You are on page 1of 12

1) เนื้อเรือ

่ ง

กองทัพของพระนเรศวรมหาราชและสมเด็จพระเอกาทศรถได้ทรงเดินทั
พมารบกับกองทัพของพระมหาอุปราชาทีท ่ รงยกทัพมาหมายจะตีเมืองกาญจน
บุรีขณะนัน ้ ช้างของทัง้ สองพระองค์กาลังตกมันพอได้ยน ิ เสียงกลองจึง
ตกใจวิง่ เข้าไปในกลางวงล้อมของทัพพม่า
ด้วยพระราชอัจฉริยะของพระองค์พระองค์ทรงเชิญพระมหาอุปราชาให้ออกม
าทายุตถหัตถีดว้ ยกันอย่างมีเกียรติเพราะยุทธหัตถีคอื การทาสงครามของพระม
หากษัตริย์โดยไม่มีเหล่าไพร่พลทหารมาเกีย่ วข้อง
ท้ายทีส
่ ุดพระมหาอุปราชาทรงขาดคอช้างพ่ายแพ้แก่พระนเรศวรมหาราช
หลังจากกลับมาถึงกรุงศรีอยุธยา
สมเด็จพระนเรศวรมหาราชได้มีพระบรมราชโองการ
ลงโทษเหล่าทหารทีต ่ ามพระองค์ไม่ทน ั แต่พระวันรัต
ได้กราบทูลขอพระราชทานอภัยโทษแทนทหารเหล่านัน ้ ไว

2) โครงเรือ
่ ง

กษัตริย์พระองค์หนึ่งทรงทราบเกีย่ วกับการสิน
้ พระชนม์ของกษัตริย์เมือ
งคูอ่ ริจงึ ทรงมีพระราชประสงค์จะเข้ายึดบ้านเมืองศัตรูในขณะทีบ ่ า้ นเมืองกาลัง
่ วาย องค์รชั ทายาท ซึง่ ขณะนัน
วุน ้ ทรงขึน้ ครองราชย์เป็ นกษัตริย์พระองค์ตอ ่ มา
ทรงป้ องเมืองจากการรุกรานของกษัตริย์ดงั กล่าวไว้ได้ดว้ ยพระปรีชาสามารถทั้
งทางด้านสติปญ ั ญาและการรบ และสามารถปกป้ องบ้านเมืองไว้ได้

3) ตัวละคร
3.1) ฝ่ ายไทย
1. สมเด็จพระนเรศวรมหาราช (พระองค์ดา)
สมเด็จพระนเรศวรมหาราชหรือพระองค์ดา
พระมหาธรรมราชาเป็ นพระบรมชนกนาถ มีพระนามว่า สมเด็จพระนเรศวร
หรือสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ ๒ กษัตริย์องค์ที่ ๑๘ แห่งกรุงศรีอยุธยา
ทรงเป็ นพระมหากษัตริย์ทเี่ ก่งกล้าสามารถ
เป็ นผูป
้ ระกาศเอกราชหลังจากทีเ่ สียไปให้กบ
ั พม่าถึง ๑๕ ปี
รวมทัง้ ขยายราชอาณาจักรให้กว้างใหญ่ ทาสงครามกับพม่า
จนพม่าหวาดกลัวไม่กล้ามารบกับไทยอีกเลยเป็ นเวลาร้อยกว่าปี
ทรงเสด็จสวรรคตในขณะทีเ่ สด็จไปทาศึกกับกรุงอังวะ เสด็จสวรรคตวันที่ ๒๕
เมษายน พ.ศ.๒๑๔๘ พระชนมายุได้ ๕๐ พรรษา ครองราชย์ได้ ๑๕

1
2. สมเด็จพระเอกาทศรถ (พระองค์ขาว)
สมเด็จพระเอกาทศรถหรือพระองค์ขาว
อนุชาของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงดารงตาแหน่ งอุปราช
ครองเมืองพิษณุโลก แต่มีเกียรติยศเสมอพระเจ้าแผ่นดิน
ตลอดรัชกาลสมเด็จพระนเรศวร
ทรงออกศึกทาสงครามร่วมกับสมเด็จพระนเรศวรตลอด
และทรงครองราชย์ตอ ่ จากสมเด็จพระนเรศวร
พระนามว่าสมเด็จพระเอกาทศรถ หรือสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ ๓
มีพระราชโอรสทีป ่ ระสูตจิ ากพระอัครมเหสี สององค์คอ ื เจ้าฟ้ าสุทศั น์
และเจ้าฟ้ าศรีเสาวภาค และมีพระราชโอรสทีป ่ ระสูตจิ ากพระสนม
อีกสามองค์คอ ื พระอินทรราชา พระศรีศลิ ป์ และพระองค์ทอง
สมเด็จพระเอกาทศรถเสด็จสวรรคตเมือ ่ ปี พ.ศ.๒๑๕๓ พระชนม์พรรษาได้ ๕๐
พรรษาเศษ ครองราชย์ได้หา้ ปี

3. สมเด็จพระวันรัต (พระมหาเถรคันฉ่ อง)


สมเด็จพระวันรัตเดิมชือ ่ พระมหาเถรคันฉ่ อง พระชาวมอญ
จาพรรษาอยูท ่ วี่ ดั ป่ าแก้ว หรือวัดใหญ่ชยั มงคลในปัจจุบน ั
มีบทบาทครัง้ สาคัญคือ ในคราวทีส่ มเด็จพระนเรศวรประกาศอิสรภาพ
ท่านเป็ นผูเ้ กลี้ยกล่อมให้พระยาเกียรติ ์
และพระยารามทีพ ่ ระเจ้าหงสาวดีสง่ มาให้ลอบกาจัดพระนเรศวร
พระมหาเถรคันฉ่ องทราบก่อน จึงนาความกราบทูลพระนเรศวร
และเกลี้ยกล่อมให้ พระยาเกียรติ ์ และพระยาราม
รับสารภาพและเข้าร่วมกับพระนเรศวร วีรกรรมอีกครัง้ หนึ่งของท่านคือ
การขอพระราชทานอภัยโทษ
บรรดาแม่ทพ ั นายกองทีต ่ ามเสด็จสมเด็จพระนเรศวรไม่ทน ั
ต้องโทษประหารชีวต ิ สมเด็จพระวันรัตได้ขอบิณฑบาต
พระราชทานอภัยโทษบรรดาแม่ทพ ั นายกองทัง้ หลาย

3.2) ฝ่ ายพม่า
1. พระเจ้าหงสาวดี (นันทบุเรง)
พระเจ้าหงสาวดี หรือนันทบุเรง กษัตริย์พม่า เดิมชือ ่ มังชัยสิงห์ราช
โอรสของบุเรงนอง ดารงตาแหน่ งอุปราชในสมัยบุเรงนอง
ึ้ ครองราชย์ตอ
ได้ขน ่ จากบุเรงนอง พระราชบิดา
ทรงหวังทีจ่ ะสร้างความยิง่ ใหญ่เหมือนกับพระราชบิดา แต่ก็ทาไม่สาเร็จ
สุดท้ายถูกลอบวางยาพิษสิน ้ พระชนม
2. พระมหาอุปราชา
โอรสของนันทบุเรง ดารงดาแหน่ งอุปราชาในสมัยของนันทบุเรง
เดิมชือ่ มังสามเกียด หรือมังกะยอชวา

2
เป็ นเพือ
่ นเล่นกันกับพระนเรศวรในสมัยทีพ
่ ระองค์ประทับอยูท
่ ก
ี่ รุงหงสาวดี
ทรงทางานสนองพระราชบิดาหลายครัง้ โดยเฉพาะราชการสงคราม
และได้ถวายงานครัง้ สุดท้ายในการยกทัพ ๕ แสนมาตีไทย
และสิน้ พระชนม์ในการทายุทธหัตถีกบั สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

3. พระยาจิดตอง
แม่กองการทาสะพานเชือกข้ามแม่น้ากระเพิน

4) ฉากท้องเรือ
่ ง
ฉากทีไ่ ด้ปรากฏในเรือ ่ งคือ
เหตุการณ์ ทีบ ่ รรยายเกีย่ วกับการปะทะกันของพระนเรศวร และ
พระมหาอุปราชา ระหว่างการทา
ยุทธหัตถีทง้ ั สองพระองค์ทรงช้างคูก ่ ายมาชนกัน สูร้ บไปมาอย่างไม่ยอมกัน
ซึง่ ทัง้ สองฝ่ ายทรงมีความว่องไวเป็ นอย่าง มาก
ทัง้ ควานช้างและทัง้ สองพระองค์ทรงสูก ้ น
ั อย่างดุเดือด
ช้างทัง้ สองฝั่งถูกตัง้ ชือ
่ ให้เป็ นแบบดีและไม่ดี
ฝั่งพระเนรศวรเป็ นช้างของพระอินทร์สว่ นฝั่งช้างของพระมหาอุปราชาเป็ นช้า
งของมาร ซึง่ บทประพันธ์บทนี้สามารถ แสดงความคิดของกวีได้อย่างชัดเจน
กวียงั อธิบายต่ออีกว่าทางด้านคนบังคับช้างของพระนเรศวรสามารถต้านช้างข
อง
อีกฝั่งได้และระหว่างรบไม่มีใครยอมใครต่างฝ่ ายต่างเหวีย่ งอาวุธใส่กน ั อย่างไ
ม่เกรงกลัว ซึง่ เป็ นการรบกันอย่างตัวต่อตัว

หัสดินปิ่ นธเรศไท้ โททรง


คือสมิทธิมาตงค์ หนึ่งอ้าง
หนึ่งคือคิรเิ มขล์มง- คลอาสน์มารเอย
เศียรส่ายหงายงาคว้าง ไขว่แคว้งแทงโถม

สองโจมสองจูจ้ ว้ ง บารู
สองขัตติยสองขอชู เชิดดา้
กระลึงกนะลอกดู ไวว่องนักนา
ควาญขับคชแข่งคา้ เข่นเขีย้ วในสนาม

งามสองสุรยิ ราชลา้ เลอพิศ นาพ่อ


พ่างพัชรินทรไพจิตร ศึกสร้าง
่ รณฤทธิ ์
ฤรามเริม รบราพณ์ แลฤ
ทุกเทศทุกทิศอ้าง อืน
่ ไท้ไป่ เทียม

ขุมเสียมสามรรถต้าน ขุนตะเลง 3
ขุนต่อขุนไป่ เยง หย่อนห้าว
ยอหัตถ์เทิดลบองเลบง อังกุศ ไกวแฮ
5) บทเจรจาหรือราพึงราพัน
บทเจรจาหรือราพึงราพันของพระมหาอุปราชาถึงนาง

มาเดีย่ วเปลีย่ วอกอ้า อายสู


สถิตอยูเ่ อ้องค์ดู ละห้อย
พิศโพ้นพฤกษ์ พบู บากเบิน ใจนา
พลางคะนึงนุชน้อย แน่ งเนื้อนวลสงวน

สลัดใดใดสลัดน้อง แหนงนอน ไพรฤา


เพราะเพือ
่ มาราญรอน เศิกไสร้
สละสละสมร เสมอชือ
่ ไม้นา
นึกระกานามไม้ แม่นแม้นทรวงเรียม

สายหยุดหยุดกลิน
่ ฟุ้ ง ยามสาย
สายบ่หยุดเสน่ ห์หาย ห่างเศร้า
กีค
่ น
ื กีว่ น
ั วาย วางเทวษ ราแม่
ถวิลทุกขวบค่าเช้า หยุดได้ฉน
ั ใด

จากบทราพึงราพันนี้สามารถถอดความได้วา่
พระมหาอุปราชาต้องเสด็จมาเพียงผูเ้ ดียวอย่างเหงาใจ
แต่การทีพ ่ ระองค์ได้ชมนกชมไม้สามารถทาให้พระองค์เบิกบานใจขึน ้ มาได้
แต่อย่างไรก็ตามพระองค์ก็ยงั คิดถึงเหล่าสนมและเหล่ากานัลของพระองค์ทง้ ั ห
ลาย เมือ่ ทอดพระเนตรไปเห็นต้นสลัด
ก็นึกถึงการทีพ่ ระองค์ตอ
้ งจากนางทัง้ หลายมาในป่ าเมือ
่ ทาสงครามกับศัตรู
เห็นต้นสละก็เหมือนการสละน้องมาอยูใ่ นป่ า
ครัน
้ เห็นต้นระกาก็นึกถึงตัวพระองค์เอง

4
เห็นต้นสายหยุดทีเ่ มือ ่ ยามสายก็หมดกลิน

แต่ใจของพระองค์แม้ยามสายก็ยงั ไม่คลายรักน้องจะกีค
่ น
ื กีว่ น
ั ทีจ่ ากน้องมานัน

มีแต่ความทุกข์ระทม คอยคิดถึงน้องทุกค่าเช้า
ไม่รวู ้ า่ จะหยุดรักน้องได้อย่างไร

6) แก่นเรือ
่ ง
แก่นสาคัญของลิลต
ิ ตะเลงพ่าย คือ
การยอพระเกียรติสมเด็จพระนเรศวรมหาราชในด้านพระปรีชาสามารถทางกา
รรบโดยการกระทาสงครามยุทธหัตถีกบ ั พระมหาอุปราชาแห่งกรุงหงสาวดีและ
ได้รบ
ั ชัยชนะอย่างงดงาม นอกจากพระปรีชาสามารถทางการรบแล้ว

7) การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม

7.1) การสรรคา

ลิลต
ิ ตะเลงพ่ายเป็ นวรรณคดีมรดกลา้ ค่าทีค
่ นไทยควรศึกษาเพือ่ ให้เกิดค
วามภาคภูมใิ จในวีรกรรมของนักรบไทยและภูมใิ จในภาษาไทยทีก ่ วีใช้ถา่ ยทอ
ดเรือ
่ งราวได้อย่างมีคณุ ค่าทางด้านวรรณศิลป์
ด้วยการเลือกใช้ถอ ้ ยคาได้อย่างไพเราะ ดังนี้

7.1.1) การใช้คาทีเ่ หมาะแก่เนื้อเรือ


่ งและฐานะของบุคคล
กวีเลือกใช้คาทีแ
่ สดงฐานะของบุคคล ดังนี้

เบื้องนัน
้ นฤนาถผู้ สยามินทร์
เบีย่ งพระมาลาผิน ห่อนพ้อง
ศัสตราวุธอรินทร์ ฤาถูก องค์เอย
เพราะพระหัตถ์หากป้ อง ปัดด้วยขอทรง

จากโคลงบทนี้ กวีเลือกใช้คาทีม ์ าสูง


่ ีศกั ดิค
แสดงให้เห็นภาพเด่นชัดและไพเราะ เช่น
นฤนาถ หมายถึง กษัตริย์
สยามินทร์ หมายถึง กษัตริย์สยาม (กษัตริย์อยุธยา)
พระมาลา หมายถึง หมวก
ศัตราวุธอรินทร์ หมายถึง อาวุธของข้าศึก
องค์ หมายถึง สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

5
พระหัตถ์ หมายถึง มือ
ขอทรง หมายถึง ขอสับสาหรับบังคับช้าง อยูใ่ ต้คอของช้าง

การใช้คาโดยคานึงถึงเสียงความไพเราะของถ้อยคาหรือความงามของถ้อยคา
นัน
้ พิจารณาทีก ่ ารใช้สม
ั ผัส การเล่นคา เล่นความ การเลียนเสียงธรรมชาติ
เป็ นต้นลิลต
ิ ตะเลงพ่ายมีการใช้คาทีม
่ ีเสียงเสนาะ ดังนี้

7.1.2) มีการใช้สม
ั ผัสสระและสัมผัสพยัญชนะในคาประพันธ์ทุกบท
ทาให้เกิดความไพเราะ เช่น
“.....ถับถึงโคกเผาเข้า พอยามเช้ายังสาย หมายประมาณโมงครบ
ประทบทัพรามัญ ประทันทัพพม่า ขับทวยกล้าเข้าแทง ขับทวยแขงเข้าฟัน
สองฝ่ ายยันยืนยุทธ์ อุดอึงโห่เอาฤกษ์ เอิกอึงเห่เอาชัย สาดปื นไฟยะแย้ง
แผลงปื นพิษยะยุง่ พุง่ หอกใหญ่คะคว้าง ขว้างหอกซัดคะไขว่ ไล่คะคลุกบุกบัน
เงือ
้ ดาบฟันฉะฉาด งาง้าวฟาดฉะฉับ.....”

สัมผัสสระ ได้แก่ เข้า – เช้า สาย - หมาย ครบ – ทบ รามัญ – ทัน พม่า
– กล้า แทง – แข็ง ฟัน – ยัน ยุทธ์ – อุด ฤกษ์ – เอิก ชัย – ไฟ แย้ง – แผลง
ยุง่ – พุง่ คว้าง – ขว้าง ไขว่ – ไล่ บัน – ฟัน ฉาด – ฟาด

สัมผัสพยัญชนะ ได้แก่ ถับ – ถึง โคก – เข้า ยาม – ยังหมาย – ประมาณ


–โมง ประทบ – ทับ ประทัน – ทัพ ขับ – เข้า ทวย – แทง ขับ – แขง – เข้า ยัน –
ยืน – ยุทธ์ อุด – อึง – เอา เอิก – อึง – เอา ยะ – แย้ง ยะ – ยุง่ คะ – คว้าง บุก– บัน
ฉะ – ฉาด ง่า – ง้าว ฉะ – ฉับ

7.1.3) การเล่นคา
่ ให้มีความลึกซึง้ และเกิดอารมณ์ กระทบใจผูอ
เพือ ้ า่ นโดยเน้นนัยของคาว่า
สายหยุด ว่า ดอกสายหยุดจะหยุดส่งกลิน ่ หอมเมือ่ ล่วงเข้าเวลาสาย
แต่ยามสายนัน ้ ก็มอ
ิ าจหยุดความรัก ความเสน่ หา ทีม ่ ีตอ่ นางอันเป็ นทีร่ กั ได้ เช่น
สายหยุดหยุดกลิน
่ ฟุ้ ง ยามสาย
สายบ่หยุดเสน่ ห์หาย ห่างเศร้า
กีค
่ น
ื กีว่ น
ั วาย วางเทวษ ราแม่
ถวิลทุกขวบค่าเช้า หยุดได้ฉน ั ใด

6
7.1.4) การเลียนเสียงธรรมชาติ เช่น
“....เจ้าพระยาไชยานุภาพ เจ้าพระยาปราบไตรจักร
ตรับตระหนักสาเนียง เสียงฆ้องกลองปื นศึก อีกเอิกก้องกาหล เร่งคารนเรียกมัน
ชันหู ชูหางเล่น แปร้นแปร๋แลคะไขว่.”

7.1.5) การใช้คาอัพภาส คือ การซา้ อักษรลงหน้าคาศัพท์


ทาให้เกิดความไพเราะ เช่น
“...สาดปื นไฟยะแย้ง แผลงปื นพิษยะยุง่ พุง่ หอกใหญ่คะคว้าง
ขว้างหอกซัดคะไขว่ไล่คะคลุกบุกบัน เงือ
้ ดาบฟันฉะฉาด ง่าง้าวฝาดฉะฉับ...”

7.2) การเรียบเรียงคา
7.2.1) มีการเรียงข้อความทีบ
่ รรจุสาระสาคัญไว้ทา้ ยสุด
เบื้องนัน
้ นฤนาถผู้ สยามินทร์
เบีย่ งพระมาลาผิน ห่อนพ้อง
ศัสตราวุธอรินทร์ ฤถูก องค์เอย
เพราะพระหัตถ์หากป้ อง ปัดด้วยขอทรง
บทประพันธ์ขา้ งต้น ถอดความได้วา่ สมเด็จพระนเรศวรทรงเบีย่ งพระมาลา
หลบการโจมตีของพระมหาอุปราชา และทรงใช้พระแสงของ้าวปัดป้ องออก
ทาให้อาวุธของพระมหาอุปราชาไม่ถูกพระวรกายของพระองค์สาระ
สาคัญก็คอ ื
อาวุธของพระมหาอุปราชาไม่ถูกพระวรกายของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
ซึง่ อยูท
่ า้ ยสุด
7.2.2) มีการเรียงประโยคให้เนื้อหาเข้มข้นขึน ้ ไปตามลาดับ
ดุจขัน ้ สุดท้าย ซึง่ สาคัญทีส
้ บันได จนถึงขัน ่ ุด

อุรารานร้าวแยก ยลสยบ
เอนพระองค์ลงทบ ท่าวดิน

เหนือคอคชซอนซบ สังเวช
วายชีวาตม์สุดสิน
้ สูฟ
่ ้ าเสวยสวรรค์
7
บทประพันธ์ขา้ งต้น ถอดความได้วา่ พระอุระของพระมหาอุปราชา
ถูกพระแสงของ้าวฟันจนเป็ นรอย พระวรกายของพระองค์เอนซบลงบนคอช้าง
น่ าสังเวชยิง่ นัก
พระองค์ทรงสิน ั ทีซงึ่ เป็ นการเล่าเรือ
้ พระชนม์ทน ้ ตามลาดับ
่ งทีเ่ ข้มข้นขึน
7.2.3) มีการเรียงถ้อยคาให้เป็ นประโยคคาถามเชิงวาทศิลป์
อ้าไทภูธเรศหล้า แหล่งตะเลง โลกฤ
เผยพระยศยินเยง ย่านแกล้ว
สิบทิศทั่วลือละเวง หวั่นเดช ท่านนา
ไป่ เริม ์ ผ้ว
่ รอฤทธิแ เผือดกล้าแกลนหนี

บทประพันธ์ขา้ งต้น ถอดความได้วา่ กษัตริย์ผยู้ งิ่ ใหญ่แห่งประเทศมอญ


มีพระเกียรติยศเลือ ่ งลือไปสิบทิศ ใครได้ยน ิ ก็หวั่นเกรงในพระบรมเดชานุภาพ
ทาไมถึงไม่กล้าต่อสูแ ้ ล้วรีบหนีไป
บทประพันธ์นี้มีการถามคาถามกับพระมหาอุปราชา
จึงถือได้วา่ เป็ นการเรียบเรียงถ้อยคาให้เป็ นประโยคคาถามเชิงวาทศิลป์

7.3) การใช้โวหาร

 พรรณนาโวหาร:
ผูแ
้ ต่งใช้คาพรรณนาในการสูร้ บทาให้ผอู้ า่ นเห็นภาพช้างทรงของทัง้ สอง
พระ องค์ตา่ งสะบัดเหวีย่ งกันไปมาและยังมีการใช้อาวุธและผูค้ นล้มตาย
เช่น

พลอยพลา้ เพรียกถ้าท่าน ในรณ


บัดราชฟาดแสงพล พ่ายฟ้ อน
พระเดชพระแสดงดล เผด็จคู่ เข็ญแฮ
ถนัดพระอังสาข้อน ขาดด้าวโดยขวา

 การใช้โวหารเปรียบเทียบ หรืออุปมาโวหาร :

8
พระคุณตวงเพียบพื้น ภูวดล
เต็มตรลอดแหล่งบน บ่อนใต้
พระเกิดพระก่อนชนม์ ชุบชีพ มานา
เกรงบ่ทน
ั ลูกได้ กลับเต้าตอบสนอง
บทประพันธ์ขา้ งต้นมีการใช้คาอุปมา
เปรียบเทียบพระคุณของพระเจ้าหงสาวดีเป็ นพื้นแผ่นดิน

 บรรยายโวหาร
วรรณคดีเรือ ่ งลิลติ ตะเลงพ่ายมีการใช้บรรยายโวหาร ในการอธิบาย
และเล่าเรือ
่ งราวเหตุการณ์ ทางประวัตศ ิ าสตร์เกีย่ วกับการทาสงครามยุทธหัตถี
ของพระมหากษัตริย์เพือ ่ ให้ผอ ู้ า่ นได้รบั ความรูแ
้ ละความเข้าใจในเรือ
่ งนัน
้ ๆอย่
างละเอียด อีกทัง้ ยังใช้คาทีส
่ ือ
่ ความหมายตรงไปตรงมา
สามารถเข้าใจได้ชดั เจน

8) คุณค่าทางอารมณ์

คุณค่าด้านอารมณ์ ของวรรณคดีเรือ
่ งลิลต
ิ ตะเลงพ่าย ตัวอย่างเช่น

มาเดียวเปลีย่ วอกอ้า อายสู


สถิตอยูเ่ อ้องค์ดู ละห้อย
พิศโพ้นพฤกษ์ พบู บานเบิก ใจนา
พลางคะนึงนุชน้อย แน่ งเนื้อนวลสงวน

จากตัวอย่างบทความข้างต้น
กวีแสดงให้เห็นถึงอารมณ์ รกั และอาลัยของพระมหาอุปราชาทีม ่ ีตอ
่ พระสนม มี
ส่วนทาให้ผอู้ า่ นรูส้ ก
ึ เห็นพระมหาอุปราชาทีใ่ จจริงไม่ได้อยากยกทักมาต่อสูก
้ บั
ไทยแต่เหตุผลเป็ นเพราะ ไม่
สามารถขัดค าสั่งพระเจ้าหงสาวดีนน ั ทบุเรง ไม่ได้

9
9) คุณค่าด้านคุณธรรม

ลิลต
ิ ตะเลงพ่ายมีคณ
ุ ค่าด้านประวัตศ
ิ าสตร์ในฐานะวรรณคดีเฉลิมพระเกี
ยรติ
เนื้อหาในวรรณคดีเป็ นเหตุการณ์ ในประวัตศิ าสตร์ทม
ี่ ีการบันทึกในพระราชพ
งศาวกรุงศรีอยุธยาฉบับพันจันทนุมาศ
เล่าถึงเหตุการณ์ สงครามยุทธหัตถีและชัยชนะของไทย

หวังเริม
่ คุณเกียรติกอ้ ง กลางรงค์
ยืนพระยศอยูค่ ง คูห
่ ล้า
สงครามกษัตริย์ทรง ภพแผ่น สองฤา
สองราชรอนฤทธิร์ า้ เรือ
่ งรูส้ รเสริญ

นอกจากนี้วรรณคดีเรือ
่ งลิลต
ิ ตะเองพ่ายยังเป็ นตัวอย่างทีด
่ ท
ี จี่ ะปลุกกระแ
สความรักชาติให้แก่คนในสังคมให้คนในสังคมรักกันมีการนาวรรณคดีเรือ ่ งนี้
ไปสอนบรรดาทหารและเยาวชนให้เกิดความภาคภูมใิ จใน
วีรกรรมของบรรพบุรุษ

10) คุณค่าด้านวรรณศิลป์

เป็ นวรรณคดีเฉลิมพระเกียรติทดี่ เี ด่นทัง้ เนื้อหา สานวนโวหาร


และกลวิธีการแต่ง
กวีได้นาข้อเท็จจริงทางประวัตศ
ิ าสตร์มาผสมผสานกับเนื้อกาที่สร้างสรรค์จาก
จินตนาการ มีการดาเนินเรือ ่ งทีส่ ะเทือนอารมณ์ และเร้าใจผูอ ้ า่ น
มีการเลือกสรรถ้อยคาอย่างประณี ตและเหมาะสม
เช่นเหตุการณ์ ตอนทาศึกสงครามมีการใช้คาที่
แสดงความฮึกเหิมและก้าวหาญในการต่อสูท ้ าให้ผอู้ า่ นรูส้ ก
ึ ตืน
่ เต้นและเร้าใจ

สองโจมสองจูจ่ ว้ ง บารู
สองขัตติยสองขอชู เชิดดา้
กระลึงกระลอกดู ไวว่อง นักนา
ควาญขับคชแข่งค้ า เข่นเขีย้ วในสนาม

10
11) คุณค่าด้านสังคม

เป็ นวรรณคดีทม ี่ ีคณ


ุ ค่าทางประวัตศ ิ าสตร์กวีไม่ได้มีการบิดเบือนข้อเท็จ
จริงจากพงศาวดารเช่น เส้นทางเดินทัก หรือ ไพร่พลในกองทัพ
ไม่ให้คลาดเคลือ ่ นไปจากเดิม
เนื้อหาบางส่วนของลิลต ิ ตะเองพ่ายก็ได้แสดงให้เห็นถึงวาทศิลป์ของผูน ้ าตัวอย่
างเช่นตอนทีส ่ มเด็จพระนเรศวรและสมเด็จพระเอกาทศรถตกเข้าไปในวงล้อม
ข้าศึกทรงสามารถแก้ไข้สถานการณ์ ดว้ ยการกล่าวเชิญพระมหาอุปราชให้เสด็จ
ออกมาทาศึกยุทธหัตถี
ซึง่ เป็ นธรรมเนียมการละเล่นของกษัตริย์ชาตินกั รบสมเด็จพระนเรศวรมหารา
ชทรงกล่าวเชิญพระมหาอุปราชด้วยความนอบน้อมโดยใช้คาเรียกว่า”พระพี”่
ทาให้เห็นว่าการพูดกับศัตรูก็สามารถใช้คาพูดทีอ ่ อ
่ นหวานและนุ่มนวลได้

พระพีพ
่ ระผูผ
้ า่ น ภพอุต- ดมเอย
ไป่ ชอบเชษฐ์ยืนหยุด ร่มไม้
เชิญราชร่วมคชยุทธิ ์ เผยยอเกียรติ ไว้แฮ
สืบกว่าสองเราไสร้ สุดสิน
้ ฤๅมี ฯ

11
บรรณานุกรม

กระทรวงศึกษาธิการ, กระทรวง. ส
านักงานคณะกรรมการศึกษาขัน้ พื้นฐาน.วรรณคดีวจิ กั ษ์ . ๒๕๕๑ ถนน
ลาดพร้าว แขวงสะพานสอง เขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร:
สกสค.ลาดพร้าว, ๒๕๕๑. หน้า ๔๓-๗๑. ข้อคิดจากเรือ
่ งลิลต
ิ ตะเลงพ่าย
[ออนไลน์] เข้าถึงเมือ
่ วันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๖๑ สืบค้นได้จาก
https://alilit.wordpress.com/2011/08/12/ข้อคิด
และชัยชนะของไทย
[ออนไลน์]. เข้าถึงเมือ
่ วันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๖๑. สืบค้นได้จาก
https://sites.google.com/site/vongrapi/neux-reuxng/txn-thi-
6-yuththhatthi-laeachaychna-khxng-thiy
บทวิเคราะห์ดา้ นวรรณศิลป์
[ออนไลน์]. เข้าถึงเมือ
่ วันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๑ สืบค้นได้จาก
https://sites.google.com/a/htp.ac.th/lilitalangpai/9-bth-
wikheraah/8-2-dan-wrrnsilp บุญกว้าง ศรีสุทโธ. การสรรคา
[ออนไลน์]. เข้าถึงเมือ
่ วันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๑ สืบค้นได้จาก
https://sites.google.com/a/htp.ac.th/reuxng-kar-xan-
wrrnkhdi/5-kar-phicarna- khunkha-bth-praphanth/5-2-
khunkha-dan-wrrnsilp/1-kar-srr-kha พันทิพย์
โขมะนาม.วรรณคดีไทยน่ าอ่าน เรือ
่ ง ลิลต
ิ ตะเลงพาย
[ออนไลน์]. เข้าถึงเมือ
่ วันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๑ สืบค้นได้จาก
https://thaistudym5.wordpress.com/
ตอนที-่ ๕-เนื้อหา- ลิลต
ิ ตะ/กิจกรรมเพือ
่ การเรียนรู/
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ พะเยา.
ลิลต
ิ ตะเลงพ่าย.

12

You might also like