You are on page 1of 8

บทที่ 3

การออกแบบชุดปฏิบัติการ

3.1 อุปกรณ์ การทดลอง

3.1.1 หม้ อแปลงกระแส


Current transformer (10/5) A, (30/5) A
Burden: 2VA
Accuracy: 0.5
Rated voltage: 720V 50/60Hz
ในการทดลองสาหรับหม้อแปลงกระแสพิกดั 10/5A และ 30/5A ได้
จาก Ratio (a) a = 10
5
ดังนั้น Ratio a = 10 หรื อ a = 2 หรื อ
5 1
จาก Ratio (a) a = 30
5
30
ดังนั้น Ratio a= หรื อ a= 6
5 1
สามารถนามาใช้ในการทดลอง เพื่อศึกษาคุ ณลักษณะและคุ ณสมบัติต่างของหม้อ
แปลงกระแสได้ชดั เจนมากขึ้น

ภาพที่ 3.1 Current Transformer


57

3.1.2 เครื่องมือวัด
3.1.2.1 Digital meter
- AC Amp meter Rang 0-10 จานวน 3 ตัว Class 0.5
- AC Volt meter Rang 0-500 จานวน 2 ตัว Class 0.5

3.1.3 แหล่งจ่ ายไฟ 3 เฟส 24 โวลท์


- หม้อแปลงไฟฟ้ า พิกดั แรงดัน 220/24 โวลท์
- พิกดั กระแส 10 แอมแปร์
เนื่ องจากชุ ดทดลองเดิ มใช้แหล่ งจ่ายไฟแบบหม้อแปลงไฟฟ้ าปรั บค่าแรงดันได้
(Variac) ทาการเพิ่มค่าแรงดันไฟฟ้ าเพื่อให้ได้กระแสไฟฟ้ าในวงจรการทดลองตามต้องการ
แต่การปรับค่าแรงดันเพื่อให้ได้ค่ากระแสตามที่ตอ้ งการ ค่อนข้างลาบากเพราะต้องเพิ่มค่า
แรงดันที่ละน้อย และใช้เวลาในการทดลองนาน จึงทาการเปลี่ ยนแหล่งจ่ายไฟเป็ นแบบ
คงที่ และท าการเพิ่ ม ค่ าความต้านทานในวงจรการทดลองแทน เพื่ อให้ได้ก ระแสตามที่
ต้องการ

3.1.4 ความต้ านทานโหลดและค่ าความต้ านทานเบอร์ เดน


3.1.4.1 ความต้านทานโหลด (Rstep 0-10 A)
ใช้ ความต้านทาน 1 โอห์ม 30 วัตต์ ขนานกันจานวน 2 ตัว ได้ค่าความต้านทาน
เป็ น 0.5โอห์ม 60 วัตต์ จานวน 10 ชุด

3.1.4.2 ค่าความต้านทานเบอร์ เดน (Rload)


Z b = 0 โอห์ม, 2 โอห์ม และ 3โอห์ม หลักการเลือกค่า Z b ซึ่ง สอดคล้องกับค่า
เบอร์เดนของ CT ซึ่ งค่าเบอร์ เดนของ CT = 2VA เราจึงเลือก Z b ได้ดงั นี้
เมื่อ CT = 2VA ค่าเบอร์ เดน
จาก S = I2R VA เมื่อ CT เป็ น 10 /5
ดังนั้น R = 2 เมื่อ I = 1 A
12
ได้ Z b= 2 โอห์ม
สาเหตุที่เราเลือก Z b สู งสุ ดเป็ น 2 และ 3 โอห์ม เพราะต้องการศึกษาคุณลักษณะของหม้อ
แปลงกระแส หากค่าเบอร์ เดนมีค่าสู งมากขึ้น
58

3.2 ซอฟแวร์
3.2.1 การเขียนโปรแกรมสาหรับช่ วยในการเรียนรู้ หม้ อแปลงกระแส (Auto Ware)
ในการทาโครงงานในครั้ งนี้ นอกจากจะมี ใบงานการทดลอง เนื้ อหาภาคทฤษฏี
แล้ว ยังมีการใช้โปรแกรมเข้ามาช่วยในสอนภาคทฤษฏี

ภาพที่ 3.2 โปรแกรม (Auto Ware)

Authorware เป็ นโปรแกรมที่ใช้ ในการสร้ างสรรค์ ผลงานมัลติมีเดี ยหรื องาน


นาเสนอ โดยความสามารถเป็ นที่รู้ จักและนิ ยมใช้ กันทัว่ ไป คือ การนามาสร้างเป็ นสื่ อ
การสอนบนคอมพิ วเตอร์ หรื อที่ เรี ย กว่ า CAI (Computer Assisted Instruction) ซึ่ งลัก ษณะการ
ท างานจะคล้ ายกับ โปรแกรม PowerPoint แต่ การท างานของโปรแกรม Authorware จะมี
ลัก ษณะที่ โด่ ดเด่ นกว่า คื อ สามารถสร้ างการโต้ ตอบและวัดประเมิ น ผลของผู้ ใช้ ได้
หลากหลายรู ปแบบ การทางานอยู่ ในรู ปแบบของเส้ น Flowline ซึ่ งคล้ ายกับการเขียนแผนผัง
หรื อการเขียนโฟลว ชาร์ ต เมื่อต้ องการโปรแกรม Authorware จัดเป็ นโปรแกรมประเภท
59

Authoring System ที่ ใช้ ใ น ก ารเรี ยบ เรี ยงงาน น าเส น อ ลั ก ษ ณ ะ Multimedia มี ทั้ งภ าพ นิ่ ง
ภาพเคลื่อนไหว เสี ยงเพลง เสี ยงอธิบาย Sound
Effect ได้ หลายรู ปแบบ ซึ่ งจากคุณสมบัติดงั กล่ าว สามารถนาไปประยุกต์ ใช้ได้ อย่ างก
ว้างขวาง การ
สร้ างผลงานเป็ นการใช้ สัญลักษณ์ (Icon) แทนคาสั่ง ซึ่ งทาให้ ง่ ายและสะดวกในการ
ใช้ งานมาก

3.2.2 การเขียนโปรแกรมสาหรับช่ วยในการทดสอบหม้ อแปลงกระแส (Visual Basic)


ในการทาโครงงานในครั้ งนี้ นอกจากจะมี ใบงานการทดลอง เนื้ อหาภาคทฤษฏี
แล้ว ยังมี การใช้โปรแกรมเข้ามาช่ วยในสอนภาคทฤษฏี และโปรแกรมที่ ใช้สาหรับทดสอบหม้อ
แปลงกระแสซึ่ งอ้างอิงตามทฤษฏีและการคานวณ Visual Basic โดยมีการกาหนดรู ปแบบคาสัง่ การ
ทางานและสู ตรการคานวณต่างๆ แบ่งเป็ น 7 ใบงาน ซึ่ งผลที่ ได้จากการทดสอบนี้ สามารถนาไป
อ้างอิงกับการทดสอบหม้อแปลงกระแสในการทดสอบภาคปฏิบตั ิได้อย่างสมบูรณ์
3.2.2.1 การสร้ างโปรแกรมช่ วยทดสอบหม้ อแปลงกระแส
ในการสร้างโปรแกรมนั้นจะต้องมีการวิเคราะห์ทฤษฏี ที่ใช้ในการคานวณค่าของ
แต่ล ะใบงาน ว่าจะต้องกาหนดค่ าใดบ้าง และค่ าผลลัพ ธ์ ที่ ตอ้ งการคื อค่ าใดบ้าง เพื่ อให้ได้ม าซึ่ ง
ขอบเขตและความถูกต้องของโปรแกรม เมื่อได้ขอบเขตและค่าที่จะต้องกาหนดทั้งหมดแล้ว จะต้อง
น าค่ า ต่ า งๆมาออกแบบเพื่ อ สร้ า งโปรแกรมตามขั้น ตอนอย่ า งเป็ นระบบ โดยทางกลุ่ ม มี ก าร
กาหนดการทางานของโปรแกรมในแต่ละใบงานในรู ปแบบผังขั้นตอน หรื อ Flow chart เพื่อให้ง่าย
ต่อการสร้างโปรแกรมนี้
3.2.2.1.1 ฟังก์ชันทีน่ ามาใช้ ในการเขียน
1.Visual Basic
Visual Basic เป็ นฟั งก์ชันหนึ่ งที่ ม าพร้ อมกับ Microsoft Office 2003 อยู่แล้ว ซึ่ ง
ฟั งก์ชนั นี้ จริ งแล้วมีข้ ึนเพื่อประโยชน์หลักคือลดการทางานที่ซ้ าซ้อนโดยการกาหนดรหัสที่ตอ้ งมี
การทาซ้ าบ่อยๆลงในวัตถุ(Object) แล้วสามารถควบคุมการทางานได้อย่างสะดวก
ข้อดีของ Visual Basic
-ง่ายต่อการเรี ยนรู ้เนื่องจาก Visual Basic เป็ นเครื่ องมือที่มีอยูใ่ นชุด Microsoft
Excel ซึ่ งมีรูปแบบการทางานยืดหยุน่
-ลดการกระทาที่ซ้ าซ้อน โดยการใช้คาส่ งใน Visual Basic แทนการทางานได้เลย
ข้อเสี ยของ Visual Basic
60

-ไม่ควรใช้ Visual Basic ทางานแทนการทางานที่ไม่มีการทาซ้ าหรื อใช้งานน้อย


-ต้องมีการกาหนด คาอธิ บาย ในกรณี ที่ชุดคาสั่งยาวๆ เพื่อง่ายต่อการแก้ไข

3.2.2.2 ขั้นตอนการสร้ างโปรแกรม


1.กาหนดลาดับการเขียนโปรแกรมโดยสร้างเป็ น Flowchart เพื่อง่ายต่อการเขียน
โปรแกรม
61

Open Program

Manu Select Labtest

Refresh Insert Data

Test Resualt

No
Show Graph
Yes
Save / Print

End/ Back To Manu

ภาพที่ 3.3 การเขียนผังขั้นตอน (Flow Chart)

2.นา Flow Chart ไปเขียนโปรแกรมตามขั้นตอนที่กาหนด


3.กาหนดวัตถุที่ใช้ในการเขียน และใช้ในการปรับค่าที่ตอ้ งการอย่างเหมาะสม
62

4.ลงรหัสด้วย Visual Basic ให้กบั วัตถุ ที่กาหนดแต่ละตัวในโปรแกรม พร้ อมทั้ง


ทาการทดสอบรหัสหากผิดพลาดก็ทาการแก้ไขทันที

ภาพที่ 3.4 รหัสที่ลงให้กบั วัตถุเพื่อกาหนดการควบคุม

5.ทดสอบการทางานหลังการเขียนโปแกรมทุกใบงาน แล้วเปรี ยบเทียบค่าที่ได้กบั


ทฤษฏีหากตรงกันแสดงว่ารหัสที่เขียนมีความถูกต้อง หากไม่ตรงให้ทาการ
ตรวจสอบรหัสอีกครั้ง
63

ภาพที่ 3.5 หน้าเมนูของโปรแกรม

ภาพที่ 3.6 การทดลองที่ 1 การทดสอบอัตราส่ วนของหม้อแปลง (Ratio Test)

You might also like