You are on page 1of 40

ลิลิตตะเลงพาย

สมาชิก ๑๑๐๓
ติณณภพ เอื้อประเสริฐ เลขที่ ๑
ณัฐพัชร ฉัตรธนายงภักดี เลขที่ ๔
กนกพร แกวนาเคียน เลขที่ ๖
นภสร สวางไสว เลขที่ ๑๘
3

ผูประพันธ

สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมสมเด็จพระปรมานุชิตชิโนรส พระเจาบรมวงศเธอ กรมหมื่นภูบาลบริรักษ


ลิลิต
หมายถึง หนังสือที่แตงดวยคําประพันธประเภท
โคลง และราย สลับกันเปนชวงๆ
“ 5

ลักษณะการแตง

❖ เปนบทประพันธประเภทลิลิต
แตงดวยลิลิตสุภาพ ประกอบดวย รายสุภาพ โคลงสองสุภาพ โคลงสามสุภาพ และ
โคลงสี่สุภาพ

❖ แตงสลับกันไป จํานวน ๔๓๙ บท

❖ ไดแบบอยางการแตงมาจากลิลิตยวนพายที่แตงขึ้นในสมัยอยุธยาตอนตน

❖ จัดเปนวรรณคดีประเภทเฉลิมพระเกียรติพระมหากษัตริย
6

เนื้อเรื่อง
7

○ กองทัพของพระนเรศวรมหาราชและสมเด็จพระเอกาทศ
รถไดทรงเดินทัพมารบกับกองทัพของพระมหาอุป ราชาที่
เนื้อเรื่อง
ทรงยกทัพมาหมายจะตีเมืองกาญจนบุรีขณะนั้น ชางของ
ทั้งสองพระองคกําลังตกมัน พอไดยินเสียงกลองจึง ตกใจ
วิ่งเขาไปในกลางวงลอมของทัพพมา
8

○ ดวยพระราชอัจฉริยะของพระองคพระองคทรงเชิญ
พระมหาอุปราชาใหออกมาทํายุตถหัตถีดวยกัน
เนื้อเรื่อง อยางมีเกียรติเพราะยุทธหัตถีคือการทําสงครามของ
พระมหากษัตริยโดยไมมีเหลาไพรพล ทหารมาเกี่ยวของ
9

○ ทายที่สุดพระมหาอุปราชาทรงขาดคอชางพายแพแกพระนเรศวรมหาราชหลังจาก
กลับมาถึงกรุง ศรีอยุธยา สมเด็จพระนเรศวรมหาราชไดมีพระบรมราชโองการ
ลงโทษเหลาทหารที่ตามพระองคไมทัน แตพระวันรัต ไดกราบทูลขอพระราชทาน
อภัยโทษแทนทหารเหลานั้นไว
โครงเรื่อง
○ กษัตริยพระองคหนึ่งทรงทราบเกี่ยวกับการ
สิ้นพระชนมของกษัตริยเมืองคูอริจึงทรงมี
พระราชประสงคจะเขายึดบานเมืองศัตรูใน
ขณะที่บาน เมืองกําลังวุนวาย องครัชทายาท
ซึ่งขณะนั้นทรงขึ้นครองราชยเปนกษัตริย
พระองคตอมาทรงปองเมืองจากการรุกรานของ
กษัตริยดังกลาวไวไดดวยพระปรีชาสามารถทั้ง
ทาง ดานสติปญญาและการรบและสามารถ
ปกปองบานเมืองไวได
11

แกนเรื่อง
● แกนสำคัญของลิลิตตะเลงพาย
คือการยอพระเกียรติสมเด็จพระนเรศวรมหาราชในดานพระปรีชาสามารถทางการรบโดยการกระ
ทำสงครามยุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชาแหงกรุงหงสาวดีและไดรับชัยชนะอยางงดงามนอกจาก
พระปรีชาสามารถทางการรบแลว ผูแตงยังไดเนนพระปรีชาสามารถในดานการปกครองและพระ
จริยวัตรอันกอปรดวยทศพิธราชธรรม ๑๐ ประการ สังคหวัตถุ ๔ ประการ และพระจักรวรรดิวัตร
๑๒ ประการ
12

ฝายไทย
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระเอกาทศรถ
ตัวละคร (พระองคดํา)
(พระองคขาว)
13

พระเจาหงสาวดี
พระมหาอุปราชา
(นันทบุเรง)
ตัวละคร
ฝายพมา
14

ฉากทองเรื่อง

○ ฉากที่ไดปรากฏในเรื่องคือเหตุการณที่บรรยายเกี่ยวกับ
การปะทะกันของพระนเรศวร และ พระมหาอุปราชา
ระหวางการทํายุทธหัตถีทั้งสองพระองคทรงชางคูกายมา
ชนกัน สูรบไปมาอยางไมยอมกัน ซึ่งทั้งสองฝายทรงมีค
วามวองไวเปนอยาง มาก ทั้งควานชางและทั้งสองพระองค
ทรงสูกันอยางดุเดือด
15

ฉากทองเรื่อง

○ ชางทั้งสองฝงถูกตั้งชื่อใหเปนแบบดีและไมดี ฝงพระเนรศวร
เปนชางของพระอินทรสวนฝงชางของพระ มหาอุปราชาเปน
ชางของมารซึ่งบทประพันธบทนี้สามารถ แสดงความคิดของกวี
ไดอยางชัดเจนกวียังอธิบายตออีกวาทางดานคนบังคับชางของ
พระนเรศวรสามารถตานชางของ อีกฝงไดและระหวางรบไมมี
ใครยอมใครตางฝายตางเหวี่ยงอาวุธใสกันอยางไมเกรงกลัว
ซึ่งเปนการรบกันอยางตัวตอตัว
งามสองสุริยราชลํ้า เลอพิศ นาพอ 16
พางพัชรินทรไพจิตร ศึกสราง
ฤรามเริ่มรณฤทธิ์ รบราพณแลฤ
ทุกเทศทุกทิศอาง อื่นไทไปเทียม

ตัวอยาง ขุมเสียมสามรรถตาน ขุนตะเลง


ขุนตอขุนไปเยง หยอนหาว
หัสดินปนธเรศไท โททรง ยอหัตถเทิดลบองเลบง อังกุศ ไกวแฮ
คือสมิทธิมาตงค หนึ่งอาง งานเรงงามโททาว ทานสูศึกสาร
หนึ่งคือคิริเมขลมง- คลอาสนมารเอย
เศียรสายหงายงาควาง ไขวแควงแทงโถม

สองโจมสองจูจวง บํารู
สองขัตติยสองขอชู เชิดดํ้า
กระลึงกนะลอกดู ไววองนักนา
ควาญขับคชแขงคํ้า เขนเขี้ยวในสนาม
17
มาเดี่ยวเปลี่ยวอกอา อายสู ● จากบทรำพึงรำพันนี้สามารถถอดความไดวา พระมหาอุปราชาตองเสด็จ
มาเพียงผูเดียวอยาง เหงาใจแตการที่พระองคไดชมนกชมไมสามารถ
สถิตอยูเอองคดู ละหอย ทำใหพระองคเบิกบานใจขึ้นมาไดแตอยางไรก็ตามพระองคก็ยังคิดถึง
เหลาสนมและเหลากำนัล ของพระองคทั้งหลายเมื่อทอดพระเนตรไปเห็น
พิศโพนพฤกษพบู บากเบิน ใจนา ตนสลัดก็นึกถึงการที่พระองคตองจากนางทั้งหลายมาในปาเมื่อทำ
สงครามกับศัตรู
บทเจรจาหรือรําพึง
พลางคะนึงนุชนอย แนงเนื้อนวลสงวน
รําพันของ
สลัดใดใดสลัดนอง แหนงนอน ไพรฤา

เพราะเพื่อมาราญรอน เศิกไสร

สละสละสมร เสมอชื่อ ไมนา

นึกระกํานามไม แมนแมนทรวงเรียม

สายหยุดหยุดกลิ่นฟุง ยามสาย

สายบหยุดเสนหหาย หางเศรา

กี่คืนกี่วันวาย วางเทวษ ราแม

ถวิลทุกขวบคํ่าเชา หยุดไดฉันใด
18

๑. หงสาวดี เมืองหลวงของพมา
๒. อยุธยา เมืองหลวงของไทย
๓. ดานเจดียสามองค เขตแดนระหวางไทยกับพมา อําเภอสังขละบุรี
จังหวัดกาญจนบุรี
ฉากทองเรื่อง ๔. กาญจนบุรี เมืองหนาดานของไทยที่พระมหาอุปราชายกเขามาเปน
เมืองแรก
๕. แมกษัตริย ชื่อแมนํา◌้ในจังหวัดกาญจนบุรีท◌ีแมทัพนายกองเมือง
กาญจนบุรีไปซุมสอดแนมเพื่อหาขาวของขาศึก
๖. พนมทวน อําเภอหนึ่งในจังหวัดกาญจนบุรีเมื่อพระมหาอุปราชา ยก
ทัพมาถึงเกิดเวรัมภาพัดาให
ฉัตรของพระมหาอุปราชาหัก
๗. เมืองสิงห เมืองสิงหบุรี เมืองสรรค เมืองสรรคบุรี อยนชัยนาทเมือง
สุพรรณ
๘. กัมพุช, พุทไธธานี, ปาสัก เมืองของเขมร
19

การอานและพิจารณาการใชภาษาใน
วรรณคดีและวรรณกรรม
20

การสรรคํา
ลิลิตตะเลงพายเปนวรรณคดีมรดกลํ้าคาที่คนไทยควรศึกษาเพื่อใหเกิดความภาคภูมิใจในวีรกรรมของ
นักรบไทยและภูมิใจในภาษาไทยที่กวีใชถายทอดเรื่องราวไดอยางมีคุณคาทางดานวรรณศิลป ดวยการ
เลือกใชถอยคําไดอยางไพเราะ ดังนี้

การใชคําที่เหมาะแกเนื้อเรื่องและฐานะของบุคคล
จากโคลงบทนี้ กวีเลือกใชคำที่มีศักดิ์คำสูง แสดงใหเห็นภาพเดนชัดและ
ไพเราะ เชน
เบื้องนั้นนฤนาถผู สยามินทร
เบี่ยงพระมาลาผิน หอนพอง นฤนาถ หมายถึง กษัตริย
ศัสตราวุธอรินทร ฤาถูก องคเอย สยามินทร หมายถึง กษัตริยสยาม (กษัตริยอยุธยา)
เพราะพระหัตถหากปอง ปดดวยขอทรง พระมาลา หมายถึง หมวก
ศัตราวุธอรินทร หมายถึง อาวุธของขาศึก
องค หมายถึง สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
21

มีการใชสัมผัสสระและสัมผัสพยัญชนะในคําประพันธทุกบท
“.....ถับถึงโคกเผาเขา พอยามเชายังสาย หมายประมาณโมงครบ ประทบทัพรามัญ ประ
ทันทัพพมา ขับทวยกลาเขาแทง ขับทวยแขงเขาฟน สองฝายยันยืนยุทธ อุดอึงโหเอาฤกษ เอิก
อึงเหเอาชัย สาดปนไฟยะแยง แผลงปนพิษยะยุง พุงหอกใหญคะควาง ขวางหอกซัดคะไขว ไล
คะคลุกบุกบัน เงื้อดาบฟนฉะฉาด งางาวฟาดฉะฉับ.....”

สัมผัสสระ ไดแก เขา – เชา สาย - หมาย ครบ – ทบ รามัญ – ทัน พมา – กลา
แทง – แข็ง ฟน – ยัน ยุทธ – อุด ฤกษ – เอิก ชัย – ไฟ แยง – แผลง ยุง – พุง ควาง –
ขวาง ไขว – ไล บัน – ฟน ฉาด – ฟาด

สัมผัสพยัญชนะ ไดแก ถับ – ถึง โคก – เขา ยาม – ยังหมาย – ประมาณ –โมง ประ
ทบ – ทับ ประทัน – ทัพ ขับ – เขา ทวย – แทง ขับ – แขง – เขา ยัน – ยืน – ยุทธ อุด – อึง
– เอา เอิก – อึง – เอา ยะ – แยง ยะ – ยุง คะ – ควาง บุก– บัน ฉะ – ฉาด งา – งาว ฉะ – ฉับ
22

การใชคําอัพภาส

คือ การซํ้าอักษรลงหนาคําศัพท ทําใหเกิดความไพเราะ เชน

“...สาดปนไฟยะแยง แผลงปนพิษยะยุง พุงหอกใหญคะควาง ขวาง


หอกซัดคะไขวไลคะคลุกบุกบัน เงื้อดาบฟนฉะฉาด งางาวฝาดฉะ
ฉับ... ”
23

การเลนคํา
● เพื่อใหมีความลึกซึ้งและเกิดอารมณกระทบใจผูอานโดยเนนนัยของ
คําวา สายหยุด วา ดอกสายหยุดจะหยุดสงกลิ่นหอมเมื่อลวงเขาเวลา
สาย แตยามสายนั้นก็มิอาจหยุดความรัก ความเสนหา ที่มีตอนาง
อันเปนที่รักได เชน

สายหยุดหยุดกลิ่นฟุง ยามสาย
สายบหยุดเสนหหาย หางเศรา
กี่คืนกี่วันวาย วางเทวษ ราแม
ถวิลทุกขวบคํ่าเชา หยุดไดฉันใด
24

การเลียนเสียงธรรมชาติ

“....เจาพระยาไชยานุภาพ เจาพระยาปราบไตรจักร ตรับตระหนักสําเนียง


เสียงฆองกลองปนศึก อีกเอิกกองกาหล เรงคํารนเรียกมัน ชันหู ชูหางเลน
แปรนแปรแลคะไขว.”
25

การใชคําอัพภาส
คือ การซํ้าอักษรลงหนาคําศัพท ทําใหเกิดความไพเราะ เชน

“...สาดปนไฟยะแยง แผลงปนพิษยะยุง
พุงหอกใหญคะควาง ขวางหอกซัดคะไขวไลคะคลุกบุกบัน เงื้อ
ดาบฟนฉะฉาด งางาวฝาดฉะฉับ...”
26

การเรียบเรียงคํา
27

มีการเรียงขอความที่บรรจุสาระสําคัญไวทายสุด

เบื้องนั้นนฤนาถผู สยามินทร

เบี่ยงพระมาลาผิน หอนพอง

ศัสตราวุธอรินทร ฤถูก องคเอย

เพราะพระหัตถหากปอง ปดดวยขอทรง
28

มีการเรียงประโยคใหเนื้อหาเขมขนขึ้นไปตามลําดับ
ดุจขั้นบันได จนถึงขั้นสุดทาย ซึ่งสําคัญที่สุด
อุรารานราวแยก ยลสยบ

เอนพระองคลงทบ ทาวดิ้น

เหนือคอคชซอนซบ สังเวช

วายชีวาตมสุดสิ้น สูฟาเสวยสวรรค
29

มีการเรียงถอยคําใหเปนประโยคคําถามเชิงวาทศิลป

อาไทภูธเรศหลา แหลงตะเลง โลกฤ

เผยพระยศยินเยง ยานแกลว

สิบทิศทั่วลือละเวง หวั่นเดช ทานนา

ไปเริ่มรอฤทธิ์แผว เผือดกลาแกลนหนี
30

พรรณนาโวหาร
การใชโวหาร ● ผูแตงใชคําพรรณนาในการสูรบทําใหผูอานเห็นภาพชาง
ทรงของทั้งสองพระองคตางสะบัดเหวี่ยงกันไปมาและยังมีการใช
อาวุธและผูคนลมตาย เชน

พลอยพล้ำเพรียกถาทาน ในรณ
บัดราชฟาดแสงพล พายฟอน
พระเดชพระแสดงดล เผด็จคู เข็ญแฮ
ถนัดพระอังสาขอน ขาดดาวโดยขวา
31

การใชโวหารเปรียบเทียบ หรืออุปมาโวหาร
โวหาร พระคุณตวงเพียบพื้น ภูวดล

เต็มตรลอดแหลงบน บอนใต

พระเกิดพระกอนชนม ชุบชีพ มานา

เกรงบทันลูกได กลับเตาตอบสนอง

บทประพันธขางตนมีการใชคำอุปมา เปรียบเทียบพระคุณของพระเจาหงสาวดีเปนพื้นแผนดิน
32

บรรยายโวหาร
การใช วรรณคดีเรื่องลิลิตตะเลงพายมีการใชบรรยายโวหาร ในการ
อธิบาย และเลาเรื่องราวเหตุการณทางประวัติศาสตรเกี่ยวกับ
การทำสงครามยุทธหัตถีของพระมหากษัตริยเพื่อใหผูอานไดรับ
ความรูและความเขาใจในเรื่องนั้นๆอยางละเอียด อีกทั้งยังใชคำ
ที่สื่อความหมายตรงไปตรงมาสามารถเขาใจไดชัดเจน
คุณคาที่ไดรับ
34

มาเดียวเปลี่ยวอกอา อายสู
คุณคาทางอารมณ สถิตอยูเอองคดู ละหอย
พิศโพนพฤกษพบู บานเบิก ใจนา
พลางคะนึงนุชนอย แนงเนื้อนวลสงวน

จากตัวอยางบทความขางตนกวีแสดงใหเห็นถึงอารมณรักและอาลัยของ
พระมหาอุปราชาที่มีตอพระสนมมีสวนทําใหผูอานรูสึกเห็นพระมหาอุป
ราชาที่ใจจริงไมไดอยากยกทักมาตอสูกับไทยแตเหตุผลเปนเพราะ ไม
สามารถขัดคาสั่งพระเจาหงสาวดีนันทบุเรง ไมได
35

ลิลิตตะเลงพายมีคุณคาดานประวัติศาสตรในฐานะวรรณคดีเฉลิมพระเกียรติเนื้อหาในวรรณคดีเปน
เหตุการณในประวัติศาสตรที่มีการบัน ทึกในพระราชพงศาวกรุงศรีอยุธยาฉบับพันจันทนุมาศ เลาถึง
เหตุการณสงครามยุทธหัตถีและชัยชนะของไทย
คุณคาดานคุณธรรม
หวังเริ่มคุณเกียรติกอง กลางรงค
ยืนพระยศอยูคง คูหลา
สงครามกษัตริยทรง ภพแผน สอง
สองราชรอนฤทธิ์รา เรื่องรูสรรเสริญ

นอกจากนี้วรรณคดีเรื่องลิลิตตะเองพายยังเปนตัวอยางที่ดีที่จะปลุก
กระแสความรักชาติใหแกคนในสังคมใหคนในสังคมรักกันมีการนําวรรณคดีเรื่องนี้
ไปสอนบรรดาทหารและเยาวชนใหเกิดความภาคภูมิใจใน วีรกรรมของบรรพบุรุษ
36
เปนวรรณคดีเฉลิมพระเกียรติที่ดีเดนทั้ง เนื้อหา สำนวนโวหาร และกลวิธีการแตงกวีไดนำขอเท็จจริง
ทางประวัติศาสตรมาผสมผสานกับเนื้อกาที่สรางสรรคจากจินตนาการมีการดำเนินเรื่องที่สะเทือนอารมณและเรา
ใจผูอานมีการเลือกสรรถอยคำอยางประณีตและเหมาะสม เชนเหตุการณตอนทำศึกสงครามมีการใชคำที่แสดง
ความฮึกเหิมและ กาวหาญในการตอสูทำใหผูอานรูสึกตื่นเตนและเราใจ

คุณคาดานวรรณศิลป

สองโจมสองจูจวง บำรู
สองขัตติยสองขอชู เชิดด้ำ
กระลึงกระลอกดู ไววอง นักนา
ควาญขับคชแขงคา เขนเขี้ยวในสนาม
37
เปนวรรณคดีที่มีคุณคาทางประวัติศาสตรกวีไมไดมีการบิดเบือน
ขอเท็จจริงจากพงศาวดาร เชน เสนทางเดินทัก หรือ ไพรพลใน กองทัพ
ไมใหคลาดเคลื่อนไปจากเดิมเนื้อหาบางสวนของลิลิตตะเองพายก็ได
แสดงใหเห็นถึงวาทศิลปของผูนําตัวอยางเชนตอนที่สมเด็จพระนเรศวร
และสมเด็จพระเอกาทศรถตกเขาไปในวงลอมขาศึกทรงสามารถแกไข
คุณคาดานสังคม สถานการณดวยการกลาวเชิญพระมหาอุปราชใหเสด็จออกมาทํา ศึก
ยุทธหัตถีซึ่งเปนธรรมเนียมการละเลนของกษัตริยชาตินักรบสมเด็จพระ
นเรศวรมหาราชทรงกลาวเชิญพระมหาอุปราชดวยความนอบนอม โดย
ใชคําเรียกวา”พระพี่”ทําใหเห็นวาการพูดกับศัตรูก็สามารถใชคํา พูดที่
ออนหวานและนุมนวลได

พระพี่พระผูผาน ภพอุตดมเอย
ไปชอบเชษฐยืนหยุด รมไม
เชิญราชรวมคชยุทธิ์ เผยยอเกียรติ ไวแฮ
สืบกวาสองเราไสร สุดสิ้นมี ฯ
38

○ คุณคาดานคุณธรรม
คุณคาที่ไดรับ ○ การเปนคนรูจักการวางแผน
○ การเปนคนชางสังเกตและมีไหวพริบ
○ ความซื่อสัตย
○ การเปนคนรูจกความกตัญูกตเวที
39

พระราชบิดา โดยพระองคไดทรงถายทออดความนึกคิด และรำพึงกับตัวเอง ดั่งโคลงสี่สุภาพที่

ตัวอยาง กลาวไววา

การเปนคนรูจกความกตัญูกตเวที ณรงคนเรศดาว ดัสกร


ใครจักอาจออกรอน รบสู
เสียดายแผนดินมอญ พลันมอด มวยแฮ
\เหตูบมีมือผู อื่นตานทานเข็ญ

ซึ่งเมื่อแปลจะมีความหมายวาเมื่อยามที่สงครามขึ้นใครเลาจะ ออกไปรบแทนทานพอจากโคลงนี้ไม
ไดแสดงใหเราเห็นถึงความกตัญูที่มีตอพระราชบิดาของพระมหาอุปราชาเพียงอยางเดียว แตยัง
มีความกตัญู ความจงรัก ภักดี ตอชาติบานเมืองอีก
○ คุณคาดานวาทศิลปในการพูด
40

จากเรื่องนี้มีบุคคลถึงสองทานดวยกันที่แสดงใหเราเห็นถึงพระปรีชาสามารถทางดานการมีวาทศิลปใน
การพูดทานแรกคือ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในโคลงสี่สุภาพที่วา

คุณคาที่ไดรับ พระพี่พระผูผาน ภพอุต-ดมเอย


ไปชอบเชษฐยืนหยุด รมไม
เชิญการรวมคชยุทธ เผยอเกียรติ ไวแฮ
สืบกวาสองเราไซร สุดสิ้นมี

เราจะเห็นวาสมเด็จพระนเรศวรทรงใชวาจาที่ไพเราะมี
ความสุภาพนาฟงตอพระมหาอุปราชาซึ่งเปนพี่เมื่อครั้งที่
สมเด็จพระนเรศวรทรงประทับอยูทางฝายพมา

You might also like