You are on page 1of 72

2/10/2014

กิตติพงษ์ วีระโพธิป ิ ธิ์


์ ระสท

บทที่ 4 การต่อลงดิน(Grounding)
มาตรฐานการติดตงทางไฟฟ
ั้ ํ หร ับประเทศไทย พ.ศ. 2556
้ าสา

(กิตติพงษ์ วีระโพธิประสิ
์ ทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 )
1

ประว ัติ นายกิตติพงษ์ วีระโพธิป ิ ธิ์


์ ระสท

การศึกษา
• ป. ตรี วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า (KMITT)
• ป. โท การจัดการภาครัฐและเอกชน (NIDA)
• Graduate Level programs in Power Engineering in Electrical Power Distribution ;Pennsylvania State
University
ที่ทํางาน ผู้ตรวจการ 11 การไฟฟ้านครหลวง
ประสบการณ์ทํางาน
• คณะอนุกรรมการและผู้ชํานาญพิเศษในการทดสอบความรู้ความชํานาญผู้ประกอบวิชาชีพ ระดับภาคีพิเศษ สามัญ
วิศวกร และวุฒิวิศวกร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ของสภาวิศวกร(2547-ปัจจุบัน)
• คณะกรรมการสาขาไฟฟ้าและคณะอนุกรรมการร่างมาตรฐาน ของ ว.ส.ท.( ตั้งแต่ ปี 2537- ถึงปัจจุบัน)
• วิทยากรบรรยายเรื่อง “มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสําหรับประเทศไทยและการออกแบบระบบไฟฟ้า” ของ ว.ส.ท
(ตั้งแต่ปี 2544-ปัจจุบัน)
• ประธานสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) ประจําปี พ.ศ. 2557 -
2559
(กิตติพงษ์ วีระโพธิประสิ
์ ทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 )
2

1
2/10/2014

บทที่ 1 นิยามและข้อกําหนดทว่ ั ไป 3
บทที่ 2 มาตรฐานสายไฟฟ้าและบริภ ัณฑ์ไฟฟ้า
บทที่ 3 ต ัวนําประธาน สายป้อน วงจรย่อย เป็นมาตรฐานหล ักสําหร ับ
บทที่ 4 การต่อลงดิน งานออกแบบและงาน
ติดตงทางไฟฟ
ั้ ้า
บทที่ 5 การเดินสายและว ัสดุ

บทที่ 6 บริภ ัณฑ์ไฟฟ้า

บทที่ 7 บริเวณอ ันตราย

บทที่ 8 สถานทีเ่ ฉพาะ

บทที่ 9 อาคารชุด อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่พเิ ศษ ใชเ้ ป็นมาตรฐานเสริมสา ํ หร ับงาน


บทที่ 10 บริภ ัณฑ์เฉพาะงาน ออกแบบและงานติดตงทางไฟฟ
ั้ ้ าที่
เพิม
่ เติมจากบทที่ 1 ถึง 6
บทที่ 11 มาตรฐานการทนไฟของสายไฟฟ้า

บทที่ 12 วงจรไฟฟ้าช่วยชีวต

บทที่ 13 อาคารเพือ
่ การสาธารณะใต้ผวิ ดิน

บทที่ 14 การติดตงไฟฟ
ั้ ้ าชว่ ั คราว
EIT Standard 2556

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 )

บทที่ 4 การต่อลงดิน

4.1 วงจรและระบบไฟฟ้าทีต
่ อ
้ งต่อลงดิน

4.2 วงจรและระบบไฟฟ้าทีห
่ า้ มต่อลงดิน

4.3 การต่อลงดินของหม้อแปลงไฟฟ้า

4.3 การต่อลงดินของระบบประธาน

4.4 การต่อฝากของระบบประธานแรงตํา

4.5 ขนาดสายดินของบริภ ัณฑ์ไฟฟ้า

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 4

2
2/10/2014

มาตรฐานการต่อลงดิน

 ว.ส.ท. 2001-51 บทที่ 4 “ การต่อลงดิน ”

 NEC Article 250 “ Grounding ”


 IEC 60364-5-54 “ Earthing Arrangement
and Protective Conductors ”

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 5

การต่อลงดินหมายถึง ????
การต่อลงดิน คือ......
“การนําตัวนําในวงจรบางส่วนต่อลงดินที่พื้นโลก
(EARTH) หรือต่อเข้ากับจุดต่อลงดิน ซึ่งทําเพื่อใช้
อ้างอิงเป็ นจุดต่อลงดินของระบบไฟฟ้า”
ตัวอย่างการต่อลงดิน
“ของระบบป้องกันฟ้าผ่า ของระบบไฟฟ้า ของเสาส่งไฟฟ้ า
ที่หม้อแปลงไฟฟ้ า ของระบบคอมพิวเตอร์ และการต่อลง
ดินของระบบไฟฟ้าแรงตํา่ ในอาคาร”
(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 6

3
2/10/2014

การต่อลงดินของระบบต่างๆ
• การต่อลงดินทีส
่ ถานีไฟฟ้ าย่อย
• การต่อลงดินทีเ่ สาสง่ ไฟฟ้ า
• การต่อลงดินทีห
่ ม ้อแปลงไฟฟ้ า
• การต่อลงดินของระบบป้ องกันฟ้ าผ่า
• การต่อลงดินของระบบคอมพิวเตอร์
•การต่อลงดินของระบบไฟฟ้ าแรงตํา่ ใน
อาคาร

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 7

จุดประสงค์ของการต่อลงดิน

1) เพือ
่ ความปลอดภัย

2) เพือ
่ ให้ระบบไฟฟ้ามีคุณภาพ

3) เพือ
่ ให้อุปกรณป
์ ้ องกันทํางานเมือ
่ เกิด
ลัดวงจรลงดิน

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 8

4
2/10/2014

อันตรายจากไฟฟ้ า

อันตรายจากไฟฟ้ า...แบ่งเป็ น

ไฟฟ้าดูด
(เป็นอ ันตรายต่อบุคคล)

• สัมผัสโดยตรง(Direct contact)

• สัมผัสโดยอ ้อม(Indirect contact)

ไฟฟ้าล ัดวงจร
ิ )
(เป็นอ ันตรายต่อบุคคลและทร ัพย์สน

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 9

การต่
1. อลงดิ
กรณี ี นายดิ
ไม่มส เพือ
่ ต่
น ความปลอดภ
อทีอ
่ ป
ุ กรณ์ ัย
เพือ
่ ให้อป
ุ กรณ์ป้องก ันทํางานอย่างถูกต้อง

กรณีอป
ุ กรณ์ไม่ตอ
่ ลงดิน จะเกิดอันตรายต่อ
บุคคลกรณีเกิดไฟรั่ว

10
(กิ ตติ พงษ์ วีระโพธิ์ ประสิ ทธิ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 )

5
2/10/2014

การต่อลงดินเพือ
่ คุณภาพไฟฟ้าทีด
่ ี
การต่อลงดินระบบแรงตํา่ (N ลงดิน)
เพือ
่ ลดแรงด ันเกิน,แรงด ันตกกรณีโหลดไม่สมดุลย์

11
(กิ ตติ พงษ์ วีระโพธิ์ ประสิ ทธิ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 )

ั ผัสสว่ นทีม
การป้ องกันการสม ่ ไี ฟฟ้ า

สัมผัสโดยตรง สัมผัสโดยอ้ อม
 หุ ้มฉนวนสว่ นทีม
่ ไี ฟฟ้ า  การต่อลงดินและมีเครือ
่ งปลด

 ทีก
่ น ่ ู้
ั ้ หรือใสต วงจรอัตโนมัต ิ

 มีสงิ่ กีดขวางหรือทํารัว้ กัน


้  เครือ ้
่ งใชไฟฟ้ ั้
าชนิดฉนวน 2 ชน

 ติดตัง้ อยูใ่ นระยะทีเ่ อือ


้ มไม่ถงึ  ้
ใชแรงดั นตํา่ พิเศษ ( ≤ 50 V)

 ใชอุ้ ปกรณ์ป้องกันภัยสว่ นบุคคล  ป้ องกันเสริมด ้วยเครือ


่ งตัดไฟรั่ว

(PPE)

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 12

6
2/10/2014

ั ผัสสว่ นทีม
การป้ องกันการสม ่ ไี ฟฟ้ า

ติดตัง้ อยู่ในระยะที่
IP2X or IPXXB
เอือ้ มไม่ ถงึ
่ ไี ฟฟ้ าที่กัน
หุ ้มฉนวนส่วนทีม ้ หรื อใส่ ต้ ู
(insulation)

+ การต่อลงดินและมีเครือ
่ งปลด
< 50V วงจรอัตโนมัต ิ
+ ป้ องกันเสริมด ้วยเครือ
่ งตัดไฟรั่ว
ใช้ แรงดันตํ่าพิเศษ
(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 13

เครือ
่ งห่อหุ ้มหรือทีล
่ ้อม(Enclosure)
มีรวั ้ กัน้

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 14

7
2/10/2014

ใชอุ้ ปกรณ์ป้องกันภัยสว่ นบุคคล

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 15

บทที่ 4 การต่อลงดิน
4.1 วงจรและระบบไฟฟ้าทีต
่ อ
้ งต่อลงดิน

4.2 วงจรและระบบไฟฟ้าทีห
่ า้ มต่อลงดิน

4.3 การต่อลงดินของหม้อแปลงไฟฟ้า

4.4 การต่อลงดินของระบบประธาน

4.5 การต่อฝากของระบบประธานแรงตํา

4.6 ขนาดสายดินของบริภ ัณฑ์ไฟฟ้า

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 16

8
2/10/2014

4.1 วงจรและระบบไฟฟ้ากระแสสล ับทีต


่ อ
้ งต่อลงดิน
(Grounding Service-Supplied AC. Systems

 วงจรและระบบไฟฟ้ากระแสสลับตามทีก่ าํ หนดไว้ในข้อ 4.1.1 ถึง


4.1.2 ต้องต่อลงดิน
 ส่วนวงจรและระบบอื่นนอกจากนี้อาจต่อลงดินก็ได้

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 17

ทําไมต ้องต่อระบบไฟฟ้ าลงดิน ??


( System Grounding )

1) จํากัดแรงดันเกิน เนือ
่ งจาก.....
 ฟ้ าผ่า (Lightning)
 เสริ จ
์ ในสาย (Line Surge)
 สายแรงตํา่ สมั ผัสกับสายแรงสูงโดยบังเอิญ (Accidental
Touching)

2) ทําให ้แรงดันเทียบกับดินมีเสถียรภาพ

3) เครือ
่ งป้ องกันกระแสเกิน(Ground fault) ทํางานได ้
รวดเร็วขึน

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 18

9
2/10/2014

พืน้ ฐานการต่อลงดิน

การต่อลงดินในทางไฟฟ้ าแยกออกเป็ น
• 1.การต่อลงดินของอุปกรณ์ ไฟฟ้ า (EQIUPMENT
GROUNDING)
• 2. การต่อลงดินของระบบไฟฟ้ า (SYSTEM
GROUNDING)
• 3. การต่อลงดินของระบบป้ องกันฟ้ าผ่า (LIGHTNING
PROTECTION GROUNDING)
(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 19

พืน้ ฐานการต่อลงดิน

1. การต่อลงดิ นของอุปกรณ์ไฟฟ้ า(EQUIPMENT GROUNDING)


• อุปกรณ์ไฟฟ้ าที่มีเปลือกนอกเป็ นโลหะซึ่งอาจมีแรงดันไฟฟ้ าได้ (เกิ ดจากการ
่ อจากการเหนี่ ยวนํา) ต้องต่อลงดิ นเพื่อเพิ่ มความปลอดภัยต่อบุคคล
รัวหรื
และให้อปุ กรณ์ป้องกันทํางานได้อย่างถูกต้อง

2. การต่อลงดิ นของระบบไฟฟ้ า(SYSTEM GROUNDING)


• คือการนําสาย NEUTRAL ลงดิ น เพื่อทําให้อปุ กรณ์ป้องกันทํางานได้ตาม
วัตถุประสงค์ กรณี เกิ ด single line to ground fault และลดแรงดันเกิ นหรือ
แรงดันตกกรณี โหลดไม่สมดุล

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 20

10
2/10/2014

พืน
้ ฐานการต่อลงดิน
กรณีไม่มส ี ายดินต่อทีอ
่ ป
ุ กรณ์
คนจะไม่ปลอดภ ัยกรณีเกิด
G ไฟฟ้ารว่ ั และอุปกรณ์ป้องก ัน
N อาจไม่ทํางาน

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 21

้ ฐานการต่อลงดิน
พืน
กรณีมก ี ารต่อหลักดินทีอ
่ ป
ุ กรณ์ อาจ
G เกิดอันตรายต่อบุคคลกรณีเกิดไฟรั่ว
โดยเฉพาะกรณี R ดินมีคา่ สูง
N

คตท.(R) ดินอาจสูง

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 22

11
2/10/2014

พืน้ ฐานการต่อลงดิน
กรณีใชส ้ ายนิวทร ัลเป็นสายดิน
หากสาย N ขาด อาจเกิดอันตรายต่อ
G บุคคล เพราะทีเ่ ปลือกอุปกรณ์จะมี
N แรงดัน

ดังนัน ้
้ จึงห ้ามใชสาย N แทนสายดิน

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 23

พืน
้ ฐานการต่อลงดิน
การต่อลงดินตามมาตรฐาน วสท. คน
ปลอดภ ัย เพราะอุปกรณ์ถก ู ต่อลงดิน จึง
G ไม่เกิดอ ันตรายต่อบุคคลกรณีเกิดไฟรว่ ั
และอุปกรณ์ป้องก ันทํางาน
N

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 24

12
2/10/2014

้ ฐานการต่อลงดิน
พืน

คนจะปลอดภ ัยและทร ัพย์สน ิ ไม่


G
เสยี หาย!!
N อุปกรณ์ป้องก ันกระแสเกิน
ต้องทํางาน !

ถ้ามี RCD เสริม คนจะปลอดภ ัย


เพราะอุปกรณ์ป้องก ันทํางานขณะไฟ
ดูดหรือรว่ ั

สงิ่ สําค ัญ... การต่อสายดินทีแ


่ ผนเมนสวิตช ์ ต้องถูกต้อง!!
มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 25

4.1 วงจรและระบบไฟฟ้ากระแสสล ับ
ทีต
่ อ
้ งต่อลงดิน

ข้อ 4.1.1 ระบบไฟฟ้าทีม ่ แ


ี รงด ันไฟฟ้าเกิน 50
โวลต์ แต่ไม่เกิน 1,000 โวลต์ ต ้องต่อลงดินเมือ ่ มี
สภาพตามข ้อใดข ้อหนึง่ ดังต่อไปนี้
• ก) เป็ นระบบ 1 เฟส 2 สาย
• ข) เป็ นระบบ 1 เฟส 3 สาย
• ค) เป็ นระบบ 3 เฟส 3 สาย
• ง) เป็ นระบบ 3 เฟส 4 สาย

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 26

13
2/10/2014

4.1 วงจรและระบบไฟฟ้ ากระแสสลับ

วงจรและระบบไฟฟ้ ากระแสสลับทีต ่ ้องต่อลงดิน


แบ่งออกเป็ น 2 กลุม ่ คือ
1. ระบบไฟฟ้ าทีม่ แี รงดันตัง้ แต่ ≥ 50 และ < 1000 V
2. ระบบไฟฟ้ าทีม ่ แี รงดัน ≥ 1000 V ขึน ้ ไป

3 เฟส 4 สาย 3 เฟส 3 สาย 1 เฟส 3 สาย 1 เฟส 2 สาย

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 27

ระบบการต่อลงดินในประเทศไทย

ขวั้ N และ G ของบริภ ัณฑ์ประธาน


สายนิวทร ัล(N) ของหม้อแปลงใน (MDB) มาตรฐาน กําหนดให้ถก ู
จําหน่ายแรงตํา่ ของ กฟน. และ ต่อลงดิน
กฟภ. เป็นสายทีถ ่ ก
ู ต่อลงดิน (ตามทีม ่ าตรฐาน วสท. บทที่ 4)

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 28

14
2/10/2014

การต่อลงดินทีห
่ ม ้อแปลงจําหน่ายไฟฟ้ าแรงกลาง
12 kV หรือ 24 kV 3 เฟส 3 สาย ของ กฟน.

24kV

24kV 24kV

24kV

ทีข
่ วสายนิ
ั้ วทร ัล(N) ของหม้อแปลงในจําหน่ายแรงกลางของ กฟน.
จะถูกต่อลงดินโดยตรง( Solidly Grounded System)

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 29

การต่อลงดินทีห
่ ม ้อแปลงจําหน่ายไฟฟ้ าแรงตํา่
400/230V 3 เฟส 4 สาย ของ กฟน.

ทีข
่ วสายนิ
ั้ วทร ัล(N) ของหม้อแปลงในจําหน่ายแรงตํา่ ของ กฟน.
จะถูกต่อลงดินโดยตรง( Solidly Grounded System)

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 30

15
2/10/2014

วงจรทีไ่ ม่บงั คับให ้ต่อลงดิน


(ข ้อยกเว ้น)

 ระบบฯ ทีม
่ ต
ี วั จ่ายแยกต่างหาก (Separately Derived
Systems)

 ระบบฯ ทีร่ ับไฟจากเครือ


่ งกําเนิดไฟฟ้ า หม ้อแปลง
ไฟฟ้ า คอนเวอร์เตอร์ทม
ี่ ข
ี ดลวด มีจด
ุ ประสงค์เพือ

จ่ายไฟให ้ระบบไฟฟ้ าพิเศษและไม่มก
ี ารต่อทางไฟฟ้ า
กับวงจรระบบอืน

 หากต่อลงดินจะต ้องปฏิบต
ั ต
ิ าม ข ้อ 4.6
(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 31

ระบบจ่ายพลังงานไฟฟ้ าสํารองฉุกเฉิน

G เครื่องกําเนิ ด
เครื่อวัดฯ การไฟฟ้ า

หม้อแปลงไฟฟ้ า
) Control Panel

MDB EMDB
) ATS
) ) ) ) ) ) ) ) ) ) ) ) ) ) ) ) ) )

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 32

16
2/10/2014

ระบบทีไ่ ม่ถอ
ื ว่าเป็ นระบบจ่ายไฟแยกต่างหาก

N G

N
3-P Transfer Switch
เนือ
่ งจากไม่ใช่ระบบจ่ายไฟ
Load แยกต่างหากจึงไม่อนุญาตให ้
ต่อหลักดินแยกต่างหาก

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 33

กรณีเป็ นระบบจ่ายไฟแยกต่างหาก
( Separately Derived System )

N G
N

เนือ่ งจากเป็ นระบบจ่ายไฟ


4-P Transfer Switch
แยกต่างหาก จึงอนุญาตให ้
Load ต่อหลักดินแยกต่างหากได ้
การต่อลงดินต ้องปฏิบต ั ต
ิ าม
ข ้อ 4.6

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 34

17
2/10/2014

บทที่ 4 การต่อลงดิน
4.1 วงจรและระบบไฟฟ้าทีต
่ อ
้ งต่อลงดิน

4.2 วงจรและระบบไฟฟ้าทีห
่ า้ มต่อลงดิน

4.3 การต่อลงดินของหม้อแปลงไฟฟ้า

4.4 การต่อลงดินของระบบประธาน

4.5 การต่อฝากของระบบประธานแรงตํา

4.6 ขนาดสายดินของบริภ ัณฑ์ไฟฟ้า

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 35

4.2 วงจรและระบบไฟฟ้ าทีห


่ ้ามต่อลงดิน

 ข ้อ 4.2.1 วงจรของปั น ้
้ จั่นทีใ่ ชงานอยู ้
เ่ หนือวัสดุเสนใยที อ ่ าจลุกไหม ้
ได ้ ซงึ่ อยูใ่ นบริเวณอันตราย
 เนือ ่ งจากอาจเกิดความไม่ปลอดภัยจากอุบต ั เิ หตุได ้

 ่
ข ้อ 4.2.2 วงจรในสถานดูแลสุขภาพ (health care facility) เชน
วงจรในห ้องผ่าตัดสําหรับโรงพยาบาล หรือ คลินก

 เนื่องจากไฟฟ้าดับอาจมีผลตอชี
่ วต
ิ ได้

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 36

18
2/10/2014

ต.ย.วงจรไฟฟ้ าทีห
่ ้ามต่อลงดิน

Medical IT Systems
(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 37

บทที่ 4 การต่อลงดิน
4.1 วงจรและระบบไฟฟ้าทีต
่ อ
้ งต่อลงดิน

4.2 วงจรและระบบไฟฟ้าทีห
่ า้ มต่อลงดิน

4.3 การต่อลงดินของหม้อแปลงไฟฟ้า

4.4 การต่อลงดินของระบบประธาน

4.5 การต่อฝากของระบบประธานแรงตํา

4.6 ขนาดสายดินของบริภ ัณฑ์ไฟฟ้า

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 38

19
2/10/2014

4.3 การต่อลงดินของหม ้อแปลงไฟฟ้ า


 ข้อ 4.3.1 ระบบไฟฟ้ าของผูใ้ ช้ไฟฟ้ าที่ต้องต่อลงดิ นตามข้อ 4.1 จะต้องต่อลงดิ น
ที่บริ ภณั ฑ์ประธานแต่ละชุด จุดต่อลงดิ นต้องอยู่ในจุดที่เข้าถึงสะดวกที่ปลายตัวนํา
ประธาน หรือบัส หรือขัว้ ต่อที่ต่อเข้ากับตัวนํานิ วทรัลของตัวนําประธานภายใน
บริ ภณ ั ฑ์ประธาน ในกรณี หม้อแปลงไฟฟ้ าติ ดตัง้ ภายนอกอาคารจะต้องต่อลงดิ นเพิ่ ม
อีกอย่างน้ อย 1 จุด ทางด้านไฟออกของหม้อแปลงไฟฟ้ า ณ จุดที่ติดตัง้ หม้อแปลงหรือ
จุดอื่นที่เหมาะสม ห้ามต่อลงดิ นที่จดุ อื่นๆ อีกทางด้านไฟออกของบริ ภณ ั ฑ์ประธาน

ทีข
่ วั ้ N ของหม ้อแปลงด ้านไฟ
ออก(Y ) แรงตํา่ ต ้องต่อลงดิน

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 39

4.3 การต่อลงดินของหม ้อแปลงไฟฟ้ า


ภายนอกอาคาร
กรณีหม ้อแปลงทีต ่ ด
ิ ตัง้ ภายในอาคาร
ภายนอกอาคาร
- ทีข
่ วั ้ N ต ้องถูกต่อลง
ดินเพิม ่ ด ้วย

สาย N จากหม้อแปลง

MDBNeutral
Ground

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 40

20
2/10/2014

4.3 การต่อลงดินของหม ้อแปลงไฟฟ้ า


การต่อระบบไฟฟ้ าลงดินของระบบประธานแรงตํา่
ข ้อยกเว ้นที่ 1
•กรณีประธานมีมากกว่า 1 ชุด ที่
อยูใ่ นเครือ
่ งห่อหุ ้มเดียวกันหรือ
ติดกัน
•สายต่อหลักดินใช ้เพียง 1 ชุดก็ได ้

ข ้อยกเว ้นที่ 2
•เมือ
่ มีการต่อฝากระหว่างขัว้
N และขัว้ G
• การต่อหลักดินจะต่อเข ้า
(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) กับขัว้ G หรือขัว้ N ก็ได ้
41

ข้อ 4.3.2 ระบบไฟฟ้ากระแสสล ับทีม ่ ี


ข ้อควรระวัง ! แรงด ันไฟฟ้าไม่เกิน 1,000 โวลต์ ทีม ่ กี าร
ต่อลงดินทีจ ่ ด
ุ ใดๆ จะต้องเดินสายทีม ่ ก ี ารต่อ
ลงดินนนไปย
ั้ ังบริภ ัณฑ์ประธานทุกชุด และ
ต้องต่อฝากเข้าก ับสงิ่ ห่อหุม้ ของบริภ ัณฑ์
G ประธาน สายด ังกล่าวจะต้องเดินร่วมไปก ับ
สายเสน ้ ไฟด้วย
N

ระหว่างขัว้ N และ ขัว้ G ที่แผงไฟฟ้ าย่อย


อื่นๆ ห้ามมีการต่อถึงกันอีกในอาคาร
ขัว้ N และ ขัว้ G ต้องมีการต่อถึง
(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 )
กัน ที่แผงบริ ภณั ฑ์ประธานแรงตํา่ 42

21
2/10/2014

ความต่อเนือ
่ งของระบบสายดิน

 การต่อฝากมีจด ุ ประสงค์เพือ ่ ให ้แน่ใจว่ามีความต่อเนือ่ ง


ทางไฟฟ้ า และสามารถรับกระแสลัดวงจรใดๆ ทีอ ่ าจ
เกิดขึน
้ ได ้
 สว่ นทีเ่ ป็ นโลหะซงึ่ ไม่ได ้เป็ นทางเดินของกระแสไฟฟ้ า
ของบริภัณฑ์ไฟฟ้ าต่อไปนีต ้ ้องมีการต่อฝากถึงกันอย่าง
ใชได้ ้ผลดี เชน ่ ชอ ่ งเดินสาย กล่อง ตู ้ เครือ ่ งประกอบ
และเครือ ่ งห่อหุ ้มทีเ่ ป็ นโลหะ ต ้องต่อลงดิน

(กิตติพงษ์Code
Ref. National Electrical วีระโพธิHandbook
์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน
2002ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 )
Edition 43

บทที่ 4 การต่อลงดิน
4.1 วงจรและระบบไฟฟ้าทีต
่ อ
้ งต่อลงดิน

4.2 วงจรและระบบไฟฟ้าทีห
่ า้ มต่อลงดิน

4.3 การต่อลงดินของหม้อแปลงไฟฟ้า

4.4 การต่อลงดินของระบบประธาน

4.5 การต่อฝากของระบบประธานแรงตํา

4.6 ขนาดสายดินของบริภ ัณฑ์ไฟฟ้า

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 44

22
2/10/2014

4.4 การต่อลงดินของระบบประธานแรงตํา่
ในอาคารทัว่ ไป
การต่อลงดินระบบแรงสูง

ระบบทีม ี รงดันไฟฟ้ า ≤ 1,000V. (≥ 50V) ที่ขั้ว N


่ แ
ของหม ้อแปลง ต ้องมีการต่อลงดินเพือ
่ ให ้แรงดันแต่
ละเฟสมีเสถียรภาพ

ทีบ
่ ริภัณฑ์ประธาน ต ้องต่อลงดินระหว่างขัว้ N และขัว้ G

ไม่อนุญาต
หลังจากบริภัณฑ์ประธานห ้ามต่อลงดินระหว่างขัว้ N
และขัว้ G ในวงจรไฟฟ้ า อีก
- เพือ่ ให ้ตรวจสอบได ้ง่ายเมือ
่ มีกระแสรั่วลงดิน
- เพือ
่ ไม่ให ้กระแสของโหลดปกติไหลกลับมาทางสายดิน
จะทําให ้สายดินมีแรงดันได ้

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 45

กรณีท1ี่ อาคาร 2 หลังหรือมากกว่า


ทีร่ ับไฟจากบริภณั ฑ์ประธานชุดเดียวกัน
สายเฟสและสาย N (ไม่ต้องเดิ นสายดิ นมาด้วย)
อาคารที่ 1
อาคารที่ 2 อาคารที่ 3

แผงบริภณ
ั ฑ์ประธาน
แผงไฟฟ้ า 2 แผงไฟฟ้ า 3

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 46

23
2/10/2014

กรณีท ี่ 2 อาคาร 2 หลังหรือมากกว่า


ทีร่ ับไฟจากบริภณ
ั ฑ์ประธานชุดเดียวกัน
สายเฟสและสาย N และ G (ต้องเดิ นสายดิ นมาด้วย)
อาคารที่ 1
อาคารที่ 2 อาคารที่ 3

แผงบริภณ
ั ฑ์ประธาน
แผงไฟฟ้ า 2 แผงไฟฟ้ า 3

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 47

ข้อยกเว้น กรณีมป
ี ระธานหลายชุดแต่...
มีวงจรย่อยเพียงชุดเดียว

อาคารลักษณะนี้ ไม่
จําเป็ นต้องมีหลักดิ น
ทีอ่ าคารหลังที ่ 2 ก็ได้

มีสายดิ นบริ ภณ
ั ฑ์(EGC)

Ref. National Electrical Code Handbook 2008 Edition(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 48

24
2/10/2014

บทที่ 4 การต่อลงดิน
4.1 วงจรและระบบไฟฟ้าทีต
่ อ
้ งต่อลงดิน

4.2 วงจรและระบบไฟฟ้าทีห
่ า้ มต่อลงดิน

4.3 การต่อลงดินของหม้อแปลงไฟฟ้า

4.4 การต่อลงดินของระบบประธาน

4.5 การต่อฝากของระบบประธานแรงตํา

4.6 ขนาดสายดินของบริภ ัณฑ์ไฟฟ้า

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 49

4.5 การต่อลงดินของระบบประธานแรงตํา่

LP2
N G
ไม่มีการต่อถึง
ต่อฝาก N และ G ลงดินเฉพาะที่
กันระหว่าง บริภณั ฑ์ประธานเท่านัน

N และ G N G
LP1

ต่อระหว่าง N
MDB
และ G
N G

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 50

25
2/10/2014

4.5 การต่อลงดินของระบบประธานแรงตํา่
LP2
ห ้ามต่อฝากลงดินที่
N G จุดอืน
่ อีก ??
ห้ามมีการต่อ
LP1
ถึงกันระหว่าง
N และ G
N G

MDB
ต่อระหว่าง N
และ G
N G

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 51

4.5 การต่อลงดินของระบบประธานแรงตํา่
LP2
ไม่มีการต่อถึง
กันระหว่าง N
G
N และ G
LP1
ทําไมต ้องต่อลงดิน
N G
เฉพาะทีบ ่ ริภณ
ั ฑ์
ภาวะปกติ ประธาน ????
ต้องไม่มี
กระแสไหลใน MDB
G
สาย G N

ดังนัน้ จึงห้ามต่อฝากลงดิ นที่จดุ อื่นอีก!!!


(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 52

26
2/10/2014

ขนาดสายต่อฝาก
ของระบบประธานแรงตํา่ (4.15.6)
สายต่อฝากหล ัก(System Main
Bonding Jumper) 4.15.6 (ก-ค)
้ าม T 4-1
• ขนาดใชต
N • กรณีสายประธานใหญ่กว่าทีก
่ า
ํ หนด
ใน T 4-1 ต้อง ≥ 12.5% ของสาย
ประธาน

สายนิวทรัล(N)
 ขนาด ≥ ทีค
่ ํานวณ
ตามข ้อ 3.2.4
สายต่อฝากด้านไฟออก
ของบริภ ัณฑ์ประธาน
4.15.6(ง)
สายต่อฝากของบริภ ัณฑ์ • ขนาดใช้ตาม T 4-2
(Bonding Jumper)
4.15.6(ค)
• ขนาดใช้ตาม T 4-1
53
(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 )

ตารางที่ 4.1 ขนาดสายต่อระบบไฟฟ้าลงดิน


ขนาดสายประธานเข้าอาคาร ขนาดสายต่อหลักดิ น
(ตัวนําทองแดง) ตร.มม. (ตัวนําทองแดง) ตร.มม.
ไม่เกิ น 35 10
เกิ น 35 แต่ไม่เกิ น 50 16
บริ ภณ
ั ฑ์ประธานแรงตํา่
เกิ น 50 แต่ไม่เกิ น 95 25
เกิ น 95 แต่ไม่เกิ น 185 35
เกิ น 185 แต่ไม่เกิ น 300 50
เกิ น 300 แต่ไม่เกิ น 500 70
เกิ น 500 95
N G
ขนาดสายต่อฝากและสายต่อหลักดิ นจะต้องไม่เล็ก
กว่าตารางที่ 4-1 และ ไม่เล็กกว่า 12.5% ของตัวนํา
ประธานแรงตํา่

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 54

27
2/10/2014

ตย.4-1 หาขนาดสายทีม
่ ก
ี ารต่อลงดิน
โจทย์ จงหาขนาดสายต่อฝากระบบไฟฟ้ าลงดินทีภ
่ ัณฑ์

ประธาน กําหนดให ้แต่ละเฟสใชสาย 1x500 mm2

วิ ธีทาํ หาขนาดสายต่อฝากระบบไฟฟ้ า
ลงดิ น
630kVA
 จากตาราง 4-1
 สายเฟส 300-500 mm2

1000A ้ ายดินขนาด ≥ 70 mm2


ใชส

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 55

ตัวอย่างที่ 4.2 หาขนาดตัวนํ าลงหลักดิน


โจทย์ จงหาขนาดสายต่อฝากของบริภัณฑ์ประธานแรงตํา่

400/230V. 3 เฟส 4 สาย กําหนดให ้แต่ละเฟสใชสาย
3x500 mm2
วิธท
ี ํา
 แต่ละเฟส ใชสาย้ 3x500 mm2
2,000kVA  ขนาดสายรวม = 3 x 500 = 1500 mm2
 เนือ
่ งจากสายเฟส ≥ 500 mm2
 ตามข ้อ 4.15.6 ขนาดสายต่อฝากลงดิน
≥ 0.125 x 1500 = 187.5 mm2
 ดังนัน ้
้ ใชสายต่ อฝากขนาด ≥ 240 mm2

56
(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 )

28
2/10/2014

ระบบหลักดิน หรือรากสายดิน
( Grounding Electrode System)
 จุดประสงค์ เพือ
่ ....
 เป็ นจุดต่อลงดินของ“ระบบไฟฟ้ า”

้ อสว่ นทีเ่ ป็ นโลหะต่างๆ


 ใชต่ ั ดาไฟฟ้ าเท่ากับดิน
ให ้มีศก
หรือเป็ นศูนย์

 รองรับกระแสทีร
่ ั่วไหล หรือกระแสทีเ่ กิดจากไฟฟ้ าสถิต
่ น
ลงสูพ ื้ โลก

 ่ น
เป็ นทางผ่านของกระแสไฟฟ้ าลงสูพ ื้ โลกในกรณีทเี่ กิด
ฟ้ าผ่าหรือแรงดันเกิน
(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 57

ชนิดและขนาดของสายต่อหล ักดิน

• ตัวนํ าทองแดง ต ้องเป็ นชนิดตัวนํ าเดีย


่ วหรือ
ตีเกลียวหุ ้มฉนวน
• ต ้องไม่มก ้ ยวยาวตลอด
ี ารต่อและเป็ นเสนเดี
• ถ ้าเป็ นบัสบาร์ อนุญาตให ้มีการต่อได ้

N G

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 58

29
2/10/2014

มาตรฐานหลักดิน ( Ground Electrode )

 แทงโลหะ
่ ขนาด 16 มม. ยาว 2.40 ม.
 แผนโลหะพื
่ น้ ที่ 1800 ตร.มม. หนา 6 มม.
(1.5 มม.) ฝังลึก 1.6 ม.
 โครงสรางอาคารโลหะ

 หลักดินอืน
่ ๆ ทีไ่ ดรั
้ บการรับรอง
 คาความต
่ ้ กดิน ≤ 5 โอหม
านทานของหลั ์

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 59

ระบบรากสายดินแนวดิง่
อาคารชุด
อาคารสูง และ
อาคารขนาดใหญ่พิเศษ

สําหรับอาคารทัวไป

พื้นดิน
0.75 ม. 45O 0.3 ม.
0.6 ม.

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 60

30
2/10/2014

ระบบรากสายดินแนวดิง่

สําหรับอาคารทัวไป

LP1
N G

200
400 MDB
N G

0.3 ม.
0.6 ม.
(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 61

ระบบรากสายดินแนวราบ

LP1
สําหรับอาคารทัวไป

รากสายดินแนวราบ โดยทัว่ ไปจะ
N G ยาวเป็ นสองเท่าของรากสายดิน
แนวดิง่ และฝั งลึกจากผิวดิน

ประมาณ 0.75 ม. ใชในบริ เวณ
ดินแข็งหรือเป็ นหินกรวด
200
MDB 400
N G

0.75 ม.

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 62

31
2/10/2014

ตารางที่ 4.1 ขนาดสายต่อหลักดิน(4.19)


ขนาดสายประธานเข้าอาคาร ขนาดสายต่อหลักดิ น
(ตัวนําทองแดง) ตร.มม. (ตัวนําทองแดง) ตร.มม.
≤ 35 10
เกิ น 35 แต่ไม่เกิ น 50 16 บริภ ัณฑ์
เกิ น 50 แต่ไม่เกิ น 95 25 ประธาน
เกิ น 95 แต่ไม่เกิ น 185 35
เกิ น 185 แต่ไม่เกิ น 300 50
เกิ น 300 แต่ไม่เกิ น 500 70
เกิ น 500 95
N G
ข้อ 4.19 สายต่อหล ักดินสา ํ หร ับระบบไฟฟ้าแสสล ับ
จะต้องไม่เล็กกว่าตารางที่ 4-1

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 63

ตย. 4-3 ขนาดสายต่อหลักดิน


โจทย์ บ ้านหลังหนึง่ รับไฟฟ้ าด ้วยเครือ
่ งวัดฯ แรงตํา่ 15(45)A 400V. 3
เฟส 4 สาย จงกําหนดขนาดสายต่อหลักดิน
บริ ภณ
ั ฑ์ประธานแรงตํา่
4 x 16 SQMM

วิ ธีทาํ
N G • จากตารางที่ 4-1
• สายเมนขนาด 16 mm2
• ใช้สายต่อหลักดิ น = 10 mm2

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 )


64

32
2/10/2014

ตย.4-4 ขนาดสายต่อหลักดิน
โจทย์ โรงงานแห่งหนึง่ รับไฟฟ้ าด ้วยเครือ่ งวัดฯ 400 A 400/230V 3
เฟส 4 สาย ใชสาย ้ ขนาด 2 ( 4 x 150 mm2 ในท่อ IMC 2 x 80
mm ( 3” ) จงกําหนดขนาดสายต่อหลักดิน
2(4x 150 mm2)In IMC 2x80mm MDB

วิธท
ี ํา
 สายเฟสใช ้ขนาด 2 x 150 = 300 mm2
จากตารางที่ 4-1 N G

 สายประธานขนาด 300-500 mm2


ใช ้สายต่อหลักดินขนาด 70 mm2
1x 70 mm2
65
(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 )

บทที่ 4 การต่อลงดิน
4.1 วงจรและระบบไฟฟ้าทีต
่ อ
้ งต่อลงดิน

4.2 วงจรและระบบไฟฟ้าทีห
่ า้ มต่อลงดิน

4.3 การต่อลงดินของหม้อแปลงไฟฟ้า

4.4 การต่อลงดินของระบบประธาน

4.5 การต่อฝากของระบบประธานแรงตํา

4.6 ขนาดสายดินของบริภ ัณฑ์ไฟฟ้า

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 66

33
2/10/2014

การต่อลงดินของเครือ
่ งบริภณ
ั ฑ์ไฟฟ้ า
( Equipment Grounding )

จุดประสงค์ คือ
 เพื่อให้ส่วนโลหะที่ต่อถึงกันตลอดมีศกั ดาไฟฟ้ าเท่ากับ
ดิน
 เพื่อให้อปุ กรณ์ป้องกันกระแสเกินทํางานได้รวดเร็วขึน้
 เป็ นทางผ่านให้กระแสรัวไหล
่ และ กระแสเนื่ องมาจาก
ไฟฟ้ าสถิตลงดิน

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 67

เครือ
่ งบริภณ
ั ฑ์ไฟฟ้ าทีต
่ ้องต่อลงดิน
 ประเภทของบริ ภณ
ั ฑ์ไฟฟ้ าที่จะต้องต่อลงดิ นมี
ดังต่อไปนี้
เครือ
่ งห่อหุ้มที่เป็ นโลหะของ สายไฟฟ้ า แผง
บริภณ ั ฑ์ประธาน โครง และ รางปัน้ จันที ่ ่ใช้
ไฟฟ้ า โครงของตู้ลิฟต์ และลวดสลิงยกของ
ที่ใช้ไฟฟ้ า
สิ่งกัน้ ที่เป็ นโลหะรวมทัง้ เครือ่ งห่อหุ้มของ
เครือ่ ง บริภณ ั ฑ์ไฟฟ้ าในระบบแรงสูง

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 68

34
2/10/2014

เครือ
่ งบริภณ
ั ฑ์ไฟฟ้ าทีต
่ ้องต่อลงดิน
•สว่ นของโหลดทีเ่ ป็ นโลหะ
เปิ ดโล่งทีบ
่ ค
ุ คลอาจสมั ผัสได ้
และอาจมีไฟฟ้ ารั่วถึงได ้
•หากติดตัง้ อยูส
่ งู จากพืน
้ ไม่
เกิน 2.40 เมตร
• ต ้องมีการต่อลงดินทีโ่ หลด
ด ้วย
≤ 2.4 ม.

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 69

เครือ ้
่ งใชไฟฟ้ าทีต
่ ้องมีสายดิน

 เครือ ้
่ งใชไฟฟ้ าทีม ่ โี ครงเป็ นโลหะ หรือ เครือ ้
่ งใชไฟฟ้ าที่
เกีย ่
่ วข ้องกับนํ้ า หรือ ความร ้อน เชน ตู ้เย็นเตาไฟฟ้ า เครือ ั
่ งซก
ผ ้า เครือ ่ งทํานํ้ าอุน
่ เป็ นต ้น
 เต ้าเสย ี บทีใ่ ชงาน
้ จําเป็ นต ้องมีขวั ้ สายดิน

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 70

35
2/10/2014

ชนิดเครือ ้
่ งใชไฟฟ้ าทีไ่ ม่ต ้องมีสายดิน
 เครือ ้
่ งใชไฟฟ้ าทีม
่ ก
ี ารป้ องกันไฟดูด โดยมีโครงหุ ้มด ้วยฉนวน 2
ชนั ้ เชน ่ พัดลม โทรทัศน์ หรือ วิทยุ เป็ นต ้น ดังนัน
้ ไม่จําเป็ นต ้อง
มีขวั ้ สายดิน
เครือ ้ ทีไ่ ม่ต ้องมี
่ งหมายฉนวนสองชัน
สายดิน

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 71

วิธต
ี อ
่ ลงดินของบริภณ
ั ฑ์ไฟฟ้ า

ทําได้โดยเดินสายดินจากแผงจ่ายไฟย่อย
ไปย ังบริภ ัณฑ์ไฟฟ้าทีต
่ อ
้ งต่อลงดิน

สายดินต้องเดินร่วมไปก ับสายเฟส และสาย


นิวทร ัลของวงจรในท่อเดียวก ัน

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 72

36
2/10/2014

ชนิดของสายดินบริภณ
ั ฑ์ไฟฟ้ า(EGC)

• ตัวนํ าทองแดง หุ ้มฉนวนหรือไม่


หุ ้มฉนวนก็ได ้
• เปลือกโลหะของสายเคเบิล
ชนิด AC, MI และ MC

• บัสเวย์ทไี่ ด ้ระบุให ้ใชแทนสาย
สําหรับต่อลงดิน
• สขี องสายดินถ ้าขนาดไม่เกิน
10 ตร.มม. ฉนวนต ้องมีสเี ขียว
หรือเขียวแถบเหลือง

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 73

ขนาดสายดินของบริภณ
ั ฑ์ไฟฟ้ า

(ข้อ 4.19) ขนาดสายต่อหลักดิ นของบริ ภณั ฑ์ประธาน (


GEC) ต้องมีขนาดไม่เล็กกว่าที่กาํ หนดในตารางที่ 4-1

(ข้อ 4.20) ขนาดสายดิ นของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้ า (EGC)


ต้องมีขนาดไม่เล็กกว่าที่กาํ หนดในตารางที่ 4-2

(ข้อ 4.20) ขนาดสายดิ นของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้ า (EGC)


ต้องมีขนาดไม่เล็กกว่าที่กาํ หนดในตารางที่ 4-2

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 74

37
2/10/2014

ตย.4-5 หาขนาดสายดินบริภณ
ั ฑ์ไฟฟ้ า
โจทย์ ระบบไฟฟ้ าประกอบด้วย บริ ภณ
ั ฑ์ไฟฟ้ า และ แผงจ่ายไฟ ดังรูป จง
หาขนาดสายดิ นของบริ ภณ
ั ฑ์ไฟฟ้ า(EGC) ที่เดิ นจากบริ ภณ
ั ฑ์ประธาน
บริ ภณ
ั ฑ์ประธาน
CB = 300AT
300 AT EGC ≥ 25 SQMM.
G CB = 100AT
EGC ≥ 10 SQMM.
แผงจ่ายไฟ แผงจ่ายโหลด CB = 20AT
EGC ≥ 2.5 SQMM.
G G
100 AT 20 AT บริ ภณ
ั ฑ์ไฟฟ้ า

LOAD
(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 75

ตย.4-6 ขนาดสายดินบริภณ
ั ฑ์ไฟฟ้ า
400A 400
LP2 1-25
N G

200A 200
1-16
LP1
N G

LP1 200
LP2 400 MDB
N G พิจารณาจากตารางที่ 4-2

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 76

38
2/10/2014

ตย.4-6 ขนาดสายดินบริภณ
ั ฑ์ไฟฟ้ า(ต่อ)
150AT
20AT 1-2.5

LP2
N G 40AT
1-4

100AT
LP1
N G 1-16

3-240, 1-150

MDB
200 1-10
400
ตารางที่ 4-1 N G
1-50

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 77

ขนาดสายดิน เมือ
่ ดินสายควบ
 การเดินสายควบ แยกไปหลายท่อ ขนาดสายดินในแต่
ละท่อกําหนดจากพิกด ั เครือ
่ งป้ องกันกระแสเกิน ตาม
ตารางที่ 4-2 (ห ้ามลดขนาด)
Fault, Phase to grounding conductor
อุปกรณ์ ไฟฟ้ า

L
CB
N

ท่ออโลหะ

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 78

39
2/10/2014

ตย.4-7 หาขนาดสายดินของบริภัณฑ์ไฟฟ้ า

โจทย์ บริ ภณ ั ฑ์ประธานมีเครื่องป้ องกันกระแส


เกิ น 500 A ต่อกับวงจร ซึ่งประกอบด้วย
สายควบ 2 ชุด เดิ นในท่อร้อยสายท่อละ 1
ชุด ดังรูป จงหาขนาดสายดิ นของบริ ภณ ั ฑ์
ไฟฟ้ า
วิ ธีทาํ
o วงจรประกอบด้วยสายควบ 2 ชุด เดิ นใน
ท่อร้อยสายท่อละ 1 ชุด
o ดังนัน ้ จะต้องเดิ นสายดิ น 2 เส้นในแต่ละท่อ
โดยเลือกตามขนาดเครื่องป้ องกัน
จากตาราง 4-2 กรณี เครื่องป้ องกัน 500 A
ใช้ขนาดสายดิ น 35 mm2

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 79


การใชสายดิ
นร่วมกัน

สายดินและสายทุกวงจรทีใ่ ชสายดิ นร่วมกัน
่ งเดินสายเดียวกัน
ต ้องเดินในชอ

N G

สายดินกําหนดจาก
CB ตัวใหญ่สด

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 80

40
2/10/2014

ตย.4-8 หาขนาดสายดินของบริภณ
ั ฑ์ไฟฟ้ า
ทีใ่ ชร่้ วมกันในท่อสาย
โจทย์ วงจรระบบแรงตํา่ 4 วงจร ที่ต้องการเดิ นในท่อสายร่วมกัน โดยแต่ละ
วงจรมีเครื่องป้ องกันกระแสเกิ น 20 A , 40 A , 15 A และ 20 A
จงหาขนาดสายดิ นของบริ ภณ ั ฑ์ไฟฟ้ า ที่ใช้ร่วมกันในท่อสาย

วิธท
ี ํา
o ขนาดสายดินทีใ ่ ช ้ร่วมกันจะต ้องเลือก
ตามเครือ
่ งป้ องกันทีม ่ ข
ี นาดใหญ่ทส ี่ ด

คือ 40 A
o จากตารางที่ 4-2 เครือ ่ งป้ องกัน 40
AT ต ้องใช ้สายดินไม่น ้อยกว่า 4 mm2

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 81

ขนาดสายดินของบริภณ
ั ฑ์ไฟฟ้ า
(สายดินของมอเตอร์)
กําหนดจากขนาดปรับตัง้
ของเครือ่ งป้ องกันโหลดเกิ น

225A 115A
G
M
100A
กําหนดจาก 115A (ตารางที่ 4-2)

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 82

41
2/10/2014

สรุป การกําหนดขนาดสายดิน
ของระบบประธานแรงตํา่
สายต่อฝากหลัก(Main Bonding Jumper)
• ขนาดใช ้ T 4-1
• ต ้อง ≥ 12.5% ของสายประธาน
N

สายนิวทรัล(N)
ขนาดต ้อง ≥ ทีค
่ ํานวณ
ตามข ้อ 3.2.4

ขนาดสายดินของบริภณ ั ฑ์
ไฟฟ้ า ขนาดใช ้ตาราง 4-2

83
(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 )

บทที่ 4 การต่อลงดิน
4.2 วงจรและระบบไฟฟ้าทีห
่ า้ มต่อลงดิน

4.3 การต่อลงดินของหม้อแปลงไฟฟ้า

4.4 การต่อลงดินของระบบประธาน

4.5 การต่อฝากของระบบประธานแรงตํา

4.6 ขนาดสายดินของบริภ ัณฑ์ไฟฟ้า

4.7 การต่อลงดินของระบบประธานแรงสูง

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 84

42
2/10/2014

์ รงสูง
การต่อลงดินของแผงสวิตชแ

 ตัวตู ้ต ้องต่อลงดินร่วมกับ
กราวด์บส ั

 บานประตูตอ
่ ฝากกับตัวตู ้ด ้วย
10 ตร.มม.
สายขนาด 10 ตร.มม.

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 85

การต่อลงดินทีห
่ ม้อแปลง
ก ับด ักฟ้าผ่าทีม
่ าพร้อมก ับหม้อแปลง

สายดินของแรงตํา่

สายดินของ L/A รวมกับตัวถังหม ้อแปลง


86

43
2/10/2014

้ ฐานการต่อลงดิน
พืน
การต่อลงดินระบบแรงสูง เพือ
่ ลดระด ับแรงด ันไฟฟ้าให้อป
ุ กรณ์สามารถทนได้

87

การต่อลงดินทีห
่ ม้อแปลง

Line Lead Length

Ground Lead Length

รูปแบบการติดตงที
ั้ ถ่ ก
ู ต้อง
88

44
2/10/2014

การต่อลงดินทีห
่ ม้อแปลง

Line Lead Length

Ground Lead Length

รูปแบบการติดตงที
ั้ ถ่ ก
ู ต้อง
89
50

กรณีท ี่ 1 การต่อลงดินทีห
่ ม ้อแปลง
สายดินของ L/A แยกกับตัวถังหม ้อแปลง

V1 = 5.3 kV/m.
V2 = 46 kV

V3 = 5.3 kV/m

V = V1+V2+V3 = 56.690 kV
(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 )

45
2/10/2014

กรณีท ี่ 2 การต่อลงดินทีห
่ ม ้อแปลง
สายดินของ L/A รวมกับตัวถังหม ้อแปลง

V1 = 5.3 kV/m.
V2 = 46 kV

V3=5.3 kV/m

V = V1+V2-V3 = 46 kV

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 91

การต่อลงดินทีห
่ ม้อแปลง
การต่อลงดินระบบแรงสูง

สายยาว, Vdrop มาก


ั้ Vdrop น้อย
สายสน,

92

46
2/10/2014

บทที่ 4 การต่อลงดิน
4.5 การต่อฝากของระบบประธานแรงตํา

4.6 ขนาดสายดินของบริภ ัณฑ์ไฟฟ้า

4.7 การต่อลงดินของระบบประธานแรงสูง

4.8 การต่อลงดินอืน
่ ๆ

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 93

ระบบสายดินในบริเวณอันตราย
ในบริเวณอันตราย สว่ นทีเ่ ป็ นโลหะของบริภณ ั ฑ์
ไฟฟ้ าและไม่ได ้เป็ นทางเดินของกระแสไฟฟ้ าทีท ่ ก

ระดับแรงดันไฟฟ้ า ซงึ่ อยูใ่ นบริเวณอันตรายต ้องต่อ
ถึงกันทางไฟฟ้ าตามวิธท ี ไี่ ด ้กําหนดไว ้ในข ้อ
4.15.2.2 - 4.15.2.5

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 94

47
2/10/2014

้ กดินร่วมกัน (4.13)
การใชหลั
หลักสายดิ นของระบบประธานแรงตําระบบสายดิ
่ น

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 95

ด้วยความปรารถนาดี

กิ ตติ พงษ์ วีระโพธิ์ ประสิ ทธิ์

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 )


96

48
2/10/2014

ตารางที่ 4-1 ขนาดตํา่ สุดของสายต่อหลักดิ นของระบบไฟฟ้ ากระแสสลับ

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 97

ตารางที่ 4-2 ขนาดตํา่ สุดของสายดินของบริภณ


ั ฑ์ไฟฟ้ า

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 98

49
2/10/2014

ึ ษา
กรณีศก

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 )


99

เครือ
่ งทํานํา้ แข็งไฟฟ้ารว่ ั …… ตาย!!!!!

ไม่ได้ตดิ ตงระบบ
ั้
สายดินและ
เครือ
่ งต ัดไฟรว่ ั

่ งทํานํา้ แข็งชํารุด ไฟฟ้ารว่ ั


อุปกรณ์ไฟฟ้าในเครือ
(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 100

50
2/10/2014

สาเหตุ......ไฟฟ้ารว่ ั ทีเ่ ครือ


่ งทํานํา้ อุน

• ซอื้ คอนโดใหม่ ก่อนเข ้า


ไปอยูไ่ ด ้ให ้ชา่ งไฟฟ้ า
ติดตัง้ เครือ
่ งทํานํ้ าอุน

• หลังติดตัง้ เสร็จ เจ ้าของ
ห ้อง ได ้เข ้าไปอาบนํ้ า มือ
จับฝั กบัวถูกไฟฟ้ าดูดจน
เสย ี ชวี ต
ิ !!!!

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 101

ตรวจสอบ สายดินทีจ
่ ด
ุ ต่อสายไม่ได ้ต่อ

ส่วนทีเ่ ป็ นโลหะ
มีไฟวัดได ้ 110 V

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 102

51
2/10/2014

เครือ
่ งต ัดวงจรไฟฟ้า
เมือ
่ กระแสรว่ ั ลงดิน(RCD)

(มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 2.) กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ 2556 103

104

เครื่ องตัดไฟรั่ว (RCD, RCCB, RCBO, GFCI)


L main coils magnetic circuit
L
amplifiler test
trip push
coil search
ไฟเข้ า coil ไฟออก
N
N
G R G

52
2/10/2014

ต ัวอย่างการใช ้ RCBO & RCCB

RCCB
25 A
30 mA
RCBO
16 A
30 mA

(มาตรฐาน ว.ส.ท. 2001-51 บทที่ 2.) กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ 2555 105

เครือ่ งตัดไฟรัว่ (RCD) RCBO or RCCB??

RCBO = RCCB + Overcurrent

500 mA
RCBO = (short-circuit + overload protection)

IEC 61008,IEC61009 หรือ มอก.909-2548 RCCB


RCD(HS): 6– 10– 30 mA (for direct-contact / life injury
30 mA
protection),

RCD(MS): 100– 300– 500– 1000 mA (for fire protection),

RCD(LS): 3 – 10 – 30 A (typically for protection of


machines).
RCCB = Residual current
circuit-breakers
มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 3 106

53
2/10/2014

หล ักการทํางานของเครือ
่ งต ัดไฟรว่ ั :RCD
RCD:
operating current  30 mA
operating time  0.04 s

15 - 30 mA

15 - 30 mA

มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 3 107

ผลของกระแสไฟฟ้ าทีม
่ ต
ี อ
่ ร่างกายมนุษย์

230 V
0V

230 V
1100 + 10  = 207 mA
Cardiac
fibrillation

10  1100 

มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 3


108

54
2/10/2014

ผลของกระแสไฟฟ้ าทีม ่ ต
ี อ
่ ร่างกายมนุษย์
(Critical current thresholds IEC 60479)
10
5 5%V.F
50%V.F
2 > 50%V.F
ไม่ รู้ สึก คลายมือได้ Ventricular
1
Fibrillation
0.5
AC-1 AC-2 AC-3 AC-4
ระยะเวลา (วินาที)

0.2
กล้ามเนือ้ หดตัว
0.1 หายใจลําบาก
.05

.01
30 mA

0.1 0.2 0.5 1 2 5 10 20 50 100 200 500 1000 2000 5000 10000
กระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกาย (mA)
(มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 2.) กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ 2556 109

ผลของกระแสไฟฟ้ าทีม
่ ต
ี อ
่ ร่างกายมนุษย์
มีผลต่อการควบคุมกล ้ามเนือ

 Critical current thresholds IEC 60479 ่ ≥30mA
เฉลีย

DURATION 40 mA ขนาดกระแสทีท่ ําให ้หัวใจ


0.5mA 10mA 90mA หยุดทํางานได ้ เฉลีย
่ 50 -
5s 100mA

1s instantaneous
30 mA
RCD
100 ms
40 ms

20 ms
0.5mA 30mA 150mA 500mA 1.2 A CURRENT

EIT Standard 2001-51 (บทที่ 4 ),IEC60479 110

55
2/10/2014

ขนาดแรงดันไฟฟ้ าทีม
่ ผ
ี ลต่อร่างกาย

 Safety Curve (dry premises) IEC 60364

Continuous
Duration of contact

0.2 s

0.1 s
0.03 s

Touch
50 V 110 V 220V 300V voltage
EIT Standard 2001-51 (บทที่ 4 ) ,IEC60479 111

ความต ้านทานภายในของร่างกาย

Resistance of body

Hand-to-hand = 500+500 ohms

500 ohms 500 ohms = 1000 ohms


100 ohms
Foot-to-foot = 500+500 ohms
= 1000 ohms

Hand-to-foot = 500+100+500 ohms

500 ohms 500 ohms = 1100 ohms

(มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 2.) กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ 2556 112

56
2/10/2014

ความต ้านทานภายในของร่างกาย

Current magnitude

E (volts)
I (amps) =
500 ohms 500 ohms
100 ohms
R (ohms)

Energy

2
J (joules) = I R t (second)
500 ohms 500 ohms

(มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 2.) กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ 2556 113

ความต ้านทานภายในของร่างกาย

Hand-to-foot current flow path

500 ohms
100 ohms 230 (volts)
I =
1100 (ohms)

= 209 mA
Source
500 ohms

Ground
(มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 2.) กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ 2556 114

57
2/10/2014

ผลของกระแสไฟฟ้ าที่มีต่อร่างกายมนุษย์
(1-loop)

230 V

0V

230 V
= 207 mA Cardiac
1100 + 10  fibrillation

1100 
10 

(มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 2.) กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ 2556


115

ห ัวข้อ

้ ฐานการต่อลงดิน
พืน

มาตรฐานการต่อลงดิน

การว ัดค่า ρ และการลดค่า R

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 116

58
2/10/2014

มาตรฐานการต่อลงดินตาม IEC60364-3

 กําหนดวิธีเรียกชือ
่ ของระบบการต่อลงดินด้วยอักษร 3 ตัว
หรือ 4 ตัว ไว้ในมาตรฐาน IEC 60364-3 เช่นระบบ TN-C,
TN-S,TN-C-S, IT และ TT เป็ นต้น

 อักษรตัวแรก เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างระบบไฟฟ้ า กับดิน


T = มีการต่อจุดใดจุดหนึง่ ของระบบไฟฟ้าลงดินโดยตรง
 I = แยกจากดิน(Isolated) หรือมีการต่อลงดินผ่าน Impedance

EIT Standard 2001-51 (บทที่ 4 ), IEC60364-3 117

TT System ; TT = Terre- Terre


แหล่งจ่ายไฟฟ้า
L1
L2
L3
N

มีหลักดิ นเพื่อความ
ที่นิวทรัลของหม้อ ปลอดภัยแยกจาก
แปลงต่อลงดิ น หลักดิ นของระบบ
โดยตรง ไฟฟ้ า
PE
Rn

EIT Standard 2001-51 (บทที่ 4 ) , IEC60364-3 118

59
2/10/2014

TT system; Earth-fault study


Uo = 230 V

400 V/230 V

Exposed
If = Uo / (Rn + Ru) conductive
part
If = 23 A Uf = Ru x If

Uf =
115V

Rn Ru
=5Ω =5Ω

EIT Standard 2001-51 (บทที่ 4 ) , IEC60364-3 119

TN-S System
TN-S = Terre Neutral- Separate = สายนิ วทรัลและสายดิ นป้ องกันแยกออกจาก
กันตลอดทัง้ ระบบ
L1
L2
L3
N
PE

มีการต่อเปลือก
โลหะเข้ากับสาย
ดิ นป้ องกัน

EIT Standard 2001-51 (บทที่ 4 ) , IEC60364-3 120

60
2/10/2014

TN-C System
TN-C = Terre Neutral- Combined = สายนิ วทรัล(N)และสายดิ นเพื่อความปลอดภัย
(PEN)ร่วมเป็ นตัวนําเดียวกันตลอดทัง้ ระบบ
T N-C

E56892
L1
L2
L3
PEN

มีการต่อเปลือก
โลหะเข้ากับ
Neutral ของ
MDB ระบบไฟฟ้ า

มีการต่อลงดินเป็นระยะเพื่อลดแรงดัน
EIT Standard 2001-51 (บทที่ 4 ) , IEC60364-3 121

TN-C-S System
TN-C-S = Terre Neutral- Combined Separate
= สายนิ วทรัลและสายดิ นป้ องกันร่วมกันที่ต้นทาง(TN-C) และ
ปลายทางแยกออกจากกัน(TN-S)
T N-C-S TN-S สายนิ วทรัล
และสายดิ นป้ องกัน
MDB แยกกัน
L1
L2
L3
N
PE

TN-C สายนิ วทรัล


และสายดิ นป้ องกัน
EIT Standard 2001-51 (บทที่ 4 ) , IEC60364-3
ร่วมกัน 122

61
2/10/2014

TN-C-S system TN-S สายนิ วทรัล


และสายดิ นป้ องกัน
แยกกัน

TN-C สายนิ วทรัล


และสายดิ นป้ องกัน
ร่วมกัน
MDB

EIT Standard 2001-51 (บทที่ 4 ) , IEC60364-3 123

IT System

L1
L2
L3
N
PE

MDB

EIT Standard 2001-51 (บทที่ 4 ) , IEC60364-3 124

62
2/10/2014

IT system; Earth-fault study

EIT Standard 2001-51 (บทที่ 4 ) , IEC60364-3 125

ห ัวข้อ

้ ฐานการต่อลงดิน
พืน

มาตรฐานการต่อลงดิน

การว ัดค่า ρ และการลดค่า R

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 126

63
2/10/2014

้ ฐานการต่อลงดิน
พืน

Voltage Around Ground Rod

R  1/A
R
R = Resistance
A = Surface Area
 = Resistivity

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 127

สภาพการนํ าไฟฟ้ าของดิน


้ อยู่กบั องค์ประกอบต่างๆ ดังต่อไปนี้
 ขึน
 สัดส่วนของเกลือแร่ที่ละลายในดิ น ( Saline Water )
 องค์ประกอบของดิ น ( Compositions )
 ขนาดของอนุภาคดิ น ( Size of Particles )
 ความหนาแน่ นของดิ น ( Compactness )
 อุณหภูมิ ( Temperature )
 ความชื้น ( Moisture )
 เงื่อนไขของสภาพภูมิอากาศ ( Weather Conditions )

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 128

64
2/10/2014

การวัดความต ้านทานดินจําเพาะของดิน (ρ)

 ความต้านทานจําเพาะของดิ น 10 โอห์ม-เมตร คือ????


1 เมตร

1 เมตร

10 Ω
 หมายถึงความต้านทานของดิ น ที่มีขนาด 1 ลูกบาศก์เมตร วัด
ค่าได้ 10 โอห์ม
(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 129

การวัดความต ้านทานดินจําเพาะของดิน (ρ)


การว ัด R จําเพาะของดิน (ปัจจุบ ันใชว้ ธ
ิ ี Wenner)

ohm

6-10 m

0.3-0.5 m

ระยะ a เป็นต ัวกําหนดความลึกของดินทีต่ อ ่ a=3


้ งการว ัด R จําเพาะของดิน เชน
เมตร คือการว ัด R จําเพาะของดินลึก 3 เมตร

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 130

65
2/10/2014

การวัดความต ้านทานดินจําเพาะของดิน (ρ)


การว ัด R จําเพาะของดิน (ปัจจุบ ันใชว้ ธ
ิ ี Wenner)

b = 0.3-0.5 m
a = 6-10 m
b

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 131

การวัดความต ้านทานดินจําเพาะของดิน (ρ)


R
ค่า R ทีน
่ ําไปแทนใน
สมการเพือ ่ หาค่า ρ

a a a b
a

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 132

66
2/10/2014

การวัดความต ้านทานดินจําเพาะของดิน (ρ)


ต ัวอย่าง ความต้านทานจําเพาะของดินชนิด ต่างๆ
ด ังแสดงในตาราง

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 133

การวัดความต ้านทานดินจําเพาะของดิน (ρ)

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 134

67
2/10/2014

การวัดความต ้านทานดินจําเพาะของดิน (ρ)


การว ัดความต้านทานของแท่งหล ักดิน แบบ 3 จุด

ohm

a > 50m
(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 135

การต่อสายดินเข ้ากับรากสายดิน

 ใชวิ้ ธ ี Exothermic Welding

 ใช ้ Connector ,หูสาย , หัวต่อแบบบีบอัด

 ห ้ามใชวิ้ ธบ
ี ด
ั กรีเป็ นหลัก

 ้
ห ้ามต่อสายมากกว่า 1 เสนเข ้ากับหลักดิน เว ้นแต่จะ
ใชอุ้ ปกรณ์ตอ
่ ทีเ่ หมาะสม

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 136

68
2/10/2014

ื่ มด ้วยความร ้อน
ตย. การเชอ
(Exothermic Welding)

ตัวนํ าลงดิน

การตอสายเข
่ ากั
้ บหลัก
ดินตองใช
้ ้ ้ 2.4.1
• หลักดินทําตามขอ
- วิธเี ชือ
่ มดวยความร
้ อน
้ • ทําดวยทองแดง ปลายสุด

Exothermic
Welding) ตองฝั
้ ่ า่ กวา่ 0.3
งดินลึก ไมตํ
m.
137
(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 )

Exothermic welding

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 138

69
2/10/2014

Exothermic
Typical Weld
Substation Connection

CADWELD® Connections
(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 139

Types of Connections

 Mechanical (Bolted, Wedge,


Compression)
 Rely on Physical Pressure to
Maintain Connection

 Exothermic Welding
 Permanent Molecular Bond

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 140

70
2/10/2014

CADWELD vs. MECHANICAL


CONNECTIONS

CADWELDED JOINTS

MECHANICAL JOINTS
(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 141

MECHANICAL / BOLTED
CONNECTOR

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 142

71
2/10/2014

CLAMP TYPE CONNECTOR

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 143

CADWELD TYPE CONNECTION

(กิตติพงษ์ วีระโพธิ ์ประสิทธิ ์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 2556 บทที่ 4 ) 144

72

You might also like