดว่า มีความพยายามทางานมาส่ งดี
มาก น่าเลื่อมใส
◆ 3. ใช้คาพูดที่เจาะจงถึงพฤติกรรมมากกว่าที่บุคคล เพราะจะทาให้เด็กได้
รู ้วา่ ตนได้รับการเสริ มแรงเพราะอะไร เช่น เธอทางานมาส่ งครู ทกุ ครั้ง ดี
มาก แทนที่จะพูดว่า เธอมีความรับผิดชอบดีมาก เป็ นต้น
◆ ข. ในกรณี ที่เป็ นภาษาท่าทาง

◆ 1. ผูแ้ สดงจะต้องมีความจริ งใจ ไม่ใช่หน้ายิม


้ แต่มือกาหมัด
◆ 2. จะต้องทาสม่าเสมอ และนอกจากนี้ ท่าทางที่ครู ใช้ในการเสริ มแรงก็
จะต้องไม่นามาใช้ในการลงโทษ เช่น การที่ครู ยมิ้ ยอมรับพฤติกรรมของ
เด็ก ครู จะต้องไม่ใช้การยิม้ นั้นไปเกี่ยวโยงกับการลงโทษเด็ก เพราะว่าจะ
ทาให้เด็กสับสน
◆ ข้อดีของการใช้การเสริ มแรงทางสังคม
◆ 1. ใช้ง่าย ทุกคนสามารถใช้ได้เนื่ องจากเป็ นส่ วนหนึ่ งของพฤติกรรม
มนุษย์
◆ 2.ไม่รบกวนต่อพฤติกรรมที่กาลังทาอยู่ เช่น การที่เด็กกาลังทา
แบบฝึ กหัดอยู่ ครู อาจจะเดินเข้าไปแตะไหล่แสดงความพอใจ
◆ 3. เป็ นตัวเสริ มแรงชนิ ดแผ่ขยาย ตัวเสริ มแรงทางสังคมสามารถไปมี
ความสัมพันธ์กบั ตัวเสริ มแรงอื่นๆ ได้ เช่น คุณพ่อบอกว่า ลูกพ่อขยัน
ทางานจริ ง อาทิตย์น้ ีพอ่ จะพาไปซื้อของเล่น จากนั้นเด็กอาจจะคิดว่าพอ
คุณพ่อชมอาทิตย์ต่อไปอาจจะได้ของอื่นๆ เช่น ของเล่น ได้ดภู าพยนตร์
◆ 4. เกิดขึ้นตามธรรมชาติในชีวิตประจาวัน ประหยัดไม่ตอ ้ งเสี ยค่าใช้จ่าย
ตัวอย่างของการเสริ มแรงทางสังคม
◆ ให้นก
ั ศึกษาย่อตัวอย่างการเสริ มแรงทางสังคม
◆ ......
◆ คาพูดยกย่อง

◆ ดี แน่นอน น่าสนใจ
◆ ถูกต้อง ทางานดีมาก ดีที่สุด
◆ วิเศษ ความคิดดีมาก น่าภูมิใจมาก
◆ ฉลาดมาก ขอบคุณ แสดงให้พอ่ เธอดูซิ
◆ เก่งมาก ยอดเยีย่ ม
◆ การแสดงออกทางสี หน้า

◆ ยิม
้ มองด้วยทีท่าสนใจ
◆ ขยิบตา หัวเราะ
◆ การถูกเนื้ อต้องตัว
– การแตะตัว การจัดมือ การนัง่ ที่ตกั
– การกอด การจับแขน การแตะไหล่หรื อหลังเบาๆ
◆ การเข้าใกล้
– การเดินด้วยกัน การทานอาหารด้วยกัน
– การคุยหรื อฟัง การเล่นเกมด้วยกัน
ตัวอย่างการใช้การเสริ มแรงทางสังคมเป็ นตัวเสริ มแรง
พฤติกรรมที่เป็ นปั ญหา เด็กนักเรี ยนชั้นประถม 2 ห้องเรี ยน ไม่สนใจเรี ยน(คุยกันใน
ห้องเรี ยน ไม่ทาแบบฝึ กหัด มองออกไปนอกห้อง)
พฤติกรรมเป้ าหมาย ทาแบบฝึ กหัดในชั้นเรี ยน ยกมือถามตอบ ฟังครู พดู
ตัวเสริ มแรง ใช้คายกย่องชมเชย
วิธีดาเนินการ ช่วงที่ 1ทาการรวบรวมข้อมูลพื้นฐานของพฤติกรรมไม่สนใจเรี ยน ช่วงที่
2 ในตอนแรกครู ได้สร้างกฎเกณฑ์ของห้องขึ้นมา โดยกาหนดให้นกั เรี ยน ยกมือ
ถามตอบคาถามและฟังครู พดู แต่ไม่ได้ผล ต่อมาครู ใช้วธิ ี ไม่สนใจต่อพฤติกรรมไม่
สนใจเรี ยน แต่ไม่ได้ผล ต่อมาครู ใช้วธิ ี ยกย่องชมเชยต่อพฤติกรรมการสนใจเรี ยน
ในขณะเดียวกันก็ไม่สนใจต่อพฤติกรรมไม่สนใจเรี ยน
ผลปรากฎว่า พฤติกรรมที่ไม่สนใจเรี ยนของนักเรี ยนทั้ง 2 ชั้นลดลงจาก 90 %ของ
เวลาเรี ยนทั้งหมดเหลือ 25 %
◆ 1.3 การใช้หลักพรี แม็ค(Premack’s Principle) การใช้พฤติกรรมหรื อ
กิจกรรมที่อินทรี ยช์ อบทามากที่สุดมาเสริ มแรงพฤติกรรมหรือกิจกรรมที่
อินทรี ยช์ อบทาน้อย เช่น เด็กชอบเล่นเกมมาก แต่ทว่าไม่ชอบทา
แบบฝึ กหัดในชั้นเรี ยน อาจใช้หลักพรี แม็คโดยการวางเงื่อนไขกับเด็กว่า
ถ้าต้องการจะเล่นเกมจะต้องทาแบบฝึ กหัดในชั้นเรี ยนให้เสร็จก่อน
◆ ข้อดีของการใช้หลักพรี แม็ค กิจกรรมต่างๆ ที่นามาใช้เป็ นตัวเสริ มแรง
นั้น มีอยูแ่ ล้วในสถานทีน่ ้ นั ๆ เช่น เล่นเกม เล่นกีฬา อ่านนิทานฯจึงไม่
ต้องจัดเตรี ยมสิ่ งต่างๆ เพิ่มขึ้น อีกทั้งเป็ นการประหยัดค่าใช้จ่าย
◆ ข้อควรพิจารณาในการใช้หลักพรี แม็ค
◆ 1. กิจกรรมที่ใช้ในการเสริ มแรงนั้นไม่สามารถที่จะให้ได้ทน ั ทีเมื่อ
พฤติกรรมที่พึงประสงค์เกิดขึ้น แต่ผลการวิจยั พบว่าถึงแม้จะยืดเวลาการ
ให้การเสริ มแรงออกไปก็ยงั ให้ผลเช่นเดิม
◆ 2. กิจกรรมที่ใช้ในเสริ มแรงในโปรแกรมนั้น จะต้องพิจารณาเพียง 2
ด้านเท่านั้นคือได้กบั ไม่ได้ ห้ามมิให้มีการให้ครึ่ งๆ กลางๆ เด็ดขาดเพราะ
จะทาให้ขาดความตั้งใจที่จะทาพฤติกรรมที่พึงประสงค์ต่อไป เช่น พ่อตั้ง
เงื่อนไขว่าต้องทาการบ้านเสร็ จก่อนจึงจะให้ดูทีวี ถ้าลูกทาไม่เสร็ จแล้ว
มาขอต่อรองดูทีวีพอ่ ต้องไม่ยอม
◆ 3. เนื่ องจากเด็กมีความต้องการต่างๆ กันในเวลาที่ต่างกัน ครู ควรมี
กิจกรรมหลายๆ กิจกรรมให้เด็กได้เลือก
◆ 4. กิจกรรมที่จด
ั ไว้เพื่อใช้เป็ นตัวเสริ มแรง เมื่อเด็กพร้อมจะต้องมีให้เด็ก
ได้เล่นตลอดเวลา
ตัวอย่างของกิจกรรมที่สามารถนามาใช้เป็ นตัวเสริ มแรงได้

◆ ดูภาพยนตร์ ออกนอกห้องเรี ยนก่อนเวลาเลิก


◆ ดูทีวี เดินดูและซื้อสิ นค้าตามศูนย์การค้า
◆ การเข้าค่ายพักแรม ออกไปเล่นนอกห้อง

◆ การไปทัศนศึกษา การอ่านหนังสื อที่พอใจ


◆ การที่สามารถนอนดึกได้ การฟังดนตรี
◆ การไปชมดนตรี การไปร่ วมงานปาร์ต้ ี
ตัวอย่างของการใช้หลักพรี แม็ค
พฤติกรรมที่เป็ นปัญหา เด็กในค่ายฤดูร้อนไม่ชอบแปรงฟันในตอนเช้า
พฤติกรรมเป้ าหมาย เด็กทุกคนแปลงฟันในตอนเช้า
ตัวเสริ มแรง กิจกรรมที่เด็กชอบ( การว่ายน้ าในสระ)ได้มาจากการสังเกต
วิธีดาเนินการ ช่วงที่ 1 รวบรวมข้อมูลพื้นฐานโดยบันทึกจานวนเด็กที่ไม่ได้
แปลงฟันในแต่ละวัน ช่วงที่ 2 วางเงื่อนไขโดยกาหนดว่าเด็กทุกคนจะลง
สระว่ายน้ าได้ตอ้ งแปลงฟันในตอนเช้า
ผล ปรากฎว่าเด็กทุกคนแปลงฟันในตอนเช้า
◆ 1.4 การใช้เบี้ยอรรถกร(Tokens Economy) เป็ นตัวเสริ มแรงที่ตอ
้ งวาง
เงื่อนไขซึ่งได้แก่ เบี้ย ดาว แต้ม คูปอง หรื อตัว๋ ซึ่งของเหล่านี้สามารถ
นาไปแลกเป็ นตัวเสริ มแรงตัวอื่นๆ ได้มากกว่า 1 ตัวเช่น นาไปแลกเป็ น
ขนม วิทยุ การ์ตูน ตุก๊ ตา ทอฟฟี่ เป็ นต้น และเนื่องจากเบี้ยอรรถกรนี้
สามารถนาไปแลกตัวเสริ มแรงได้มากกว่า 1 ตัวขึ้นไป จึงทาให้ตวั มันเอง
กลายเป็ นตัวเสริ มแรงแผ่ขยาย(Generalized Reinforcer) และมี
ประสิ ทธิภาพในการเป็ นตัวเสริ มแรงเป็ นอย่างมาก
◆ ข้อดีของการใช้เบี้ยอรรถกร
◆ 1. เนื่ องจากมันมีอานาจในการแผ่ขยาย จึงเป็ นตัวเสริ มแรงที่มีประสิ ทธิ ภาพ

◆ 2. เบี้ยอรรถกรสามารถใช้เป็ นตัวเชื่อมโยงระหว่างพฤติกรรมเป้ าหมายกับตัว


เสริ มแรงอื่นๆ ได้ทนั ที ต่างกับตัวเสริ มแรงตัวอื่นๆ เช่น อาหาร หรือการเล่นเกม จะ
ได้รับการเสริ มแรงหลังจากเรี ยนเสร็ จแล้ว
◆ 3. ไม่ก่อให้เกิดการหมดสภาพเป็ นตัวเสริ มแรง เบี้ยอรรถกรสามารถนาไปแลก
สิ่ งของได้มากกว่า 1 อย่างจึงทาให้เด็กสามารถเลือกของที่ตนเองถูกใจได้
ตลอดเวลา
◆ 4. ใช้ได้ง่ายและไม่รบกวนพฤติกรรมที่เด็กกาลังทาอยู่

◆ 5. เบี้ยอรรถกรสามารถใช้ได้กบ ั เด็กทุกๆ คนแม้วา่ เด็กแต่ละคนจะชอบของต่างๆ


กันก็ตาม เนื่องจากเด็กแต่ละคนสามารถนาเอาเบี้ยนั้นไปแลกของที่ตา่ งคนต่าง
ต้องการได้
◆ ข้อจากัดของการใช้เบี้ยอรรถกร

◆ 1. ภายหลังจากที่ใช้เบี้ยอรรถกรเสริ มสร้างพฤติกรรมแล้ว การยุติให้เบี้ย


อรรถกรนั้นจะเป็ นผลทาให้พฤติกรรมที่เสริ มสร้างนั้นยุตลิ งหรื อลดลง
อย่างรวดเร็ ว
◆ 2. เมื่อเบี้ยอรรถกรมีประสิ ทธิ ภาพอย่างมาก จึงอาจก่อให้เกิดความคิด
อยากได้โดยไม่ชอบธรรม เช่น การปลอมหรื อขโมยเบี้ยอรรถกร
ตัวอย่างของการใช้เบี้ยอรรถกรเป็ นตัวเสริ มแรง
พฤติกรรมที่เป็ นปัญหา การตีหรื อแหย่เพื่อนในชั้นเรี ยน ตะโกนเรี ยกกันใน
ชั้นเรี ยน
พฤติกรรมเป้ าหมาย ไม่ตะโกนหรื อตีกนั ในชั้นเรี ยน
ตัวเสริ มแรง เบี้ยอรรถกร แลกเป็ นขนม ของเล่น เวลาว่าง
วิธีดาเนินการ ช่วงที่ 1 รวบรวมข้อมูลพื้นฐานพฤติกรรมที่เป็ นปัญหาแล้
วิเคราะห์วา่ เด็กมีพฤติกรรมตั้งใจเรี ยนกี่เปอร์เซนต์ของเวลาทั้งหมด ช่วงที่ 2
วางเงื่อนไขโดยกาหนดว่าเด็ก
จะให้เบี้ยอรรถกรถ้าเด็กมีพฤติกรรมตั้งใจเรี ยน และเบี้ยอรรถกรสามารถ
นาไปแลกเป็ นขนม ของเล่น เวลาว่างได้ ผล ปรากฎว่าพ
ฟฤติกรรมตั้งใจเรี ยนเพิ่มขึ้นจาก 60 % เป็ น 90 % ของเวลาเรี ยนทั้งหมด
◆ 1.5 การให้ขอ
้ มูลย้อนกลับ(Informative Feedback) คือการให้ขอ้ มูล
เกี่ยวกับผลของการกระทาของอินทรี ยซ์ ่ ึงการให้ขอ้ มูลย้อนกลับเป็ นตัว
เสริ มแรงที่ตอ้ งวางเงื่อนไข เนื่องจากข้อมูลย้อนกลับนั้นต้องไปสัมพันธ์
กับตัวเสริ มแรงอื่นๆ ดังนั้นในการใช้ขอ้ มูลย้อนกลับเป็ นตัวเสริ มแรงจึง
ต้องใช้คู่กบั ตัวเสริ มแรงอื่นๆ ด้วยจึงจะได้ผล เช่น ใช้คกู่ บั ตัวเสริ มแรง
ทางสังคม ขนมหรื อกิจกรรมอื่นๆ
ตัวอย่างของการใช้การให้ขอ้ มูลย้อนกลับ
พฤติกรรมที่เป็ นปัญหา การใช้ไฟฟ้ ามากเกินไป
พฤติกรรมเป้ าหมาย ลดการใช้ไฟฟ้ า
ตัวเสริ มแรง 1.ข้อมูลย้อนกลับของการใช้ไฟฟ้ า 2. ข้อมูลย้อนกลับคู่กบั
เงินที่จะต้องจ่าย
วิธีดาเนินการ ช่วงที่ 1 รวบรวมข้อมูลพืนฐาน โดยการจดจานวนไฟฟ้ าที่ใช้
ในแต่ละวันจากมิเตอร์ช่วงที่ 2 ให้ขอ้ มูลย้อนกลับถึงจานวนไฟฟ้ าที่ใช้
ในแต่ละวัน อีกครอบครัวหนึ่งให้ขอ้ มูลการใช้ไฟฟ้ าพร้อมทั้งบอก
จานวนเงินที่จะต้องจ่าย
ผล ปรากฎว่าครองครัวทั้งสองลดการใช้ไฟฟ้ าลงอย่างเห็นได้ชดั เมื่อเทียบ
กับข้อมูลพื้นฐาน
งานท้ายชัว่ โมง
◆ ให้นก
ั ศึกษาใช้เทคนิคการเสริ มแรงทางบวกในการเสริ มสร้างพฤติกรรม
การออกกาลังกายของเด็กชายแดง
◆ พฤติกรรมที่เป็ นปั ญหา ดช.แดงไม่ชอบทาการบ้าน

◆ พฤติกรรมเป้ าหมาย ดช.แดงทาการบ้านทุกวัน

◆ เลือกเทคนิ คการปรับพฤติกรรมโดยใช้เทคนิ คการเสริ มแรงทางบวก

◆ ตัวเสริ มแรง

◆ วิธีดาเนิ นการ
2. การทาสัญญาเงื่อนไข (Contingency Contracts)

◆ คือการกาหนดความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมกับผลกรรมที่จะได้รับ
อย่างเด่นชัดอีกทั้งจะต้องกาหนดตัวเสริ มแรงที่ผถู ้ ูกปรับพฤติกรรมได้รับ
เมื่อแสดงพฤติกรรมตามที่สญ ั ญาไว้ เมื่อสัญญาได้ทาการร่างขึ้น ด้วย
ความยินยอมพร้อมใจของทั้งสองฝ่ าย และได้มีการเซ็นความยินยอมทั้ง
สองฝ่ าย ถือได้วา่ โปรแกรมได้เริ่ มแล้ว
◆ องค์ประกอบที่สาคัญในการทาสัญญาเงื่อนไข มีอยู่ 5 ประการคือ

◆ 1. ในสัญญานั้นจะต้องบ่งบอกถึงเงื่อนไขและสิ่ งที่ท้ งั 2 ฝ่ ายจะได้รับจาก


สัญญานั้น เช่น ผูป้ กครองต้องการให้ลูกทาการบ้าน และอ่านหนังสื อ
เป็ นเวลา 2 ชัว่ โมงต่อวัน ขณะเดียวกันลูกต้องการที่จะได้เงินไว้ใช้พิเศษ
หรื อ เวลาดึกๆในการดูทีวี
◆ 2. พฤติกรรมจะต้องกาหนดให้เห็นอย่างชัดเจน สามารถสังเกตเห็นได้วา่
พฤติกรรมนั้นได้เกิดขึ้นหรื อไม่เกิดขึ้น มิเช่นนั้นจะก่อให้เกิดปัญหาได้
◆ 3. ในสัญญานั้นจะต้องระบุถึงโทษที่จะได้รับถ้าไม่สามารถทาได้ตาม
สัญญา โดยทั้งสองฝ่ ายจะต้องตกลงกันล่วงหน้า อีกทั้งจะต้องปฏิบตั ิ
สม่าเสมอ
◆ 4. ต้องมีการให้โบนัส ถ้าพฤติกรรมที่ตอ
้ งการให้กระทานั้นเกิดขึ้น
สม่าเสมอเป็ นระยะเวลาอันยาวนานพอสมควร
◆ 5. บอกถึงตัวเสริ มแรงที่ใช้รวมทั้งอัตราที่ให้ดว้ ย
◆ ข้อดีของการทาสัญญาเงื่อนไข
◆ 1. เด็กมีส่วนร่ วมในการวางแผนและดาเนิ นงานของโปรแกรมการปรับพฤติกรรม
ซึ่ งจะทาให้มีความอยากที่จะปฏิบตั ิตามมากกว่าที่จะถูกบังคับ
◆ 2. ผลกรรมที่กาหนดไว้ในสัญญาจะไม่มีลก ั ษณะเป็ นสิ่ งที่ทาให้เด็กเกิดความไม่พึง
พอใจ เนื่องจากตัวเองสามารถต่อรองได้
่ ได้ และสามารถต่อรองเปลี่ยนแปลงได้ตาม
◆ 3. สัญญาเงื่อนไขนั้นมักที่จะยืดหยุน
ความเหมาะสมของสภาพการณ์
◆ 4. การทาสัญญานั้นเป็ นการบอกเงื่อนไขที่ชด ั เจน ทาให้เด็กรู ้วา่ ควรจะแสดง
พฤติกรรมอย่างไรและจะได้รับผลกรรมอะไร
◆ 5. การทาสัญญาเงื่อนไขนั้นจะเป็ นการสร้างสัมพันธ์ภาพระหว่างผูท ้ าการปรับ
พฤติกรรมและผูถ้ กู ปรับพฤติกรรมในการที่จะร่ วมกันแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น
◆ ตัวอย่างสัญญาเงื่อนไข
ลูกสัญญาที่จะ
1. เอาขยะไปทิ้งทุกวัน
2. ช่วยพ่อล้างรถในวันเสาร์ โดยทางานตามคาสั่งของพ่อ
พ่อสัญญาที่จะ
1. จ่ายเงินให้ลกู อาทิตย์ละ 1000 บาท (จ่ายในวันเสาร์ )
คู่สัญญาตกลงตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้
1. ถ้าไม่เอาขยะไปทิ้งหลังจากได้รับคาเตือนแล้วจะถูกหักเงิน 100 บาททุกครั้ง
2. ถ้าไม่มาล้างรถในวันเสาร์ จะถูกหัก 200 บาทนอกจากว่ามีเหตุจาเป็ นแต่ตอ้ งมาล้าง
ชดเชยในวันอาทิตย์หรื อวันอื่น
3. จะต้องมีการประเมินผลงานและตกลงกันใหม่ทุกๆ 3 อาทิตย์
4. ถ้าป่ วยจะไม่มีการลงโทษในการไม่เอาขยะไปทิ้ง
1. ลายเซ็น.............................................................พ่อ.
2. ลายเซ็น............................................................. ลูก
3. การเสริ มแรงทางลบ
(Negative Reinforcement)
◆ คือการเพิ่มความถี่ของพฤติกรรมอันเป็ นผลเนื่องมาจากความสาเร็ จในการหลีก
(Avoidance) หรื อ หนี(Escape) จากสิ่ งเร้าที่ไม่พึงประสงค์ ซึ่ ง
สิ่ งเร้าที่ไม่พึงประสงค์เรี ยกว่า ตัวเสริ มแรงทางลบ(Negative
Reinforcer) เช่น
◆ สมชายกลัวว่าตนเองจะสอบตก จึงพยายามหลีกหนี การสอบตกโดยการอ่าน
หนังสื อทุกวัน ซึ่ งแสดงว่า พฤติกรรมการอ่านหนังสื อนั้นได้รับการเสริ มแรงโดย
การกลัวการสอบตก(ตัวเสริ มแรงทางลบ)
◆ หลักของการเสริ มแรงทางลบก็คือ การให้สิ่งเร้าที่เด็กไม่พึงพอใจตลอดเวลา เพื่อ
ที่วา่ เด็กจะได้แสดงพฤติกรรามการหลีกหนีจากสิ่ งเร้าที่ไม่พึงพอใจนั้น ซึ่ งในการ
ใช้สิ่งเร้าที่ไม่พึงพอใจนั้น ผูใ้ ช้จะต้องมีการให้สัญญาณล่วงหน้าว่า ถ้ามีสัญญาณนี้
เกิดขึ้นแล้วไม่ทาให้เกิดพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ก็จะได้รับสิ่งที่ไม่พึงพอใจเช่น
◆ การที่โฉมศรี ขบ
ั รถไปถึงสี่ แยกแห่งหนึ่ง พบว่าไฟที่สี่แยกเป็ นสี่ แดง
โฉมศรี หยุดรถทันที จากพฤติกรรมการหยุดรถของโฉมศรี จะเห็นได้วา่
ไฟสี แดงนั้นเป็ นสัญญาณที่บอกให้โฉมศรี รู้วา่ ถ้าตนเองจะขับรถฝ่ าไฟ
แดงออกไปก็จะได้รับสิ่ งที่ไม่พึงพอใจ(การถูกรถชนหรื อถูกตารวจจับ)
แสดงว่าพฤติกรรมการหยุดรถของโฉมศรี น้ นั เป็ นผลเนื่องมาจากการ
ได้รับการเสริ มแรงทางลบ
◆ การใช้แรงเสริ มทางลบในการปรับพฤติกรรมไม่ค่อยนิ ยมใช้กน
ั มาก
เพราะ
◆ 1. การเพิ่มพฤติกรรมส่ วนใหญ่จะใช้การเสริ มแรงทางบวก
◆ 2. การเสริ มแรงทางลบนั้นจะต้องมีการให้สิ่งที่ไม่พึงพอใจไปเรื่ องๆ
จนกว่าพฤติกรรมที่พึงปรารถนาจะเกิดขึ้น ซึ่งการให้สิ่งทีไ่ ม่พึงพอใจ
มากๆ จะเกิดผลเสี ยมากกว่าผลดี
◆ 3. การที่จะหยุดสิ่ งที่ไม่พึงพอใจนั้น อาจทาได้หลายวิธี ซึ่ งผูใ้ ช้จะต้อง
ควบคุมให้ดีไม่เช่นนั้นจะเกิดปัญหาเช่น การที่ครู บอกนักเรี ยนว่า ถ้าไม่
ทาการบ้านจะถูกตี เด็กสามารถที่จะหลีกเลี่ยงได้ 2 ทางคือ ทาการบ้านมา
ส่ งหรื อไม่กห็ นีโรงเรี ยนเลย
◆ ข้อเสี ยของการใช้การเสริ มแรงทางลบ จะก่อให้เกิดปั ญหาทางอารมณ์
เด็กจะก้าวร้าวขึ้น เกิดความเครี ยด
ตัวอย่างการใช้การเสริ มแรงทางลบ
พฤติกรรมที่เป็ นปัญหา นักศึกษาเข้าเรี ยนน้อย
พฤติกรรมเป้ าหมาย นักศึกษาเข้าชั้นเรี ยนทุกคน
ตัวเสริ มแรง คะแนนการเข้าชั้นเรี ยน
วิธีดาเนินการ ในช่วงแรกรวบรวมข้อมูลพื้นฐาน จานวนนักศึกษาเข้าเรี ยน
ในแต่ละครั้ง ช่วงที่สอง วางเงื่อนไขใครไม่เข้าชั้นเรี ยนจะถูกหักครั้งละ 1
คะแนน
ผล ปรากฎว่านักศึกษาเข้าชั้นเรี ยนเพิ่มขึ้น
4. การควบคุมสิ่ งเร้า(Stimulus Control)
◆ สิ่ งเร้า คือสภาพการณ์หรื อสิ่ งของต่างๆ ในสิ่ งแวดล้อมเช่น หนังสื อ เสี ยง
ปากกา ต้นไม้ เป็ นต้น ซึ่งการที่อินทรี ยแ์ สดงพฤติกรรมอย่างใดอย่าง
หนึ่งต่อสภาพสิ่ งเร้าใดสิ่ งเร้าหนึ่ง แต่ไม่แสดงพฤติกรรมเช่นนั้นต่อสิ่ ง
เร้าอื่น แสดงว่าการควบคุมสิ่ งเร้าได้เกิดขึ้นแล้ว เช่น พฤติกรรมการยก
หูโทรศัพท์ข้ ึนแล้วพูดว่า เฮลโล จะเกิดขึ้นต่อเมื่อมีสิ่งเร้าคือ เสี ยงกริ่ ง
โทรศัพท์ดงั ขึ้น แต่จะไม่เกิดขึ้นในสภาพการณ์อื่นๆ แสดงว่าเสี ยงกริ่ ง
โทรศัพท์น้ นั ควบคุมพฤติกรรมการยกหูโทรศัพท์และพูดว่า เฮลโล
หลักในการใช้การควบคุมสิ่ งเร้า
1. เลือกสัญญาณของสิ่ งเร้าที่ชดั เจน ซึ่ งถ้าสัญญาณของสิ่ งเร้าไม่ชดั เจน จะก่อให้เกิด
ความสับสนในการแสดงพฤติกรรมเช่น เสี ยงกริ่ งประตู มีเสี ยงเหมือนกริ่ ง
โทรศัพท์ เมื่อได้ยนิ ก็จะไม่สามารถบอกได้วา่ ควรไปรับโทรศัพท์หรื อเปิ ดประตู
2. เลือกตัวเสริ มแรงที่เหมาะสม
3. พัฒนาการแยกแยะ
3.1 จัดให้เด็กได้รับการเสริ มแรงจากการแสดงพฤติกรรมหลังจากที่เสนอสิ่ งเร้า
ที่ตอ้ งการจะให้เกิดการแยกแยะ
3.2 เปรี ยบเทียบสิ่ งเร้าตัวอื่น กับสิ่ งเร้าที่ตอ้ งการจะให้เด็กเกิดการแยกแยะให้
เห็นแตกต่างกันอย่างชัดเจน
4. ภายหลังจากที่พฤติกรรมเกิดขึ้นสม่าเสมอจากสิ่ งเร้าที่ตอ้ งการแยกแยะแล้วควรจะได้
มีการเปลี่ยนแปลงตัวเสริ มแรง โดยใช้ตวั เสริ มแรงทางสังคมแทน
ตัวอย่างการควบคุมสิ่ งเร้า
พฤติกรรมที่เป็ นปัญหา รถติดเนื่องจากคนขับไม่ทราบว่าจะต้องขับใน
ทิศทางใดในห้างสรรพสิ นค้า
พฤติกรรมเป้ าหมาย ปฏิบตั ิตามระเบียบของลานจอดรถ
ตัวเสริ มแรง การเสริ มแรงทางสังคม การเสริ มแรงทางลบ
วิธีดาเนินการ ช่วงที่ 1 รวบรวมข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับพฤติกรรมการขับรถ
บริ เวณลานจอดรถ ช่วงที่ 2 ทาสี พ้นื เป็ นหัวลูกศรชี้ไปทางทิศทางการเดิน
รถเข้าออก ทาแผ่นป้ ายมีขอ้ ความและลูกศรบอกทิศทางการเดินรถ
ผลปรากฎว่า จานวนผูข้ บั ขี่รถยนต์ผดิ ระเบียบลานจอดรถลดลงอย่างชัดเจน
5. การวางเงื่อนไขเป็ นกลุ่ม
(Group Contingency)
มี 2 แบบ
1. วางเงื่อนไขการเสริ มแรงต่อนักเรี ยนทั้งชั้น นักเรี ยนในชั้นคนใดก็ได้ถา้ ปฏิบต ัิ
ตามเงื่อนไขก็จะได้รับการเสริ มแรง เช่น ครู วางเงื่อนไขว่านักเรี ยนทุกคน ถ้าใคร
ทาการบ้านเสร็ จจะได้ไปเล่นเกม แดงทาการบ้านเสร็ จก่อนดา แดงก็ได้ไปเล่น
เกมก่อนดา
2. วางเงื่อนไขการเสริ มแรงต่อความร่ วมมือกันภายในกลุ่ม ทุกคนในกลุ่มต้อง
ปฏิบตั ิตามเงื่อนไขจึงจะได้รับการเสริ มแรงตามที่ตกลงไว้ เช่น ถ้านักเรี ยนในชั้น
ไม่มีใครลุกจากที่นงั่ เลยจะให้เวลาว่างออกไปเล่นที่นอกห้องเรี ยน 30 นาที แต่วา่
ถ้ามีใครไม่ปฏิบตั ิตามที่ตกลงไว้จะหักเวลา 1 นาทีทุกๆ ครั้งที่มีนกั เรี ยนคนใค
คนหนึ่งลุกจากที่นงั่ การทาเช่นนี้จะทาให้เด็กทั้งห้องพยายามควบคุมกันเอง ซึ่ ง
จะใช้ได้ผลอย่างมากไม่วา่ จะเป็ นเด็กเล็กหรื อเด็กวัยรุ่ น
ตัวอย่างของการใช้การวางเงื่อนไขเป็ นกลุ่ม
พฤติกรรมที่เป็ นปัญหา เด็กส่ งเสี ยงดังเกินปกติ ในชัว่ โมงศึกษาส่ วนตัว
พฤติกรรมเป้ าหมาย ลดระดับเสี ยงดังลงสู่ระดับปกติ
ตัวเสริ มแรง 1. เวลาว่าง (หลักพรี แม็ค) 2. การวางเงื่อนไขเป็ นกลุ่ม
วิธีดาเนินการ ในช่วงแรก รวบรวมข้อมูลพื้นฐานระดับเสี ยงในห้องเรี ยน
ในช่วงที่สอง กาหนดว่าทุกๆ 10 นาที ถ้านักเรี ยนทั้งห้องไม่ส่งเสี ยงเกิด
ระดับที่ต้ งั ไว้ จะได้เวลาว่าง 5 นาที เพื่อเอาไว้เล่นเกม
ผล ปรากฎว่าระดับเสี ยงของทั้งห้องลดลงในระดับที่ต้ งั ไว้
6. การชี้แนะ (Prompting)
เป็ นการให้สิ่งเร้า ซึ่งอาจเป็ นคาพูดหรื อการแสดงท่าทางแก่อินทรี ยเ์ พื่อที่จะ
ได้แน่ใจได้วา่ อินทรี ยจ์ ะแสดงพฤติกรรมตามที่ได้กาหนดไว้ ซึ่งผลจาก
การที่อินทรี ยแ์ สดงพฤติกรรมตามที่ได้ช้ ีแนะนั้น อินทรียจ์ ะได้รับการ
เสริ มแรงทางบวกทันที ตัวอย่างการชี้แนะเช่น การแต่งตัว การทา
การบ้าน
ตัวอย่างการชี้แนะ
พฤติกรรมเป้ าหมาย พฤติกรรมการเข้าห้องน้ าของเด็ก 3 ขวบ
การเสริ มแรง การชี้แนะ (แบบคาพูด แบบแสดงท่าทาง แบบทางกาย)
การเสริ มแรงทางสังคม
วิธีดาเนินการ เด็กบอกว่าต้องการเข้าห้องน้ า ครู บอกว่าถอดกางเกง(อาจ
ช่วยถอด) เดินไปที่หอ้ งน้ า(แสดงท่าชี้มือไปที่หอ้ งน้ า) ถ้าเด็กไม่เดินไป
ครู อาจจูงมือไป จากนั้นบอกว่านัง่ ลงที่โถส้วม และราดน้ า เมื่อเด็กแสดง
พฤติกรรมที่ตอ้ งการได้แล้วครู ชมว่าเก่งมาก
ผล หลังจากชี้แนะ 2-3 ครั้งเด็กก็สามารถทาได้เอง
เทคนิคที่ควรใช้ในการเสริ มสร้างพฤติกรรมใหม่
1. การแต่งพฤติกรรม(Shaping)
◆ คือการเสริ มสร้างพฤติกรรมใหม่ โดยวิธีการเสริ มแรงต่อพฤติกรรมที่คาดหมายว่า
จะนาไปสู่ พฤติกรรมที่ตอ้ งการได้ ซึ่ งวิธีการคาดหมายพฤติกรรมทีจ่ ะนาไปสู่
พฤติกรรมที่ตอ้ งการนั้นทาได้โดย
◆ 1. กาหนดพฤติกรรมเป้ าหมายให้ชด ั เจน
◆ 2. สังเกตพฤติกรรมที่อินทรี ยก ์ ระทาอยูใ่ นขณะนั้น ที่คิดว่าน่าจะเป็ นพฤติกรรม
เริ่ มต้นที่จะนาไปสู่ พฤติกรรมเป้ าหมายได้
◆ 3. ระหว่างพฤติกรรมเริ่ มต้นกับพฤติกรรมเป้ าหมาย ให้แบ่งออกมาเป็ นพฤติกรรม
ย่อยๆ ให้มากที่สุด
◆ 4. เสริ มแรงพฤติกรรมตามขั้นตอนของพฤติกรรมที่แบ่งไว้ จนกระทัง่ บรรลุถึง
พฤติกรรมเป้ าหมายที่ตอ้ งการ
◆ http://www.youtube.com/watch?v=AzmfEe9B
G3U&feature=results_main&playnext=1&list
=PL899414764778835F
◆ ตัวอย่างการฝึ กสุ นข
ั คาบไม้ โดยวิธีการแต่งพฤติกรรม
◆ 1. กาหนดพฤติกรรมเป้ าหมายที่จะฝึ กได้แก่ การคาบไม้ของสุ นข

◆ 2. สังเกตพฤติกรรมเริ่ มต้นที่คาดว่าจะนาไปสู่ พฤติกรรมเป้ าหมายได้แก่
พฤติกรรมการมองไม้ที่เจ้าของขว้างออกไป
◆ 3. แบ่งเป็ นพฤติกรรมย่อยระหว่างพฤติกรรมเริ่ มต้นกับพฤติกรรม
เป้ าหมายได้ดงั นี้
◆ 3.1 มองไปที่เจ้าของขว้างไม้
◆ 3.2 วิง่ ไปในทิศทางที่ไม้ตก
◆ 3.3 มองไม้ที่ตกลงมา
◆ 3.4 ดมไม้ที่ตกลงมา
◆ 3.5 คาบไม้ที่ตกลงมา
◆ 3.6 คาบไม้และหันมองดูเจ้าของ
◆ 3.7 วิง่ มาหาเจ้าของพร้อมไม้ที่คาบ
◆ 4. จากพฤติกรรมที่แบ่งไว้ในข้อ 3 ผูฝ้ ึ กจะต้องให้การเสริ มแรงในแต่ละพฤติกรรม
ที่สุนขั กระทาได้สาเร็ จ โดยเสริ มแรงไปทีละพฤติกรรม จนกว่าสุ นขั จะสามารถ
คาบไม้วงิ่ มาหาเจ้าของได้
◆ ในบางครั้งพฤติกรรมบางช่วงตอนไม่เกิด ผูฝ้ ึ กอาจจะต้องทาการดึง ลาก สุ นข ั ไป
ทาพฤติกรรมที่ตอ้ งการ จากนั้นจึงเสริ มแรง ซึ่ งการทาเช่นนี้จะทาให้สุนขั เกิดการ
เรี ยนรู ้และจะทาให้การแต่งพฤติกรรมง่ายเข้าด้วย ซึ่ งวิธีการเช่นนี้เรี ยกว่าวิธีการ
ชี้แนะ(Prompting)
◆ ปั ญหาที่พบในการแต่งพฤติกรรม 1. แบ่งพฤติกรรมย่อยกว้างเกินไป 2. ใจร้อนทา
การเสริ มแรงพฤติกรรมอีกขั้นหนึ่ งโดยพฤติกรรมขั้นก่อนหน้ายังไม่เกิดขึ้น
สม่าเสมอ 3. ตัวเสริ มแรงไม่มีประสิ ทธิ ภาพสู ง
◆ http://www.youtube.com/watch?v=fLoHH03Q
AAI
◆ http://www.youtube.com/watch?v=jAQSEO25
fa4
2. การเลียนแบบ(Modeling)
◆ เป็ นกระบวนการเรี ยนรู ้จากการสังเกตพฤติกรรมของตัวแบบ ซึ่ งสามารถ
นามาประยุกต์ใช้ในการเสริ มสร้างพฤติกรรมใหม่ๆ หรื อเปลี่ยน
พฤติกรรมของเด็กได้
◆ การเรี ยนรู ้จากการสังเกตตัวแบบนี้ ถือว่าเป็ นวิธีการเรี ยนรูท
้ ี่เกิดตาม
ธรรมชาติ พฤติกรรมที่เด็กแสดงออกส่ วนใหญ่ มาจากการเลียนแบบ
บุคคลที่อยูใ่ กล้ชิดหรื อที่เขาสนใจทั้งสิ้ น
◆ การเรี ยนรู ้จากการสังเกตตัวแบบมีองค์ประกอบ 4 ประการคือ
◆ 1. ความสนใจ ในการที่บุคคลจะสังเกตตัวแบบนั้น เขาจะต้องเกิดความสนใจในตัว
แบบนั้นเสี ยก่อน ซึ่ งการที่จะเกิดความสนใจได้น้ นั ตัวแบบจะต้องเป็ นบุคคลที่ผู้
สังเกตเห็นว่ามีความสาคัญสาหรับตัวเขา นอกจากนี้ความสนใจยังขึ้นอยูก่ บั
ประสบการณ์ ความคลายคลึงกันอีกด้วย
ั ผูส้ ังเกตมาก่อนเลย แต่ทว่า
◆ ยังมีตวั แบบอีกชนิ ดหนึ่ งที่ไม่มีความสัมพันธ์กบ
สามารถทาให้ผสู ้ ังเกตเกิดความสนใจและทาตามอย่างได้ เช่น ตัวแบบจากภาพยนต์
เหตุที่เป็ นเช่นนี้ เพราะการเสนอตัวแบบในภาพยนต์น้ นั สามารถให้ได้ท้ งั รู ปและ
เสี ยงตลอดจนมีการเสริ มแรงต่างๆ อยูใ่ นนั้นและมีตวั แบบจานวนมากให้เลือกอีก
ด้วย
◆ 2. การจดจา การที่จะเลียบแบบพฤติกรรมของตัวแบบได้ผส
ู ้ ังเกตจะต้อง
สามารถจดจารายละเอียดต่างๆ ของพฤติกรรมได้ ซึ่งการเห็นตัวแบบ
แสดงพฤติกรรมบ่อยๆ และมีโอกาสฝึ กฝนด้วยจะทาให้สามารถจดจา
รายละเอียดต่างๆ ได้ง่ายขึ้น
◆ 3. การแสดงออก เมื่อสังเกตและจดจารายละเอียดต่างๆได้ จาเป็ นอย่างยิง่
ที่จะต้องมีการแสดงออก เพื่อแสดงให้รู้วา่ การลอกเลียบแบบของ
พฤติกรรมได้เกิดขึ้นแล้ว
◆ ในขณะแสดงพฤติกรรมนั้นออกมา ก็จะได้ขอ ้ มูลย้อนกลับต่อพฤติกรรม
ที่แสดงออก ทาให้ผลู ้ อกเลียนแบบปรับตัวได้ตลอดเวลา จนกระทั้งได้
พฤติกรรมที่เป็ นที่ยอมรับในสังคม
◆ 4. การจูงใจ ในการที่ผสู ้ ังเกตจะเลือกเลียบแบบพฤติกรรมของใครก็ตาม
เป็ นผลเนื่องมาจากการได้รับแรงจูงใจ แรงจูงใจอาจเกิดจากการเห็น
คุณค่าและเกิดความสนใจในตัวแบบ ถ้าตัวแบบแสดงพฤติกรรมแล้ว
ได้รับการเสริ มแรงจะได้รับความสนใจพฤติกรรมนั้นก็จะได้รบั การ
เลียนแบบมาก ในขณะที่ตวั แบบใดแสดงพฤติกรรมแล้วได้รับผลกรรมที่
ไม่พึงพอใจ พฤติกรรมของตัวแบบนั้นก็จะไม่ได้รับการลอกเลียนแบบ
ข้อดีของการใช้การเลียนแบบ
◆ 1. สามารถสร้างพฤติกรรมใหม่ๆ ได้เร็ วกว่าวิธีการอื่นๆ

◆ 2. สามารถใช้ได้ง่ายกว่าวิธีการแต่งพฤติกรรม

◆ 3. ตัวแบบที่ใช้น้ น
ั สามารถที่จะเสนอได้ท้ งั ในรู ปที่เป็ นจริ งและใน
ลักษณะภาพยนต์ซ่ ึงทาให้สะดวกในการใช้
หลักในการใช้การเลียนแบบให้มีประสิ ทธิภาพ
◆ 1. เลือกตัวแบบที่มีความสาคัญและอยูใ่ นความสนใจของผูส้ ังเกต
◆ 2. เมือตัวแบบแสดงพฤติกรรมที่พึงปรารถนาจะต้องให้การเสริ มแรงต่อพฤติกรรม
นั้นทันที เพราะจะทาให้เด็กอยากลอกเลียนแบบมากยิง่ ขึ้น
◆ 3. ให้แรงเสริ มทันที่เมื่อผูส
้ ังเกตเลียนแบบพฤติกรรมจากตัวแบบ
◆ 4. ใช้ตวั แบบหลายๆ คน
◆ 5. แสดงให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างผลกรรมและพฤติกรรมที่ตวั แบบแสดงอย่าง
เด่นชัด
◆ 6. ให้ตวั แบบแสดงให้ดูบ่อยๆ และให้ผส ู ้ ังเกตได้สังเกตตัวแบบบ่อยๆ
◆ 7. ใช้ตวั เสริ มแรงที่มีประสิ ทธิ ภาพ
◆ http://www.youtube.com/watch?v=XrtWVby-
F3E
เทคนิคที่ควรใช้ในการลดพฤติกรรม
1. การลงโทษ(Punishment)
◆ คือ การให้สิ่งที่อินทรี ยไ์ ม่พึงพอใจ หรื อถอดถอนสิ่ งที่อินทรียพ์ ึงพอใจ หลังจากที่
แสดงพฤติกรรม อันเป็ นผลทาให้พฤติกรรมนั้นลดลง ซึ่ งการลงโทษโดยการให้สิ่ง
ที่อินทรี ยไ์ ม่พึงพอใจเรี ยกว่าการลงโทษทางบวก การลงโทษที่จะกล่าวในตอนนี้จะ
มุ่งที่การลงโทษทางบวก ส่ วนการถอดถอนสิ่ งที่อินทรี ยพ์ ึงพอใจเรี ยกว่าการ
ลงโทษทางลบซึ่ งจะกล่าวในหัวข้อการปรับสิ นไหม (Response Cost) ต่อไป
◆ สิ่ งที่ไม่พึงพอใจ หมายถึง เหตุการณ์หรื อสิ่ งของต่างๆ ที่ก่อให้ผรู ้ ับเกิดความไม่พึง
พอใจเช่น การถูกตี การถูกตาหนิ การถูกช็อตด้วยไฟฟ้ า การแสดงสี หน้าไม่ยอมรับ
การยิม้ อย่างเย้ยหยัน การมองตา ฯลฯ สิ่ งที่ไม่พึงพอใจนั้นเน้นทีค่ วามไม่พึงพอใจ
ของผูร้ ับแต่เพียงอย่างเดียว และในขบวนการลงโทษ พฤติกรรมที่อินทรียแ์ สดงอยู่
เมื่อได้รับสิ่ งที่ไม่พึงพอใจ พฤติกรรมนั้นจะต้องยุติลง จึงกล่าวได้วา่ การลงโทษได้
เกิดขึ้นแล้ว
หลักในการใช้การลงโทษให้มีประสิ ทธิภาพ
◆ 1. การลงโทษนั้นจะต้องลงโทษด้วยความรุ นแรง ยิง่ รุ นแรงเท่าใดยิง่ ทาให้
พฤติกรรมนั้นยุติลงเร็ วเท่านั้น คาว่าความรุ นแรงหมายถึงความรุ นแรงตามการรับรู้
ของผูถ้ กู ลงโทษ
◆ 2. การให้การลงโทษนั้นไม่ควรให้เป็ นขั้นตอนเพราะจะทาให้เด็กสามารถปรับตัว
ได้และจะทาให้ขบวนการลงโทษไม่ได้ผล
◆ 3. การลงโทษนั้นจะต้องให้ทน ั ทีที่พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์เกิดขึ้น การยืดเวลา
การลงโทษออกไปจะทาให้เด็กไม่สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างการ
ลงโทษกับพฤติกรรมที่ตนกระทาผิดได้
◆ 4. การให้การลงโทษนั้นจะต้องให้ทุกครั้งที่พฤติกรรมที่ไม่พึงปรารถนาเกิดขึ้น
◆ 5. ในการลงโทษทุกครั้งจะต้องรู ้แหล่งของตัวเสริ มแรงและจะต้องควบคุมให้ได้
ไม่เช่นนั้นการลงโทษจะไม่ได้ผล
◆ 6. การลงโทษนั้นควรจะต้องเริ่ มลงโทษที่พฤติกรรมต้นเหตุ
◆ 7. ควรจะมีการเสริ มแรงพฤติกรรมที่พึงประสงค์ดว้ ย
ผลกระทบจากการใช้การลงโทษ
◆ 1. เกิดปั ญหาทางอารมณ์ เกิดความคับคล่องใจภายหลังจากการถูก
ลงโทษและอาจจะสร้างพฤติกรรมการแยกตัวออกจากสังคมได้
◆ 2. เกิดการหลีกหรื อหนี เช่น หนี ออกจากโรงเรี ยน หรื อไม่มาเรี ยน
◆ 3. เกิดพฤติกรรมก้าวร้าว เช่น ขว้างปาของ กระทืบเท้า ปิ ดประตูเสี ยงดัง
เป็ นต้น
◆ 4. เป็ นแบบอย่างให้ทาตามในอนาคต
◆ แม้การลงโทษจะก่อให้เกิดปั ญหามากเพียงใดก็ตาม การลงโทษก็ยงั คง
เป็ นเทคนิคที่มีประสิ ทธิภาพสูงมากในการยุติพฤติกรรมทีไ่ ม่พึงประสงค์
และควรที่จะพิจารณานามาใช้อย่างยิง่ ในกรณี ที่
◆ 1. พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์น้ น
ั อาจจะก่อให้เกิดอันตรายต่อสุ ขภาพ
ของตนเองและผูอ้ ื่น เช่น การเล่นอาวุธ
◆ 2. เมื่อไม่มีวิธีอื่นๆที่สามารถนามาใช้ในสภาพการณ์น้ น ั ได้แล้ว
◆ 3. เมื่อผูใ้ ช้รู้วา่ ตนเองต้องการที่จะเสริ มสร้างพฤติกรรมใดและเตรี ยมการ
เสริ มแรงพฤติกรรมนั้นอยูแ่ ล้ว เช่น ต้องการเสริ มแรงพฤติกรรมการนัง่
อยูก่ บั ที ขณะเดียวกันก็ใช้การลงโทษเพื่อให้ยตุ ิการลุกจากที่นงั่ เป็ นต้น
◆ ตัวอย่างของการใช้การลงโทษ หน้า 130
2. เวลานอก(Time Out)
◆ เป็ นเทคนิ คการลดพฤติกรรม โดยอาศัยหลักการลงโทษโดยเวลานอก คือ
การนาเอาอินทรี ยอ์ อกจากสถานที่ๆได้รับการเสริ มแรงในช่วงระยะเวลา
หนึ่ง อันเป็ นผลทาให้พฤติกรรมที่อินทรี ยแ์ สดงแล้วได้รับการเสริ มแรง
นั้นยุติลง เช่น สมชายพูดจาแซวครู ในขณะครู สอน ผลจากการทาเช่นนี้
ทาให้เพื่อนๆ ในชั้นตบมือและทาเสี ยงแสดงความพอใจแสดงว่า
พฤติกรรมการแซวครู ของสมชายได้รับการเสริ มแรงจากเพื่อนๆ ในชั้น
เรี ยน ครู สามารถใช้เทคนิคเวลานอก โดยทุกครั้งที่สมชายแซวครูๆจะให้
ออกไปอยูข่ า้ งนอกห้องเป็ นเวลา 5 นาที แล้วจึงกลับเข้ามาในห้อง
ตามเดิม ผลก็คือพฤติกรรมการแซวครู ของสมชายลดลง
◆ อีกตัวอย่างหนึ่ งในค่ายพักแรมลูกเสื อ ในช่วงเวลานอนลูกเสือตามเต็นท์
ต่างๆ มักจะเล่นหยอกล้อส่ งเสี ยงดัง ครู ฝึกลงโทษโดยให้ออกมายืนที่
สนาม เป็ นเวลา 10 นาที

◆ ข้อดีของการใช้เวลานอก

◆ 1. เวลาของการใช้ค่อนข้างสั้นจึงไม่ไปรบกวนกิจกรรมที่ทาอยู่

◆ 2. ไม่ก่อให้เกิดความเจ็บปวดทางกาย
หลักในการใช้เวลานอกให้มีประสิ ทธิภาพ
◆ 1. จะต้องสามารถถอดถอนตัวเสริ มแรงในสภาพการณ์น้ นั ออกได้หมด
◆ 2. จะต้องไม่ใช้เวลานอกต่อเด็กที่อยูใ่ นสถานการณ์ที่ไม่พึงพอใจ เช่น การที่ครู ให้
เด็กทาแบบฝึ กหัดซึ่ งเด็กไม่พอใจ จึงทาเสี ยงรบกวนในชั้น ครู ใช้เวลานอกทันที
เหตุการณ์เช่นนี้ จะเห็นได้วา่ เมื่อครู ใช้เวลานอก จะทาให้เด็กไม่ตอ้ งทาแบบฝึ กหัด
เลยทาให้การใช้เวลานอกเป็ นการเสริ มแรงพฤติกรรมการหนีการทาการบ้านไป
◆ 3. อย่าใช้เวลานอกกับเด็กที่ชอบอยูค ่ นเดียว เพราะเท่ากับเป็ นการเสริ มแรง
พฤติกรรมการอยูค่ นเดียวของเด็ก
◆ 4. ช่วงเวลาของการใช้เวลานอกไม่ควรจะยาวนานเกินไปควรจะอยูใ่ นช่วง 5-10
นาที เด็กขาดเรี ยนจะทาให้เกิดปั ญหามากยิง่ ขึ้น
◆ ประสิ ทธิ ภาพและปั ญหาผลกระทบของการใช้เวลานอก มีลก ั ษณะคล้ายกับการ
ลงโทษ เนื่องจากเวลานอกเป็ นส่ วนหนึ่ งของการลงโทษนัน่ เอง ตัวอย่างหน้า 132
3. การปรับสิ นไหม(Response Cost)
◆ การปรับสิ นไหมเป็ นวิธีการลงโทษทางลบคือ การถอดถอนสิ่ งทีอ
่ ินทรี ย ์
พึงพอใจหลังจากแสดงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ เช่น
◆ โฉมศรี ขา้ มถนนโดยไม่ใช้สะพานลอย ตารวจจับปรับเงิน 500 บาทผล
ปรากฎว่า โฉมศรี ยตุ ิการข้ามถนนโดยไม่ใช้สะพานลอย
◆ แดงหนี เรี ยน คุณแม่เลยหักเงินค่าขนมของแดงในเดือนนั้น 50 บาท

◆ การปรับสิ นไหมเป็ นส่ วนหนึ่ งของการลงโทษ ดังนั้นปั ญหาต่างๆ ที่


เกิดขึ้นจึงคล้ายคลึงกัน
ข้อดีของการปรับสิ นไหม
◆ 1. มีผลต่อการลดพฤติกรรมเร็ วมาก

่ านมากกว่าการลงโทษอื่นๆ
◆ 2. ผลของการใช้การปรับสิ นไหมจะคงอยูน

◆ 3. ใช้ได้สะดวก
หลักในการใช้การปรับสิ นไหมให้มีประสิ ทธิภาพ
◆ 1. การปรับสิ นไหมจะใช้การได้ดี ต่อเมื่อเด็กได้มีโอกาสสะสมตัว
เสริ มแรง เพราะถ้าเด็กไม่มีโอกาสสะสมตัวเสริ มแรง การปรับสิ นไหม
ย่อมทาไม่ได้
◆ 2. อัตราการปรับสิ นไหม ไม่มีกาหนดเป็ นหลักเกณฑ์แน่ นอน ซึ่ ง
ลักษณะของการใช้การลงโทษโดยทัว่ ไปแล้ว ควรจะต้องปรับให้รุนแรง
ที่สุด แต่ในกรณี ของการปรับสิ นไหมพบว่า ถ้าปรับรุ นแรงไปเด็กที่ถูก
ปรับจะไม่สนใจกับเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นอีกต่อไปและอาจก่อให้เกิด
พฤติกรรมก้าวร้าว แต่ถา้ ปรับน้อยไปก็จะไม่ได้ผล ดังนั้นหลักในการ
ปรับสิ นไหม ควรที่จะพิจารณาประสบการณ์ของเด็ก ถ้าเด็กเคยมี
ประสบการณ์ถูกปรับมาก่อน การปรับสิ นไหมควรจะให้รุนแรง แต่ถา้
เด็กยังไม่เคยมีประสบการณ์ในการถูกปรับมาก่อน การปรับเพียง
เล็กน้อยย่อมให้ผลดี
◆ 3. ในการใช้การปรับสิ นไหม ควรจะใช้คู่กบ
ั เทคนิคการปรับพฤติกรรม
อื่นๆ เช่น การใช้เบี้ยอรรถกร เพราะการใช้เบี้ยอรรถกรจะทาให้เด็กได้มี
โอกาสสะสมตัวเสริ มแรง
◆ การปรับสิ นไหมส่ วนใหญ่จะใช้ในสังคมทัว่ ๆไป เช่น การปรับของ
ตารวจเป็ นต้น การปรับเวลาส่ งหนังสื อคืนเกินกาหนด การปรับเวลา
ลงทะเบียนช้ากว่ากาหนด การปรับกรณี ทางานเสร็ จช้าเกิดกว่าสัญญาที่
กาหนดไว้
◆ ตัวอย่างหน้า 133-134
4. การแก้ไขเกินกว่าเหตุ(Over Correction)
◆ คือการลงโทษ ต่อการกระทาพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม โดยการให้ทางานใน
สภาพการณ์ที่กระทาพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมนั้น ซึ่ งงานที่ทานั้นจะต้องมีลกั ษณะ
ดังนี้
◆ 1. แก้ไขสิ่ งแวดล้อมที่เป็ นผลจากการแสดงพฤติกรรมที่ไม่พึงปรารถนานั้น

◆ 2. การทาพฤติกรรมที่แก้ไขอย่างมากที่สุด

◆ เช่น การที่เด็กควา่ โต๊ะ ครู ใช้วธ


ิ ี แก้ไขเกิดกว่าเหตุโดยขั้นแรกให้แก้ไขผลที่เด็ก
แสดงพฤติกรรมที่ไม่พึงปรารถนาคือ ให้เด็กเอาโต๊ะของตนกลับขึ้นมาตั้งตามเดิม
แล้วทาความสะอาด แล้วจึงใช้ข้ นั ที่สองคือ ให้ทาความสะอาดโต๊ะของเพื่อนทั้ง
ห้องอีกด้วย
ข้อดีของการแก้ไขเกิดกว่าเหตุ
◆ 1. ลดปั ญหาผลกระทบอันเกิดจากการใช้การลงโทษโดยทัว่ ไปได้
เนื่องจากการแก้ไขเกิดกว่าเหตุไม่ก่อให้เกิดความเจ็บปวดทางร่างกาย
◆ 2. ได้ผลอย่างรวดเร็ วและผลนั้นคงอยูเ่ ป็ นเวลานาน

◆ 3. เป็ นลักษณะของการศึกษา เนื่ องจากเด็กจะต้องแสดงพฤติกรรมที่


เหมาะสมเป็ นจานวนหลายครั้งด้วยกัน
ข้อจากัดของการใช้การลงโทษเกินกว่าเหตุ
◆ 1. เป็ นการยากที่จะเลือกพฤติกรรมที่ให้กระทาได้อย่างเหมาะสม เช่น
พฤติกรรมการหยิบของโดยไม่ได้รับอนุญาต ถ้าจะใช้วิธีการแก้ไขเกิน
กว่าเหตุควรจะต้องเลือกพฤติกรรมใดให้เด็กกระทา
◆ 2. เป็ นการเผชิญหน้าระหว่างผูถ้ ูกปรับพฤติกรรมกับนักปรับพฤติกรรม
ซึ่งถ้าในกรณี ที่ผถู ้ ูกปรับพฤติกรรมไม่ยอมกระทาตาม นักปรับ
พฤติกรรมจะทาอย่างไร
◆ ตัวอย่างหน้า 135
5. การหยุดยั้ง(Extinction)
◆ คือการยุติการให้แรงเสริ มต่อพฤติกรรมที่เคยได้รับการเสริ มแรงอันอาจ
เป็ นผลให้พฤติกรรมนั้นลดลงหรื อยุติลง เช่น คนงานมาทางานได้รับ
ค่าจ้างเป็ นรายวัน โดยจ่ายให้ในตอนเย็นของทุกวัน แสดงว่าพฤติกรรม
การมาทางานของคนงานได้รับการเสริ มแรงด้วยเงินค่าจ้าง ถ้าวันใด
คนงานมาทางานแล้วไม่ได้รับเงินค่าแรง(เกิดการหยุดยั้ง) พฤติกรรมการ
มาทางานของคนงานจะค่อยๆ ลดลงและถ้าโรงงานไม่จ่ายเงินเป็ นระยะ
เวลานาน พฤติกรรมการมาทางานของคนงานก็จะหยุดลงทันที แสดงว่า
พฤติกรรมการทางานของคนงานได้รับการหยุดยั้ง จึงเป็ นผลทาให้การ
ทางานลดลงหรื อยุติลงในที่สุด
ข้อที่ควรพิจารณาในการใช้การหยุดยั้ง
◆ 1. พฤติกรรมใดที่ได้รับการเสริ มแรงด้วยวิธีการเสิ รมแรงเป็ นบางครั้ง
บางคราว ถ้าใช้การหยุดยั้ง พฤติกรรมนั้นจะลดลงช้ามากและต้องใช้เวลา
อันยาวนานเช่น การเล่นการพนัน การเล่นลอตเตอรี่ เป็ นต้น
◆ 2. พฤติกรรมที่ได้รับการเสริ มแรงมาเป็ นระยะเวลายาวนาน หรื อได้รับ
การเสริ มแรงด้วยตัวเสริ มแรงเป็ นจานวนมาก เมื่อใช้การหยุดยัง้ จะทาให้
พฤติกรรมนั้นลดลงช้ามาก บางที่อาจจะไม่ลดลงก็ได้
◆ 3. ผูใ้ ช้การหยุดยั้งจะต้องสามารถรู ้ได้วา่ พฤติกรรมที่จะใช้การหยุดยั้ง
นั้นได้รับการเสริ มแรงจากที่ใดบ้าง เพราะบางพฤติกรรมได้รับการ
เสริ มแรงจากหลายที่ ซึ่งการหยุดยั้งการเสริ มแรงเพียงครั้งอย่างจะทาให้
ไม่สามารถลดพฤติกรรมได้ เช่น เด็กชอบแซวครู ในชั้นเรี ยนอาจได้รับ
การเสริ มแรงจากกลุ่มเพื่อนและครู คนอื่นก็ได้ ซึ่งการหยุดยั้งโดยครู คน
เดียวก็จะไม่ทาให้พฤติกรรมการแซวครู ลดลง หรื อกรณี สุโข
◆ 4. การควบคุมแหล่งของแรงเสริ ม ซึ่ งนอกจากจะรู ้แหล่งของแรงเสริ มแล้วยังต้องรู้
ว่าจะควบคุมได้หรื อไม่ ซึ่ งถ้าควบคุมไม่ได้กไ็ ม่ควรใช้เทคนิคการหยุดยั้ง เพราะจะ
ทาไห้ไม่ได้ผล ควรใช้เทคนิคอื่นแทน
◆ นอกจากนี้ ผท ู ้ ี่คิดจะใช้เทคนิคการหยุดยั้ง ควรจะรู ้ถึงลักษณะของขบวนการหยุดยั้ง
เพราะจะได้เข้าใจถึงกระบวนการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมที่เกิดขึ้น ลักษณะของ
กระบวนการหยุดยั้งมีดงั ต่อไปนี้
◆ 1. พฤติกรรมจะค่อยๆ ลดลง ดังนั้นพฤติกรรมใดที่อาจจะก่อให้เกิดอันตรายต่อผูอ้ ื่น
หรื อตนเอง ไม่ควรใช้การหยุดยั้ง
◆ 2. เกิดการระเบิดของพฤติกรรม การใช้การหยุดยั้งในช่วงแรกจะทาให้พฤติกรรมที่
กระทาอยูเ่ พิ่มสู งขึ้นทันทีแล้วจะค่อยๆ ลดลง เช่น เด็กคนหนึ่งแสดงพฤติกรรม
ก้าวร้าวต่อเพื่อนๆ ในชั้นเรี ยน โดยทาครั้งละประมาณ 5 นาที แต่พอใช้การหยุดยั้ง
ปรากฎว่าพฤติกรรมนั้นเพิ่มขึ้นถึงครั้งละ 27 นาที ก่อนที่จะลดลง ดังนั้นผูท้ ี่จะใช้
เทคนิคนี้จะต้องอดทนต่อพฤติกรรมที่จะเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่รุนแรง ถ้าทน
ไม่ได้กไ็ ม่ควรใช้เทคนิคนี้
◆ 3. พฤติกรรมที่ได้รับการปรับโดยเทคนิ คการหยุดยั้ง อาจจะกลับคืนมา
ได้อีกครั้ง ถ้าได้รับการเสริ มแรงอย่างไม่ต้ งั ใจ
◆ 4. อาจเกิดปั ญหาผลกระทบได้เช่น ปั ญหาทางอารมณ์ เด็กอาจจะแสดง
พฤติกรรมก้าวร้าวขึ้น
เมื่อไหร่ ควรจะใช้การหยุดยั้ง
◆ 1. การหยุดยั้งควรจะใช้ต่อเมื่อผูใ้ ช้รู้ถึงตัวเสริ มแรงทุกตัวที่มีต่อ
พฤติกรรมที่ตอ้ งการลดและสามารถควบคุมได้อีกด้วย
◆ 2. การหยุดยั้งจะใช้ได้ผลอย่างดี ถ้าใช้คู่กบ
ั การเสริ มแรงทางบวก
◆ ตัวอย่าง หน้า 139
6. Satiation
◆ คือการที่ให้ตวั เสริ มแรงทางบวกต่อการแสดงพฤติกรรมเป็ นจานวนมาก
และบ่อยเกินไป จนทาให้ตวั เสริ มแรงบวกนั้นหมดประสิ ทธิภาพในการ
เป็ นตัวเสริ มแรงต่อพฤติกรรมนั้น อันเป็ นผลทาให้พฤติกรรมนั้นยุติลง
การดาเนินโปรแกรม Satiation
◆ 1. กาหนดพฤติกรรมที่ตอ
้ งการจะลดหรื อให้ยตุ ิลง
◆ 2. สังเกตดูวา่ พฤติกรรมที่ตอ
้ งการจะให้ลดหรื อยุติลงนั้นเสริ มแรงด้วยสิ่ งใด
◆ 3. ตัวเสริ มแรงที่รู้ได้จากการสังเกตนั้น เป็ นตัวเสริ มแรงชนิ ดแผ่ขยายหรื อไม่ ถ้า
เป็ นตัวเสริ มแรงชนิดแผ่ขยายไม่สามารถดาเนินการโดยโปรแกรม Satiation ได้
ควรหาวิธีอื่นแทน เช่น เวลานอก หรื อการลงโทษทางบวก
◆ 4. ตัวเสริ มแรงนั้นผูด
้ าเนินโปรแกรมสามารถที่จะจัดหาให้ได้เป็ นจานวนมาก
และให้ได้ตลอดเวลาหรื อเปล่า
◆ 5. ถ้าตัวเสริ มแรงนั้นหาได้ยากหรื อไม่สามารถที่จะให้ได้มาก ควรจะลองหาวิธี
อื่น
◆ 6. เมื่อพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์เกิดขึ้น ให้ตวั เสริ มแรงเป็ นจานวนมาก

◆ ตัวอย่างหน้า 141-142
7. กระบวนการ DRO
(Differential Reinforcement of Other Behavior)
◆ คือ การให้การเสริ มแรงต่อพฤติกรรมอื่นนอกเหนือไปจากพฤติกรรมที่ตอ้ งการจะ
ให้ลดหรื อยุติลง เช่น ในการที่เด็กร้องไห้ เพราะต้องการความสนใจ ก็จะต้องไม่ให้
ความสนใจ โดยให้เด็กนั้นร้องไห้ต่อไปตามที่เขาต้องการ แต่เมือใดก็ตามที่เด็ก
หยุดร้องจะต้องกาหนดเวลาไว้วา่ เด็กจะต้องหยุดร้องไห้ไม่ต่ากว่า 30 วินาทีแล้วจึง
ให้ความสนใจ
◆ DRO นั้นมีลก ั ษณะคล้ายกับการให้แรงเสริ มต่อพฤติกรรมที่ขดั แย้งกับ
พฤติกรรมที่ตอ้ งการจะให้ลดหรื อยุติลง
◆ เช่นกรณี ที่ผป
ู ้ กครองพยายามยุติพฤติกรรมการร้องไห้เมื่อเด็กต้องการอาหาร มา
เป็ นการมีพฤติกรรมการพูดขออาหารอย่างยิม้ แย้ม ซึ่ งพฤติกรรมการร้องไห้ กับ
พฤติกรรมการพูดจายิม้ แย้มนั้นเป็ นพฤติกรรมที่ขดั แย้งกันหรื อตรงข้ามกัน
◆ DRO แตกต่างจากการหยุดยั้ง(Extinction) ตรงที่การหยุดยั้ง
นั้นไม่เพียงแต่จะไม่ให้แรงเสริ มต่อพฤติกรรมที่เคยได้รบั แรงเสริ ม
เท่านั้น แต่ยงั ถอดถอนตัวเสริ มแรงนั้นออกจากสภาพการณ์ท้งั หมดอีก
ด้วย แต่ DRO ตัวเสริ มแรงยังคงอยูใ่ นสภาพการณ์น้ นั เพียงแต่วา่ จะ
ให้ต่อพฤติกรรมอื่นที่นอกเหนือไปจากพฤติกรรมที่ตอ้ งการให้ลดหรื อ
ยุติลงเท่านั้น
ทดสอบ
ในค่ายลูกเสื อแห่งหนึ่ง หลังจากเสร็ จการเข้าค่ายฯ เด็กที่ทาผิดระเบียบของ
การเข้าค่ายฯ เช่น ไม่ตรงต่อเวลา ไม่ปฏิบตั ิตามคาสัง่ ของครูฝึกเช่น ครู
ฝึ กให้มารับเต็นท์กไ็ ม่มารับ จะถูกสัง่ ลงโทษ โดยให้เก็บขยะในค่ายฯ
อยากทราบว่าเขาถูกลงโทษแบบใด
การนาแนวคิดเรื่ องการเสริ มแรงไปใช้
ในการจูงใจในการทางาน
เพื่อให้ง่ายต่อการนาไปใช้ ดร.หลุย จาปาเทศ(2535) จึง
ได้พฒั นาหลักการจูงใจออกเป็ น 2 ประการคือ
1. การจูงใจแบบอิงเกณฑ์(Criterion Based
Motivation)
2. การจูงใจแบบไม่อิงเกณฑ์(Non-Criterion
Based Motivation)
1. การจูงใจแบบอิงเกณฑ์(Criterion Based Motivation)
หมายถึง การจูงใจที่ได้วางหรื อตั้งเป็ นกฎเกณฑ์ไว้ก่อน
หากผูป้ ฏิบตั ิตามสามารถทาได้กใ็ ห้รางวัล(การจูงใจ
แบบอิงเกณฑ์ประเภทบวก) หรื อตั้งเป็ นกฎเกณฑ์ไว
ก่อนหากผูป้ ฏิบตั ิทาไม่ได้กท็ าโทษ(การจูงใจแบบอิง
เกณฑ์ประเภทลบ)
1.1 การจูงใจแบบอิงเกณฑ์ประเภทบวก
คือการที่ผบู้ ริ หารต้องการให้ผใู้ ต้บงั คับบัญชาทางานทุ่มเท
เพื่อการทางาน ก็ควรมีการตั้งเป็ นรางวัลไว้ ซึ่ งหลักการตั้ง
รางวัลให้มีประสิ ทธิภาพในการจูงใจมี 4 องค์ประกอบคือ
1. รางวัลนั้นจะต้องเป็ นที่พึงปรารถนาของผูร้ ับ
2. รางวัลนั้นจะต้องได้ไม่ยากหรื อง่ายจนเกินไป
3. รางวัลนั้นควรจะได้ตอบสนองทันที เพราะจะ
กระตุน้ ความรู้สึกให้อยากทาอีก
4. ถ้ารางวัลนั้นมีราคาน้อยควรเพิม่ เกียรติยศเข้าไป
ด้วย
ตัวอย่ างการจูงใจแบบอิงเกณฑ์ ประเภทบวกได้ แก่
1. ทางานมีผลงานถึงเกณฑ์ที่ต้ งั ไว้ใน 1 ปี ได้ข้ ึนเงินเดือน 1
ขั้น
2. ทางานมีผลงานดีเด่นภายใน 1 ปี จะได้เงินเดือนขึ้น 2 ขั้น
3. ลูกจ้างชัว่ คราวทดลองทางานมีผลงานตามเกณฑ์ที่ต้ งั ไว้
ภายใน 6 เดือนบรรจุเป็ นพนักงานประจา
4. ทางานโดยขาดงานไม่เกิน 10 วันใน 1 ปี ให้หยุดพักร้อน
ประจาปี 10 วัน
5. ทายอดขายได้สูงสุ ดตามเป้ าหมายที่กาหนดไว้ใน 1 เดือน
จะให้สร้อยคอทองคาหนัก 1 บาท
6. ถ้าไปทางานเสี่ ยงภัยในแดนอันตรายครบ 6 เดือน จะได้
วันหยุดพักร้อนเพิ่มอีก 1 เดือน
7. ถ้าทางานที่มอบหมายครบกาหนด 2 ปี จะส่ งไปเรี ยนต่อ
8. ถ้าทางานอยูก่ บั บริ ษทั เป็ นเวลา 25 ปี ขึ้นไปจะได้รับเงิน
บาเหน็ด
9. พนักงานทาความสะอาดชั้นใดที่ชนะเลิศการประกวดทา
ความสะอาดในแต่ละเดือน จะได้คูปองสะสมรับรางวัล
ปลายปี
10. ทางานมีผลงานอยูใ่ นเกณฑ์ที่ดีตลอดระยะเวลาการ
ทางานจนครบเกษียณอายุ จะได้บาเหน็จบานาญ เหรี ยญตรา
และโล่ห์ประกาศเกียรติคุณ
1.2 การจูงใจแบบอิงเกณฑ์ประเภทลบ
คือการที่ผบู้ ริ หารต้องการให้ผใู้ ต้บงั คับบัญชาปฏิบตั ิ
ตามระเบียบกฎเกณฑ์ขององค์กร โดยกาหนดเกณฑ์
เพื่อลงโทษไว้กรณี ที่ไม่ปฏิบตั ิตามระเบียบกฎเกณฑ์
ขององค์กร
ตัวอย่างการจูงใจแบบอิงเกณฑ์ประเภทลบ
1. ทางานผิดครั้งแรกในรอบปี ว่ากล่าวตักเตือน ครั้งที่ 2
ภาคทัณฑ์
2. ขาดงานเกิน 15 วันใน 1 ปี ไม่พิจารณาความดีความชอบ
3. ทาผิด 2 ครั้งในเรื่ องเดียวกันในเวลา 6 เดือน จะไม่ได้รับ
การพิจารณาในการขึ้นเงินเดือน
4. ทาของเสี ยหายโดยประมาทในเวลา 6 เดือนให้ชดใช้
ค่าเสี ยหายโดยตัดจากเงินเดือน
5. ละทิ้งหน้าที่ขณะปฏิบตั ิงาน 3 ครั้ง ในเวลา 6 เดือน ให้
ออกจากงาน
6. ขัดคาสัง่ ผูบ้ งั คับบัญชาโดยชอบด้วยระเบียบ ตลอด
ระยะเวลาทางานต้องถูกทาโทษ
7. ขาดงานเกิน 5 วันโดยไม่แจ้งให้หวั หน้าทราบก่อน
ล่วงหน้า ให้ออกจากงาน
8. ป่ วยเกิน 30 วันในเวลา 1 ปี ไม่พิจารณาความดีความชอบ
9. ทุจริ ตให้หน้าที่ 1 ครั้งในเวลาทางานตัดเงินเดือนหรื อไล่
ออก
10. หากไม่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่วางไว้ภายใน 6 เดือน จะ
ไม่ผา่ นการทดลองงาน และจะไม่ได้รับการบรรจุเข้าเป็ น
พนักงาน
2. การจูงใจแบบไม่อิงเกณฑ์(Non-Criterion
Based Motivation)
หมายถึงการจูงใจที่ไม่ได้วางหรื อตั้งเกณฑ์ไว้ก่อน ผูป้ ฏิบตั ิ
ตามยากต่อการปฏิบตั ิ แต่อย่างไรก็ตามนักบริ หารที่มีฝีมือ
โดยทัว่ ไปมักจะเก่งในการปกครองโดยใช้แบบไม่อิงเกณฑ์
แทบทั้งสิ้ น การจูงใจแบบไม่อิงเกณฑ์มีความละเอียดอ่อน
มากและเป็ นเรื่ องของจิตวิทยาแทบทั้งสิ้ น
2.1 การจูงใจแบบไม่อิงเกณฑ์ประเภทบวก
คือผูบ้ ริ หารใช้เทคนิคต่างๆ เพื่อให้ผไู้ ด้บงั คับบัญชา
ขยัน สนใจการทางานเพือ่ องค์กรส่ วนรวม เพื่อหัวหน้า
เพื่ออนาคตของเขา
ตัวอย่างของการจูงใจแบบไม่อิงเกณฑ์ประเภทบวก
1. ชมเชยต่อหน้าผูอ้ ื่นหรื อสังคม
2. เยีย่ มเยียนเอาใจใส่ เมื่อยามป่ วยไข้
3. ให้รักษาการแทนหรื อดูแลงานเมื่อไม่อยู่
4. ซื้ อของมาฝาก
5. ยิม้ แย้มทักทายเมื่อพบหน้า
6. สนับสนุนให้กา้ วหน้า
7. อานวยความสะดวกด้านสวัสดิการ
8. ให้รางวัลเมื่อทาความดีโดยไม่บอกล่วงหน้า
9. มอบหมายงานที่สาคัญให้ทา
10. ให้ความสนิทสนมเป็ นกับเองเป็ นส่ วนตัว
การไม่อิงเกณฑ์ประเภทบวกนี้ คือการสร้างความ
ประทับใจนัน่ เอง
2.2 การจูงใจแบบไม่อิงเกณฑ์ประเภทลบ
คือผูบ้ ริ หารทาโทษผูใ้ ต้บงั คับบัญชา โดยไม่บอกหรื อ
ตั้งเป็ นเกณฑ์ไว้ล่วงหน้า ซึ่งผลที่ได้รับจะทาให้เขา
กระวีกระวาดในการทางานได้เช่นเดียวกัน
ตัวอย่างของการจูงใจแบบไม่อิงเกณฑ์ประเภทลบ
1. การวางตัวเฉยไม่สนใจ
2. ไม่มอบงานที่สาคัญให้ทา
3. ไม่สนับสนุน
4. ชี้ขอ้ ผิดพลาดเพื่อการแก้ไข
5. แสดงสี หน้าไม่พอใจ เช่นเมื่อมาทางานสาย
6. เปลี่ยนหน้าที่ใหม่ถา้ ทางานผิดพลาด
7. กล่าวชมผูอ้ ื่นให้ฟัง เพื่อให้เป็ นแบบอย่าง
8. ไม่ให้สิทธิ พิเศษเมื่อเดือนร้อน
9. ให้ทางานยากขึ้นและควบคุม
10. ไม่ยมิ้ ทักทาย
งานท้ายชัว่ โมง
ให้นกั ศึกษายกตัวอย่าง
การจูงใจแบบไม่อิงเกณฑ์ประเภทบวกและลบ อย่างละ
3 ตัวอย่าง
การวิเคราะห์พฤติกรรม
(Behavior Analysis)
◆ พฤติกรรมของมนุษย์ที่แสดงออกมาจนเป็ นบุคลิกภาพของเขา อาจเรี ยกว่าเป็ น
Behavior Pattern ก็ไม่ผดิ แบบแผนของพฤติกรรมเกิดจากการบูร
ณาการณ์ ใน 3 องค์ประกอบภาคส่ วนได้แก่
◆ ภาคสรี ระ (Physio) ภาคจิตใจ (Psycho) ภาคสังคม(Socio)
วิเคราะห์ร่วมกับระยะเวลาโดยแบ่งออกเป็ น 3 ระยะ คือ อดีต ซึ่ งหมายถึงเริ่ มตั้งแต่
เกิดเป็ นต้นไป เรี ยกว่าเป็ นระยะการพัฒนา(Development
Period) ปั จจุบนั ซึ่ งหมายถึงขณะที่ทาการวิเคราะห์วา่ อยูใ่ นระดับสมดุล
(Balance) แค่ไหน เช่น สมดุลทางกาย(สรี ระ) ทางสังคมและทางจิตใจ
และอนาคต หมายถึง แนวโน้มและความตั้งใจจริ งหรื อเรี ยกว่า Ambition
◆ ซึ่ งทั้ง 2 กลุ่มใหญ่คือองค์ประกอบของคน(องค์ประกอบแรก ภาคสรี ระ สังคม
จิตใจ) องค์ประกอบที่สองเวลา (ประกอบไปด้วยอดีต ปัจจุบนั และอนาคต) พอ
เขียนเป็ นตาราง 7 cell และพฤติกรรมของแต่ละบุคคลได้ดงั นี้
การพัฒนา ความสมดุล
DEVELOPM BALANCE
ENT
สรี ระ 1 4 ความทะเยอทะยาน พฤติกรรม
PHYSIO AMBITION BEHAVIOR
7
จิตใจ 2 5 อนาคต
PSYCHO FUTURE

สังคม 3 6
SOCIO

อดีต ปัจจุบนั
PAST PRESENT
◆ คาอธิ บาย เซลล์ที่ 1 2 3 เป็ นเซลล์ที่กล่าวถึงการพัฒนาของคนทั้งทางกาย
ทางใจและทางสังคม
◆ ส่ วนเซลล์ที่ 4 5 6 เป็ นสภาวะปั จจุบน ั ของทางกาย ทางใจและทางสังคม
◆ คนที่ตอ้ งการความช่วยเหลือจะต้องถูกวิเคราะห์เซลล์ท้ งั 3 คือเซลล์ที่ 4 5
6 เป็ นอันดับแรก ว่าเขามีอะไรขาดตกบกพร่ อง จากนั้นจึงจะไปวิเคราะห์
เซลล์ที่ 1 2 3 ส่ วนเซลล์ที่ 7 เป็ นผลรวมหรื อผลกระทบที่สืบเนื่องมาจาก
เซลล์ท้ งั 6
็ ะมาในรู ปของ Positive
◆ ซึ่ งถ้ากระทบดีกจ ambition คือมุ่ง
กระทาในสิ่ งที่สงั คมยอมรับ
◆ แต่ถา้ เป็ นไปในมุมตรงกันข้ามคือมุ่งกระทาในสิ่ งที่สงั คมไม่ยอมรับ
Negative ambition
เซลล์ที่ 1 การพัฒนาทางสรี ระ
Physical Development
◆ สรี ระหรื อร่ างกายเป็ นตัวสาคัญอันดับแรก ถ้าเด็กบกพร่ องในช่วงต้นๆ
ของชีวิต จะไม่ได้มีผลเพียงด้านร่ างกายเท่านั้น แต่จะมีผลทั้งทางด้าน
อารมณ์ สติปัญญา และสังคมอีกด้วย
◆ เช่น เรื่ องการขาดอาหาร
◆ ผลทางกาย หิ วไม่มีแรง เป็ นโรคกระเพาะ ร่ างกายแคะแกรน สมองไม่ดี
สติปัญญาไม่ดี
◆ ผลทางจิตใจ อารมณ์ หงุดหงิด โกรธง่าย
◆ ผลทางสังคม ไม่อยากคบค้าสมาคมกับใครเพราะรู ้สึกว่าตนเองมีปมด้อย
ทั้งด้านรู ปร่ างและสติปัญญา
◆ ตัวอย่างสาเหตุความบกพร่ องทางสรี ระหรื อร่ างกาย

◆ 1. พันธุ กรรมบกพร่ องทั้งทางกายและสติปัญญา

◆ 2. เป็ นโรคขาดสารอาหาร

◆ 3. ได้รับการกระทบกระเทือนที่ศรี ษะอย่างรุ นแรงเมื่อเยาว์วยั

◆ 4. ทุพลภาพทางรู ปร่ างมาตั้งแต่แรกเกิด

◆ 5. มีโรคประจาตัว
เซลล์ที่ 2 การพัฒนาทางด้านจิตใจ
Psychological Development
◆ ด้านจิตใจเป็ นตัวที่มองเห็นได้ยาก แต่พฤติกรรมของเด็กทีพ
่ ฒั นาทาง
จิตใจไม่ดีมองเห็นได้ง่าย เช่น พฤติกรรมของเด็กที่ปรับตัวเข้ากับสังคม
ไม่ได้ สังเกตุได้คือ เด็กไม่ชอบเล่นกับใคร เก็บตัว หรื อไม่กช็ อบรังแก
เด็กอื่นๆ ขณะที่เล่นด้วยกัน ชอบแย่งหรื อขว้างของผูอ้ นื่ ทิ้ง
◆ สาเหตุที่ทาให้การพัฒนาทางจิตใจบกพร่ องได้แก่
◆ 1. สะเทือนใจอย่างรุ นแรง เช่น พ่อแม่เสี ยชีวติต้ งั แต่ยงั เยาว์
◆ 2. ขาดความรักความอบอุ่นในครอบครัว
◆ 3. การเรี ยนตกต่า
◆ 4. เกิดมาในครอบครัวที่ต่าต้อย
เซลล์ที่ 3 การพัฒนาทางสังคม
Sociological Development
◆ การพัฒนาทางสังคมนี้ จาแนกออกเป็ น 4 สังคมด้วยกันคือ

◆ 1. สังคมครอบครัว ได้รับมาตั้งแต่แรกเกิด

◆ 2. สังคมโรงเรี ยน จะได้รับเมื่อถึงวัยเข้าเรี ยน

◆ 3. สังคมอาชีพ จะได้รับเมือจบและเข้าประกอบอาชีพ

◆ 4. สังคมรอบๆ ตัว หมายถึงสังคมที่เราดารงชีวิตอยู่

◆ สังคมทั้ง 4 ดังกล่าวมาเด็กจะได้รับอิทธิ พลมากที่สุดคือสังคมครอบครัว


และโรงเรี ยน เพราะเด็กอยูใ่ นช่วงที่กาลังก่อตัวเป็ นลักษณะนิสัยที่ถาวร
◆ สิ่ งที่ทาให้บกพร่ องในการพัฒนาทางด้านสังคมในเด็ก

◆ 1. ครอบครัวแตกแยกหย่งร้าง

◆ 2. การทะเลาะเบาะแว้งเป็ นประจาของพ่อแม่

◆ 3. พฤติกรรมที่ผด
ิ ศีลธรรมของคนในครอบครัว
◆ 4. อยูใ่ นโรงเรี ยนที่ครู เจ้าอารมณ์
เซลล์ที่ 4 สภาวะสมดุลของร่ างกาย
Physiological Development
◆ คือการวิเคราะห์ร่างกายของเราว่าอยูใ่ นระดับสมดุลเป็ นไปตาม
ธรรมชาติหรื อไม่ ถ้าร่ างกายในสภาวะปัจจุบนั ไม่สมดุลหรื อแข็งแรงพอ
เขาก็อาจจะมีพฤติกรรมที่เป็ นปัญหาได้ เช่น ปวดหัว ขาดอาหาร เป็ นโรค
ประจาตัว แน่นอนที่สุดถ้าร่ างกายของใครเกิดเป็ นเช่นนี้ เขาผูน้ ้ นั ก็จะ
ขาดสมาธิในการเรี ยน ในการทางาน
◆ สาเหตุต่างๆ ที่ทาให้ร่างกายไม่สมดุลได้แก่

◆ 1. นอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ

◆ 2. รับประทานอาหารไม่เพียงพอหรื อมากเกินไป
◆ 3. อ่อนเพลียเพราะใช้กาลังมาก เช่นทางานหนัก

◆ 4. ได้รับบาดเจ็บหรื อได้รับอุบต
ั ิเหตุ
◆ 5. มึนเมาสุ รา

◆ 6. เจ็บป่ วย
เซลล์ที่ 5 สภาวะสมดุลของจิตใจ
Psychological Balance
◆ คือการวิเคราะห์จิตใจของคนเราว่าอยูใ่ นสภาวะสมดุล เป็ นไปตาม
ธรรมชาติหรื อไม่ ถ้าจิตใจในสภาวะปัจจุบนั ไม่ได้อยูใ่ นสภาวะสมดุล
เขาก็อาจจะมีพฤติกรรมที่มีปัญหาได้
◆ สาเหตุที่ทาให้เกิดความไม่สมดุลทางจิตใจ

◆ 1. เสี ยใจที่โดยตาหนิ อาจเป็ นพ่อแม่หรื อหัวหน้า

◆ 2. เสี ยใจที่ทางานล้มเหลว

◆ 3. กังวลใจเกี่ยวกับปั ญหาการเรี ยนหรื อการทางาน


เซลล์ที่ 6 สภาวะสมดุลทางสังคม
Sociological Balance
◆ หมายถึง การวิเคราะห์พฤติกรรมของคนโดยอาศัยสภาวะแวดล้อมทาง
สังคม หากสังคมยอมรับในตัวเขาพฤติกรรมที่แสดงออกมาก็จะดี แต่ถา้
สังคมที่เขาอยูไ่ ม่ยอมรับเขาก็จะมีพฤติกรรมที่แสดงออกมามีปัญหา
◆ สาเหตุที่ทาให้เกิดปั ญหาสภาวะทางสังคม

◆ 1. มีอาชีพไม่เป็ นที่ยอมรับของสังคม

◆ 2. ปมด้อยด้านการศึกฆษา

◆ 3. ตาแหน่ งหน้าที่ต่าจนเกิดปมด้อย

◆ 4. ถูกอิทธิ พลครอบงา
เซลล์ที่ 7 อนาคต
Future
◆ หมายถึงผลรวมของเซลล์ที่ 1-6 หากพัฒนาได้ดว้ ยดี พฤติกรรมส่ วนใหญ่
ก็จะแสดงออกมาดีมุ่งทะยานไปในทางบวกคือ สร้างตนเอง ครอบครัว
สังคมที่ดี แต่ถา้ ผมรวมของเซลล์ท้ งั 6 ไม่ดี พฤติกรรมก็มกั จะผิดปกติมุ่ง
ทะยานไปในทางลบ
หลักการวิเคราะห์พฤติกรรม
◆ เมื่อทราบถึงสาเหตุของการเกิดพฤติกรรมแต่ละเซลล์ของทั้ง 7 เซลล์แล้ว
หลักการวิเคราะห์พฤติกรรมก็จะง่ายขึ้นโดยดาเนินตาม ขั้นตอนการ
วิเคราะห์พฤติกรรม ดังต่อไปนี้
ขั้นที่ 1
ทาความเข้าใจเซลล์ที่ 5
◆ คือสภาวะสมดุลทางจิตใจของผูท
้ ี่จะถูกวิเคราะห์ ว่าปกติหรือไม่ โดย
สังเกตจากพฤติกรรมโดยทัว่ ไปทั้งคาพูดและบุคลิกท่าทาง นอกจากนี้
อาจจะลองสนทนาพูดคุย จะนามาซึ่งคาตอบว่าเขามีสภาวะจิตใจเป็ น
ปกติหรื อไม่
ขั้นที่ 2
วิเคราะห์พฤติกรรมในสภาวะปัจจุบนั
◆ ให้สงั เกตและสนทนาเพื่อหาข้อมูลเพิ่มเติมโดยเน้นไปยังเซลล์ที่ 4
สภาวะสมดุลของสรี ระปัจจุบนั และเซลล์ที่ 6 สภาวะสมดุลทางสังคม
ปัจจุบนั
◆ การวิเคราะห์เซลล์ 4 และ 6 นี้ จะทาให้ได้ขอ
้ มูลชัดเจนยิง่ ขึ้น คนที่มี
ปัญหาส่ วนมากจะเกิดจากความไม่สมดุลทางสังคม(ครอบครัว โรงเรี ยน
หรื อที่ทางาน เพราะจริ งๆ แล้วสรี ระและสังคมมีผลกระทบมาสู่จิตใจ
ตารางการวิเคราะห์จากจิตใจไปสู่กายและสังคม
การพัฒนา ความสมดุล
DEVELOPM BALANCE
ENT
สรี ระ 1 4 ความทะเยอทะยาน พฤติกรรม
PHYSIO AMBITION BEHAVIOR
7
จิตใจ 2 5
อนาคต
PSYCHO
FUTURE
สังคม 3 6
SOCIO

อดีต ปัจจุบนั
PAST PRESENT
ขั้นที่ 3
วิเคราะห์พฤติกรรมลงสู่ สภาวะในอดีต
◆ ขั้นนี้ จะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อผ่านขั้นที่ 2 ไปแล้วเท่านั้น คนที่มีปัญหาบางคน
ยังไม่ได้สารวจสภาวะในอดีตก็พบปัญหาและพบต้นตอของปัญหาเพื่อ
แก้ไขได้แล้ว
่ าพัง วิเคราะห์เซลล์ที่ 4 และ 6 ก็
◆ เช่น รู ้สึกหงุดหงิด โกรธง่าย อยากอยูล
พบว่า ทางานมากนอนน้อย พักผ่อนไม่พอ
◆ ให้คาแนะนาเรื่ องการนอนควรนอนอย่างน้อย 6 ชัว่ โมงและต้องหลับลึก
จึงจะเพียงพอ ควรแบ่งงานที่รับผิดชอบให้พอดี เท่านั้นก็สามารถ
แก้ปัญหาได้
◆ แต่บางคนเมื่อวิเคราะห์ในระดับปั จจุบน
ั ยังไม่พบสาเหตุตอ้ งวิเคราะห์ลง
ไปถึงในอดีต ทั้งทางสรี ระและสังคมซึ่งมีผลกระทบมาสู่จิตใจ และถ้า
จิตใจไม่ดีกม็ ีผลกระทบย้อนกลับไปสู่กายและสังคมด้วย
ตารางการวิเคราะห์จากสรี ระและสังคมไปสู่จิตใจ
การพัฒนา ความสมดุล
DEVELOPM BALANCE
ENT
สรี ระ 1 4 ความทะเยอทะยาน พฤติกรรม
PHYSIO AMBITION BEHAVIOR
7
จิตใจ 2 5
อนาคต
PSYCHO
FUTURE
สังคม 3 6
SOCIO

อดีต ปัจจุบนั
PAST PRESENT
ขั้นที่ 4
วิเคราะห์พฤติกรรมปัจจุบนั ที่ได้รับอิทธิพลจากอดีต
◆ ขั้นนี้ จะเห็นทั้งอดีตและปั จจุบน
ั การวิเคราะห์ตอ้ งคานึงถึงการพัฒนาแต่
ละช่วงของสรี ระและสังคมตั้งแต่เล็กจนถึงปัจจุบนั ซึ่งมีผลกระทบมาสู่
จิตใจ ช่วงใดเข้มข้นรุ นแรงก็จะถูกพิมพ์ไว้ในความทรงจา
◆ ความเข้มข้นรุ นแรงอาจจะมีท้ งั บวกและลบ ถ้าเป็ นบวกก็จะทาให้เจ้าตัว
มีสุขภาพจิตดีมีความสุ ข แต่ถา้ เป็ นลบก็จะทาให้เจ้าตัวมีความทุกข์
สุ ขภาพจิตเสี ยส่ งผลมีอิทธิพลมาสู่จิตในปัจจุบนั
◆ เมื่อผูว้ ิเคราะห์ได้ขอ
้ มูลทั้งสามทางและวิเคราะห์ตามแนวทางดังกล่าว
แล้ว การเข้าใจพฤติกรรมของคนที่พบเห็นก็จะไม่ยากเกินไป
ตารางการเดินทางกลับของลูกศรไปสู่จิตใจในปัจจุบนั
การพัฒนา ความสมดุล
DEVELOPM BALANCE
ENT
สรี ระ 1 4 ความทะเยอทะยาน พฤติกรรม
PHYSIO AMBITION BEHAVIOR
7
จิตใจ 2 5
อนาคต
PSYCHO
FUTURE
สังคม 3 6
SOCIO

อดีต ปัจจุบนั
PAST PRESENT
ตัวอย่างการวิเคราะห์พฤติกรรม
◆ พนิ ดาเป็ นพนักงานธุ รการของบริ ษท
ั แห่งหนึ่ง จบการศึกษามัธยมตอน
ปลายเป็ นลูกคนโตของครอบครัวๆ หนึ่ง มีฐานะไม่ค่อยดี มีพนี่ อ้ งหลาย
คน พนิดาเป็ นคนรักเรี ยน เรี ยนหนังสื อเก่ง แต่เนื่องจากมีพนี่ อ้ งหลายคน
พ่อแม่จึงให้เธอออกจากโรงเรี ยนมาช่วยทางานหาเงินส่ งน้องเรียน
หนังสื อ พนิดาเป็ นคนทางานดีสะอาดเรี ยบร้อย พิมพ์ดีดได้เร็ วและ
ผิดพลาดน้อยมาก
◆ ต่อมาหัวหน้าได้ข่าวว่าพนิ ดาสอบเรี ยนต่อภาคค่าได้ที่วท ิ ยาลัยแห่งหนึ่ง
แต่พนิดาไม่ได้มาปรึ กษาหัวหน้าแต่อย่างใด อยูต่ ่อมาหัวหน้าพบว่า
พนิดาค่อนข้างเหม่อลอย พิมพ์หนังสื อผิดพลาดบ่อยครั้ง
◆ ถาม ถ้าท่านเป็ นหัวหน้าของพนิ ดา ท่านคิดว่าสาเหตุที่พนิ ดาเหม่อลอย
และพิมพ์งานผิดพลาดบ่อยครั้งนั้นเป็ นเพราะเหตุใด และท่านจะทา
อย่างไรเพื่อให้พนิดาทางานได้ดีเหมือนเดิม
ตอบโดยใช้ตารางวิเคราะห์พฤติกรรม
ตารางการเดินทางกลับของลูกศรไปสู่จิตใจในปัจจุบนั
การพัฒนา ความสมดุล
DEVELOPM BALANCE
ENT
สรี ระ 1 4 ความทะเยอทะยาน พฤติกรรม
PHYSIO AMBITION BEHAVIOR
7
จิตใจ 2 5
อนาคต
PSYCHO
FUTURE
สังคม 3 6
SOCIO

อดีต ปัจจุบนั
PAST PRESENT
หัวหน้าควรจะวิเคราะห์พฤติกรรมของพนิดาเสี ยก่อนด้วย
ตาราง 7 เซลล์ จากตารางพออธิ บายเป็ นข้อๆ เน้นขั้นตอน
การวิเคราะห์พฤติกรรมได้ดงั ต่อไปนี้
1. จากช่อง 5 ซึ่งเป็ นช่องแรกที่เจาะเข้าไปสู่การพิจารณาปัญหา พนิดา
อาจจะมีจิตใจที่ไม่สมดุลนัก ในเรื่ องการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการเข้า
เรี ยนต่อภาคค่า
2. ดูช่องที่ 4 พนิดาต้องไปเรี ยนต่อในภาคค่าอาจทาให้ตอ้ งนอนดึก จึงทา
ให้ร่างกายอ่อนเพลีย ง่วงนอนในเวลาทางานและเกิดการผิดพลาดใน
การทางาน
3. ดูช่องที่ 6 การที่พนิดาเรี ยนต่อภาคค่า อาจมีผลต่อเรื่ องการเงิน
ค่าใช้จ่ายฝื ดเคือง มีผลต่อครอบครัวและส่ วนตัวได้
4. ดูช่องที่ 3 ย้อนไปดูสังคมในอดีต เนื่องจากฐานะของครอบครัวไม่ดีตอ้ ง
พึ่งพนิดาในเรื่ องการเงิน เมื่อพนิดาเรี ยนต่อจึงอาจมีผลกระทบได้
5. ดูช่องที่ 2 เรื่ องจิตใจในอดีต อาจจะไม่สมบูรณ์นกั เพราะพนิดาอยากเรี ยน
ต่อ แต่ครอบครัวไม่สามารถสนับสนุนเธอได้ เธอจึงผิดหวังในเรื่องการ
เรี ยน จิตใจในอดีตจึงมีผลต่อจิตใจปัจจุบนั ด้วย
6. ดูช่องที่ 7 พนิดาอาจจะเป็ นคนมีความทะเยอทะยานสูงจึงได้อยากเรี ยนต่อ
จากการวิเคราะห์พฤติกรรมดังกล่าวมาพอสรุ ปได้วา่
◆ การสอบเรี ยนต่อภาคค่า มีผลต่อสุ ขภาพ เศรษฐกิจและครอบครัวของ
พนิดา ส่ งผลให้กระทบกระเทือนจิตใจของพนิดา ทาให้เกิดความวิตก
กังวล
◆ หัวหน้าควรที่จะได้ไต่ถามพนิ ดาด้วยความห่ วงใย ให้การปรึ กษาและ
สนับสนุนในเรื่ องการเรี ยนและการเงินถ้าเป็ นไปได้ เช่น การอนุมตั ิให้กู้
เงินสวัสดิการเพื่อใช้เป็ นทุนการศึกษา ให้มาทางานเช้าขึ้นและให้ออก
จากที่ทางานได้เร็ วขึ้น หรื ออาจจะลดงานบางอย่างลงเพื่อช่วยให้เธอมี
เวลาในการเรี ยนมากขึ้น พนิดาก็จะคลายกังวลและทางานได้ดว้ ยความ
สบายใจและกลับเป็ นพนิดาคนเดิม
ให้นกั ศึกษาวิเคราะห์กรณี ตวั อย่าง
◆ สลดม.4 กระโดดชั้น6 คาโรงเรี ยนดัง เขียนจดหมายระบาย ทางบ้านขัด
สน
◆ อ่านข่าวต่อได้ท:ี่
https://www.thairath.co.th/content/1
103439
◆ นศ.วิศวะเครี ยดสอบตก! ดิ่งตึกโรงหนังฆ่าตัวตาย

◆ อ่านข่าวต่อได้ท:ี่
https://www.thairath.co.th/content/9
49585#cxrecs_s
◆ ด.ช.11 ขวบผูกคอตายสลด หลังแฟนหลอกฆ่าตัวตาย

◆ อ่านข่าวต่อได้ท:ี่
https://www.thairath.co.th/content/9
08061#cxrecs_s
◆ ทอมวัย 19 ผิดหวังรัก ผูกคอดับคาบ้าน แม่เชื่อฆ่าตัวตายเพราะผูห
้ ญิง
◆ อ่านข่าวต่อได้ท:ี่
https://www.thairath.co.th/content/7
83006#cxrecs_s
◆ เปิ ดปูม นักสร้างพระดัง"เสี่ ยอู๊ด-สิ ทธิ กร บุญฉิ ม".... อ่านต่อได้ที่ :
https://www.posttoday.com/analysis
/report/397017
บทที่ 5
การควบคุมตนเอง(Self-Control)
◆ คือ การที่บุคคลเลือกพฤติกรรมเป้ าหมาย และกระบวนการที่จะนาไปสู่
เป้ าหมายนั้นได้ดว้ ยตนเอง
◆ การควบคุมตนเองถือว่าเป็ นเป้ าหมายที่สาคัญที่สุดของการปรับ
พฤติกรรม เพราะว่ามีปัญหามากมายจากการที่มีผอู ้ ื่นมาควบคุม
พฤติกรรม เนื่องจากผูอ้ ื่นไม่สามารถที่จะสังเกตพฤติกรรมของผูท้ ี่
ต้องการจะปรับพฤติกรรมหรื อถูกปรับพฤติกรรมได้ตลอดเวลา
ปั ญหาที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากการที่มีผอู ้ นื่ ควบคุมพฤติกรรม
◆ 1. นักปรับพฤติกรรม อาจจะไม่เห็นพฤติกรรมบางอย่างของบุคคลที่
ตนเองต้องการจะปรับพฤติกรรม โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในการดาเนินการ
ปรับพฤติกรรมเป็ นกลุ่มใหญ่ จึงเป็ นเหตุทาให้ไม่สามารถทีจ่ ะให้การ
เสริ มแรงหรื อการลงโทษได้ทนั ท่วงที ซึ่งอาจเป็ นผลทาให้การปรับ
พฤติกรรมนั้นไม่ได้ผลเท่าที่ควร
◆ 2. ในโปรแกรมการปรับพฤติกรรมทัว่ ไป นักปรับพฤติกรรมจะเปลี่ยน
คุณลักษณะของตนเองไปเป็ นสิ่ งเร้าที่แยกแยะได้(Discriminative
Stimulus) ต่อพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผูท้ ี่ถูกปรับพฤติกรรม เมื่อผูถ้ ูก
ปรับพฤติกรรมเห็นความสัมพันธ์ระหว่างนักปรับพฤติกรรมกับการ
เสริ มแรงและการลงโทษ ก็จะทาให้ผทู ้ ี่ถูกปรับพฤติกรรมแสดง
พฤติกรรมเป้ าหมายเมื่อนักปรับพฤติกรรมอยูใ่ นสถานการณ์น้นั เท่านั้น
เช่น
◆ ครู สมชายเสริ มสร้างพฤติกรรมการยกมือถามตอบของนักเรี ยนชั้น ม 4
ก. พฤตกรรมการยกมือถามตอบของนักเรี ยนชั้นนี้จะเกิดขึ้นเฉพาะใน
ชัว่ โมงที่ครู สมชายสอนเท่านั้น แต่จะไม่เกิดในชัว่ โมงทีค่ รู คนอื่นสอน
เลย
้ ี่ถูกปรับพฤติกรรมสามารถแยกแยะได้วา่ พฤติกรรมใดที่ตนเอง
◆ 3. เมื่อผูท
แสดงออกแล้วได้รับการเสริ มแรง ผูท้ ี่ถูกปรับพฤติกรรมจะเลือกแสดง
เฉพาะพฤติกรรมนั้นเท่านั้นและจะไม่พยายามที่จะแสดงพฤติกรรมที่พึง
ปรารถนาอื่นๆที่ไม่มีโอกาสจะได้รับการเสริ มแรงเลย
ู ้ ี่ถูกปรับพฤติกรรมได้มีส่วนร่ วมในการกาหนดพฤติกรรม
◆ 4. การที่ผท
เป้ าหมายและวางแผนในการพัฒนาพฤติกรรมเป้ าหมายของตนเอง จะทา
ให้ผทู ้ ี่ถูกปรับพฤติกรรมพัฒนาพฤติกรรมนั้นได้ดีกว่า การที่มีผอู ้ ื่นมา
เป็ นผูก้ าหนดพฤติกรรมเป้ าหมายและดาเนินการวางแผนพัฒนาพฤติกรม
นั้นให้
◆ นอกจากนี้ ยงั มีพฤติกรรมบางประเภทที่เรี ยนว่า พฤติกรรมภายใน
(Covert Behavior) เช่น ความกลัว ความวิตกกังวล ความคิด เป็ นต้นที่นกั
ปรับพฤติกรรมไม่สามารถสังเกตได้ จึงเป็ นปัญหาในการปรับพฤติกรรม
เหล่านี้ถา้ มีผอู ้ ื่นควบคุมพฤติกรรมให้
◆ นอกจากนี้ ผูท ้ ี่กาหนดตัวเสริ มแรงที่มีประสิ ทธิภาพในการเสริ มแรง
พฤติกรรมเป้ าหมายได้ดีที่สุดก็คือ ผูท้ ี่ถูกปรับพฤติกรรมนั้นเอง ดังนั้นจึง
อาจกล่าวได้วา่ วิธีการควบคุมพฤติกรรมตนเองเป็ นวิธีที่มปี ระสิ ทธิภาพ
มากที่สุด
ชีวติ ประจาวันกับการควบคุมตนเอง
◆ Skinner พบว่า คนเราใช้วธิ ี การต่างๆ เหล่านี้ในการควบคุมพฤติกรรมของตนเอง
ในชีวติ ประจาวัน
◆ 1. ใช้การยับยั้งทางกาย กัดริ มฝี ปาก ปิ ดตา หันไปมองที่อื่นๆ
◆ 2. เปลี่ยนเงื่อนไขสิ่ งเร้าหรื อสัญญาณต่างๆ ไปพักผ่อนตากอากาศเพื่อหลีกหนี การ
ทางานที่จาเจ โดดเรี ยนเพื่อหนีการโดนลงโทษ
◆ 3. ยุติการกระทาบางอย่าง งดอาหารเย็นเพื่อลดน้ าหนัก ไม่ไปเที่ยวเพื่อจะได้อ่าน
หนังสื อให้จบ หยุดสูบบุหรี่ หรื อดื่มสุ ราเพื่อจะได้มีสุขภาพดี
◆ 4. เปลี่ยนแปลงการแสดงออกทางอารมณ์ เห็นเจ้านายตกบันได จึงกลั้นอารมณ์ขน ั
◆ 5. ใช้เหตุการณ์ที่ไม่พึงพอใจในสภาพแวดล้อม ตั้งนาฬิกาปลุกเพื่อจะได้ไปทางาน
ได้ทนั
◆ 6. ใช้ยา แอลกอฮอล์หรื อสิ่ งกระตุน
้ ดื่มเหล้าเพื่อให้อารมณ์ครึ กครื้ น ดื่ม
กาแฟเพื่อจะได้ไม่ง่วงนอน
◆ 7. การให้การเสริ มแรงหรื อลงโทษตนเอง อ่านหนังสื อจบ 1 บทได้ดูทีวี
30 นาที ทาคะแนนสอบไม่ดีงดดูทีวี 1 เดือน
◆ 8. ทาสิ่ งอื่นแทนสิ่ งที่กาลังทาอยู่ การเปลี่ยนหัวเรื่ องที่กาลังคุยอยูเ่ พื่อ
หลีกเลี่ยงการถกเถียงที่จะเกิดขึ้น
การพัฒนาการควบคุมตนเอง
◆ การควบคุมตนเองนั้นถือว่าเป็ นกระบวนการหนึ่ งของการปรับ
พฤติกรรมนัน่ เอง
◆ การที่จะพัฒนาการควบคุมตนเองนั้นจะต้องอาศัยหลักของการเรี ยนรู ้
นัน่ คือจะต้องจัดประสบการณ์การควบคุมพฤติกรรมให้แก่ผทู ้ ี่ตอ้ งการจะ
ฝึ กการควบคุมตนเองเสี ยก่อน ซึ่งทาได้โดยการทาให้บุคคลนั้นมี
ประสบการณ์ในการถูกผูอ้ ื่นควบคุมก่อน จากนั้นจึงค่อยๆ ถอนการ
ควบคุมพฤติกรรมโดยผูอ้ ื่นออก และให้ผทู ้ ี่ถูกควบคุมพฤติกรรมนั้นมี
โอกาสที่จะควบคุมตนเองมากยิง่ ขึ้น โดยอยูภ่ ายใต้การดูแลของนักปรับ
พฤติกรรมระยะหนึ่ง จนกระทัง่ นักปรับพฤติกรรมมีความมัน่ ใจว่าผูท้ ี่
ต้องการควบคุมตนเอง สามารถที่จะปฏิบตั ิตามขั้นตอนได้อย่างถูกต้อง
และมีพลังจิตที่แข็งแกร่ งแล้ว จึงค่อยลดการดูแลลง
◆ นอกจากนี้ ในการที่จะฝึ กให้ผท
ู ้ ี่ตอ้ งการจะควบคุมพฤติกรรมของตนเอง
สามารถควบคุมพฤติกรรมของตนเองได้น้ นั อาจทาได้โดยการให้สงั เกต
จากตัวแบบ ซึ่งตัวแบบนั้นจะต้องแสดงถึงวิธีการกาหนดพฤติกรรม
เป้ าหมาย ตลอดจนเลือกตัวเสริ มแรงที่เหมาะสม การสังเกตจากตัวแบบ
จะทาให้พฒั นาการควบคุมตัวเองได้อย่างรวดเร็ ว
เทคนิคบางอย่างที่สามารถนามาใช้ในการควบคุมตนเอง
◆ 1. การควบคุมสิ่ งเร้า สิ่ งเร้าเป็ นสัญญาณให้บุคคลแสดงพฤติกรรมใน
สังคมปัจจุบนั พฤติกรรมที่เป็ นปัญหาจานวนมากถูกควบคุมด้วยสิ่ งเร้าที่
ไม่เหมาะสม อาจแบ่งออกได้เป็ น 3 ลักษณะด้วยกันคือ
◆ 1.1พฤติกรรมที่อยูภ ่ ายใต้การควบคุมของสิ่ งเร้าหลายๆ อย่างในหลายๆ
สถานการณ์ เช่น พฤติกรรมการสูบบุหรี่ จะเกิดขึ้นในสภาพการณ์ต่างๆ
ที่มีสิ่งเร้าต่างๆ กันเช่น ขณะตื่นนอนตอนเช้า ขณะดื่มกาแฟ ขณะพูดคุย
อยูก่ บั เพื่อน ขณะดื่มเหล้า ขณะอยูค่ นเดียว แสดงว่าพฤติกรรมการสูบ
บุหรี่ ได้รับสิ่ งเร้าจากหลายสิ่ งเร้าในหลายสถานการณ์ การควบคุม
พฤติกรรมประเภทนี้จะต้องรู ้สิ่งเร้าในสภาพการณ์ต่างๆ ให้หมด จากนั้น
จึงควบคุมสิ่ งเร้านั้นให้ได้ซ่ ึงจะทาให้พฤติกรรมการสูบบุหรี่ ไม่เกิดขึ้น
อีกเลย
◆ 1.2 พฤติกรรมบางพฤติกรรมไม่ได้ถูกควบคุมด้วยสิ่ งเร้าใดที่แน่ นอน
เช่น พฤติกรรมของนักเรี ยนที่มีปัญหาเกี่ยวกับการอ่านหนังสื อ เนื่องจาก
ไม่สามารถที่จะหาสถานที่ เวลา หรื อสัญญาณต่างๆ ที่เหมาะสมที่จะเป็ น
สิ่ งเร้าให้แสดงพฤติกรรมการอ่านหนังสื อได้ ในการที่จะควบคุม
พฤติกรรมเช่นนี้ จาเป็ นที่จะต้องมีการพัฒนาหรื อกาหนดสิ่งเร้าที่
แน่นอน เพื่อที่จะให้สญั ญาณในการแสดงพฤติกรรมนั้น ตัวอย่าง
การศึกษาของ Fox หน้า 150
◆ 1.3 พฤติกรรมบางพฤติกรรม ถูกควบคุมด้วยสิ่ งเร้าที่ไม่เหมาะสม เช่น
พฤติกรรมการรับประทานอาหาร ในการที่จะถอดถอนสิ่ งเร้าที่ควบคุม
พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม อาจทาได้หลายวิธีเช่น กรณี โฉมศรี ที่ตอ้ งการ
จะหยุดรับประทานขนมหวาน แต่วา่ ทุกวันโฉมศรี เดินกลับบ้านจะต้อง
ผ่านร้านขนม และเมือเห็นขนมก็ตอ้ งหยุดซื้อทุกครั้งไป การซื้อขนม
เท่ากับว่าโฉมศรี จะต้องรับประทานขนม ดังนั้นโฉมศรี จะต้องหยุดการ
ซื้อขนม โดยการทาให้ขนมนั้นเป็ นสิ่ งเร้าที่ไม่มีประสิทธิภาพในการเร้า
ให้โฉมศรี แสดงพฤติกรรมการซื้อขนมซึ่งอาจทาได้ดงั ต่อไปนี้
◆ ระยะที่ 1 ให้เดินผ่านในขณะที่ร้านนี้ ปิดแล้ว เพื่อที่วา่ จะได้ไม่ตอ
้ งเห็น
ขนม(สิ่ งเร้า)
◆ ระยะที่ 2 ให้เดินผ่านร้านขนมในขณะที่ร้านยังเปิ ดอยูแ่ ต่ให้เดินให้เร็ ว
ที่สุด โดยไม่ให้มองเข้าไปในร้านและให้เดินผ่านเลยไป
◆ ระยะที่ 3 ให้ทานอาหารมาให้อิ่ม จากนั้นจึงให้เดินผ่านร้านและให้หยุด
มองดูขนม โดยไม่ให้เข้าไปซื้อ ให้ทาเช่นนี้เรื่ อยๆ จนกระทัง่ ขนมนั้นไม่
สามารถที่จะเร้าให้เกิดพฤติกรรมการซื้ออีกต่อไป
◆ ในขณะดาเนิ นการแต่ละขั้นตอนนั้น จะต้องค่อยๆ ทาและจะไม่ขา้ มขั้น
จนกว่าจะแน่ใจว่าสามารถแสดงพฤติกรรมในแต่ละขั้นได้แล้วดัวยความ
สบายใจ
◆ 2. การสังเกตตนเอง(Self-Observation)

◆ การสังเกตตนเองจะช่วยให้คนเรานั้นสามารถควบคุมตนเองได้ เนือ
่ งจาก
คนเราจะมีเป้ าหมายในการกระทาสิ่ งต่างๆ และเมื่อพบว่าตนเองนั้นไม่
สามารถทาได้ตามที่คาดหวังไว้ ก็จะต้องพยายามปรับตนเองเพือ่ ให้ไปสู่
เป้ าหมายนั้น ซึ่งการกระทาเช่นนี้เท่ากับว่าคนเราได้เกิดการควบคุม
ตนเองแล้ว
◆ เช่นการที่เรารู ้วา่ ตนเองน้ าหนักเพิ่มมากผิดปกติ ก็จะต้องพยายามลด
น้ าหนัก โดยการรับประทานอาหารให้นอ้ ยลงหรื อออกกาลังให้มากขึ้น
◆ ผลที่ได้จากการสังเกตพฤติกรรมนั้น จะกลับกลายมาเป็ นตัวเสริ มแรง
และตัวลงโทษ พฤติกรรมที่กาลังกระทาอยูใ่ นขณะนั้นด้วย เช่น การสูบ
บุหรี่ การบันทึกจานวนมวนบุหรี่ ที่สูบแต่ละวันในขณะทีเ่ ขาต้องการจะ
หยุดสูบบุหรี่ จะเป็ นข้อมูลที่เป็ นการลงโทษ หรื อการบันทึกจานวน
ชัว่ โมงที่อ่านหนังสื อในแต่ละวันจะกลายเป็ นตัวเสริ มแรงต่อพฤติกรรม
การอ่านหนังสื อนั้นทันทีที่อ่านได้ตามเป้ าหมายที่กาหนด
◆ 3. การควบคุมการเสริ มแรงและการลงโทษตนเอง พฤติกรรมของคนเรา
ในสังคมอาจจะมองได้ใน 2 ลักษณะคือ
◆ ก. พฤติกรรมที่แสดงออกในขณะนั้นแล้วได้รับการเสริ มแรงทันที
จากนั้นจึงค่อยตามมาด้วยการลงโทษ เช่นรับประทานอาหาร ได้รบั การ
เสริ มแรงทันทีคือความเอร็ ดอร่ อย แต่ถา้ รับประทานมากเกินไปอาจปวด
ท้องตามมาได้ ซึ่งในกรณี เช่นนี้ คนเราจะต้องเรี ยนรู ้ที่จะควบคุมตัว
เสริ มแรงอันนั้น เพื่อมิให้เกิดผลที่เป็ นโทษตามมา
◆ ข. พฤติกรรมที่แสดงออกในขณะนั้นแล้วได้รับการลงโทษจากนั้นจึง
ค่อยตามด้วยแรงเสริ ม พฤติกรรมเช่นนี้ เป็ นพฤติกรรมของวีรบุรุษที่
พยายามต่อสูก้ บั ปัญหาอุปสรรคต่างๆ (การลงโทษ)และต่อมาจึงได้รับ
การยอมรับ(การเสริ มแรง)
◆ อย่างไรก็ตามพฤติกรรมของคนส่ วนใหญ่มก ั จะแสดงในลักษณะ ก. เป็ น
หลัก คือ การที่แสดงพฤติกรรมแล้วได้รับแรงเสริ มทันที โดยไม่คานึงถึง
การลงโทษที่จะตามมา ดังนั้นคนเราจึงควรที่จะเรี ยนรู ้ที่จะควบคุมตนเอง
เพื่อที่วา่ จะได้รับแต่การเสริ มแรงและสามารถหลีกเลี่ยงการลงโทษได้
◆ การเสริ มแรงตนเองนั้น นับว่าเป็ นวิธีที่มีประสิ ทธิ ภาพเป็ นอย่างมาก เนื่องจากว่า
ก่อนที่จะให้แรงเสริ มนั้น จะต้องรู ้เสี ยก่อนว่าตนกาลังทาพฤติกรรมที่สมควรจะ
ได้รับการเสริ มแรงอยู่ ซึ่ งการที่จะรู ้ได้น้ นั จะต้องมีการสังเกตและบันทึกพฤติกรรม
ของตนเองเท่ากับว่าเป็ นการใช้วธิ ี การสังเกตตนเองควบคู่ไปด้วยเลย
◆ การเสริ มแรงตนเองนั้นอาจก่อให้เกิดปั ญหาการลัดวงจรของการควบคุมพฤติกรรม
ได้ อันเป็ นผลเนื่องมาจากกาลังจิตนั้นไม่แข็งพอจะต้านทานสิ่ งเร้า ที่อาจจะนาแรง
เสริ มอย่างอ่อนๆ มาให้ได้ทนั ที เช่น บอกตนเองว่าจะตัดหญ้าหน้าบ้าน แล้วจึงมา
ดื่มเบียร์ แต่ขณะที่ตดั หญ้าบอกตัวเองว่าอากาศร้อนขอดื่มเบียร์ กอ่ นดีกว่า ก็จะทา
ให้ยตุ ิพฤติกรรมการตัดหญ้า แต่จะมาดื่มเบียร์ แทน
◆ สรุ ปการลัดวงจรของการควบคุมตนเองคือการที่เราให้การเสริ มแรงตนเองก่อนที่
จะทางานสาเร็ จตามเป้ าหมายที่กาหนดไว้ ทาให้เราหมดแรงจูงใจที่จะทาภารกิจนั้น
ต่อจนสาเร็ จตามเป้ าหมาย
รู ปแบบรายงาน
1.ทบทวนตนเอง
2. สร้างแรงจูงใจ(แรงจูงใจเชิงบวก เชิงลบ)
3. กาหนดแผนการเปลี่ยนแปลง
3.1 ตั้งเป้ าหมาย เชิงผลลัพธ์และ เชิงพฤติกรรม
3.2 ตารางบันทึกพฤติกรรม
3.3 จัดสภาพแวดล้อม
3.4 หาคนช่วย
3.5 เติมความรู้และทักษะที่จาเป็ น
3.6 เลือกคาพูดสร้างพลังการเปลี่ยนแปลง
3.7 ให้รางวัลตนเอง
3.8 การควบคุมตนเอง
3.9 สรุ ปผลการดาเนินการ
ตัวอย่างโปรแกรมการปรับพฤติกรรมการลดน้ าหนัก
◆ ขั้นที่ 1 ทบทวนตนเอง
◆ ปั จจุบน
ั พบว่าต้องเปลี่ยนเสื้ อผ้าบ่อยๆ เนื่องจากน้ าหนักเพิ่มขึ้น
นอกจากนี้ยงั รู ้สึกว่าเหนื่อยง่าย จึงเกิดความกลัวว่าจะมีปัญหาสุ ขภาพใน
อนาคต ซึ่งคงทาให้ไม่มีความสุ ขในการดาเนินชีวิตหลังเกษียณ จึง
ตัดสิ นใจที่จะลดน้ าหนักอย่างจริ งจัง จาการสารวจตนเองพบว่า
รับประทานอาหารเยอะ ชอบทานอาหารรสหวาน ของทอดและเนื้อสัตว์
ทานผักและผลไม้นอ้ ย รับประทานอาหารมื้อเย็นเยอะ
◆ ขั้นที่ 2
สร้างแรงจูงใจ
◆ แรงจูงใจทางบวก อยากมีสุขภาพดี รู ปร่ างดี มีความสุ ขเป็ นทีย่ อมรับของ
คนรอบตัวว่าเราสามารถเปลี่ยนแปลงตนเองได้
◆ แรงจูงใจทางลบ กลัวอันตรายจากโรคภัยไข้เจ็บและได้รับความทุกข์
ทรมาน
◆ ขั้นที่ 3 กาหนดแผนการเปลี่ยนแปลง

◆ 3.1 ตั้งเป้ าหมาย

◆ เป้ าหมายเชิงผลลัพธ์ลดน้ าหนัก 10 กิโลกรัม


◆ เป้ าหมายเชิงพฤติกรรม งดกินแป้ ง และอาหารที่มีน้ ามันมาก กินผักและ
ผลมาก
แผนการดาเนินการสัปดาห์ที่ 1-4 เดือนที่ 1
วัน เช้ า กลางวัน เย็น นา้ หนัก กก
จันทร์ ข้าว ผัก ผลไม้ ข้าว ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้ 88
อังคาร ข้าว ผัก ผลไม้ ข้าว ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้
พุธ ข้าว ผัก ผลไม้ ข้าว ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้
พฤหัส ข้าว ผัก ผลไม้ ข้าว ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้
ศุกร์ ข้าว ผัก ผลไม้ ข้าว ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้
เสาร์ ข้าว ผัก ผลไม้ ข้าว ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้
อาทิตย์ ข้าว ผัก ผลไม้ ข้าว ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้
แผนการดาเนินการสัปดาห์ที่ 1-4 เดือนที่ 2
วัน เช้ า กลางวัน เย็น นา้ หนัก กก
จันทร์ ข้าว ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้ 83
อังคาร ข้าว ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้
พุธ ข้าว ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้
พฤหัส ข้าว ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้
ศุกร์ ข้าว ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้
เสาร์ ข้าว ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้
อาทิตย์ ข้าว ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้
แผนการดาเนินการสัปดาห์ที่ 1-4 เดือนที่ 3
วัน เช้ า กลางวัน เย็น นา้ หนัก กก
จันทร์ ข้าว ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้ 78
อังคาร ข้าว ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้
พุธ ข้าว ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้
พฤหัส ข้าว ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้
ศุกร์ ข้าว ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้
เสาร์ ข้าว ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้
อาทิตย์ ข้าว ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้
แผนการดาเนินการสัปดาห์ที่ 1-4 เดือนที่ 4
วัน เช้ า กลางวัน เย็น นา้ หนัก กก
จันทร์ ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้ 73
อังคาร ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้
พุธ ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้
พฤหัส ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้
ศุกร์ ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้
เสาร์ ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้
อาทิตย์ ข้าว ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้ ผัก ผลไม้
ตารางบันทึกน้ าหนัก
สั ปดาห์ ที่ นา้ หนัก
1 88
2 86
3 85
4 84
5 83
6 82
7 81
ตารางบันทึกน้ าหนัก
สั ปดาห์ ที่ นา้ หนัก
8 80
9 79
10 78
11 77
12 76
13 75
14 74
◆ 3.3 จัดสภาพแวดล้อม

◆ หาที่ชงั่ น้ าหนักมาไว้ที่บา้ น และจัดให้สะดวกในการใช้งานทุกวัน

◆ ซื้ อผักมาเก็บไว้ในตูเ้ ย็นเพื่อสะดวกในการใช้ประกอบอาหารทุกวัน ซื้ อ


ผลไม้มาเก็บไว้ในตูเ้ ย็นและวางไว้ให้สะดวกในการรับประทานทีโ่ ต๊ะ
อาหาร รวมทั้งเตรี ยมไว้ปั่นรับประทานทุกเย็น
◆ ซื้ อรองเท้าและชุดกีฬา เก็บไว้ในรถยนต์ตลอดเวลาเพื่อความสะดวกใน
การใช้งานได้ทนั ทีเมื่ออยากออกกาลังกาย
◆ ไม่ซ้ื ออาหารไขมันสู งและขนมหวานเข้ามาเก็บไว้ที่บา้ น

◆ ซื้ อกระทะ ทาอาหารที่ไม่ตอ ้ งใส่ น้ ามัน


◆ 3.4 หาคนช่วย

◆ แจ้งให้คนที่บา้ นทราบว่าเราจะคุมอาหารเพื่อลดน้ าหนัก

◆ ขอความร่ วมมือทาอาหารไขมันต่า

◆ มีผกั ประกอบอาหารทุกมื้อ ผัดผักไม่ใส่ น้ ามันหรื อใส่ ให้นอ


้ ยที่สุด
3.5 เติมความรู ้และทักษะที่จาเป็ น
◆ หาความรู ้เกี่ยวกับอาหารที่ทานสาหรับลดน้ าหนัก

◆ หาความรู ้เกี่ยวกับปริ มาณพลังงานจากอาหารและเครื่ องดื่มแต่ละชนิ ด

◆ หาความรู ้เกี่ยวกับการคานวณค่า BMI เพื่อใช้เป็ นเกณฑ์ในการหา


น้ าหนักที่เหมาะสม
3.6 เลือกคาพูดสร้างพลังการเปลี่ยนแปลง
◆ เราต้องทาได้
3.7 ให้รางวัลตนเอง
ถ้าทาได้ตามเป้ าหมายให้ไอศกรี ม 1 อัน
กล่าวชมตนเองว่า เราทาได้
นอกจากให้รางวัลตนเองแล้ว ยังได้รับรางวัลจากคนรอบตัวเช่นเพื่อนและ
บุคคลที่รู้จกั ชมว่ารู ปร่ างและสุ ขภาพของเราดีข้ ึน ซึ่งการชมจากคนอื่นทา
ให้เรายิง่ มีกาลังใจมากยิง่ ขึ้นในการลดน้ าหนัก
3.8 การควบคุมตนเอง
◆ ใช้การควบคุมสิ่ งเร้า หลีกเลี่ยงอาหารไขมันสู ง และพยายามหาอาหาร
ประเภทผักผลไม้มาไว้ที่บา้ น เตรี ยมเสื้ อผ้าและรองเท้าสาหรับออกกาลัง
กายได้ตลอดเวลาเมื่อมีเวลาว่าง
◆ การสังเกตตนเอง ชัง่ น้ าหนักทุกวัน เมื่อเห็นว่าทาได้ตามเป้ าหมายก็ใช้
ความภาคภูมิใจเป็ นการเสริ มแรงตนเอง
◆ ควบคุมการเสริ มแรงและการลงโทษตนเอง เมื่อต้องไปงานเลี้ยงต่างๆ ที่
มีอาหารอร่ อย จะควบคุมการเสริ มแรงโดยการรับประทานอาหารแต่
น้อย ถ้ารับประทานมากก็จะออกกาลังกายเพิ่มขึ้น
3.9 สรุ ปผลการดาเนินการ
สรุ ปโดยใช้กราฟดังต่อไปนี้
◆ จากกราฟสรุ ปได้วา่ หลังจากเข้าสู่ โปรแกรมปรับพฤติกรรมน้ าหนัก
ลดลงตามลาดับประมาณสัปดาห์ที่ 6 น้ าหนักลดลงจาก 88 กิโลกรัม
เหลือ 78 กิโลกรัมตามเป้ าหมายเชิงผลลัพธ์ที่กาหนดไว้ นอกจากนั้น
เมื่อยังคงปฏิบตั ิตวั ตามโปรแกรมที่กาหนดไว้ต่อไปอีกพบว่าน้ าหนัก
ยังคงลดลงประมาณสัปดาห์ที่ 14 น้ าหนักลดลงเหลือ 74 กิโลกรัม
แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมดังกล่าวมีประสิ ทธิภาพมากกว่าที่กาหนดไว้
◆ Surapong.chu@kmutt.ac.th

You might also like