You are on page 1of 38

สามัคคีเภทคําฉันท์

เสนอ
อ.พนมศักดิ มนูญปรัชญาภรณ์
รายชือสมาชิก
รมิตา เฉลิมชุติเดช ชันมัธยมศึกษาปที ๕ เลขที ๒

ธนกร มาลีสุทธิ ชันมัธยมศึกษาปที ๕ เลขที ๔

ปุณฑรก ทยาวทิต ชันมัธยมศึกษาปที ๕ เลขที ๘

อิงครัต วาจาพัฒนา ชันมัธยมศึกษาปที ๕ เลขที ๙


ผู้แต่ง
นายชิต บุรทัต เกิดเมือ พ.ศ. ๒๔๕๕ ได้เข้าเรยนที
โรงเรยนวัดราชบพิตร และโรงเรยนวัดสุทัศน์ เมือนายชิต
อายุ ๑๕ ปได้บวชเปนสามเณรทีวัดราชบพิตร และวัด
บวรนิเวศ นายชิตมีความสนใจในการอ่านเขียน และมีค
วามรู้ทีเชียวชาญในด้านภาษาไทย มีความรู้ภาษาบาลี
และ สามารถใช้ภาษาอังกฤษได้ในระดับหนึง นายชิตเข้า
ร่วมแต่งฉันท์ในงานราชพิธีฉัตรมงคล รัชการที6 เมือ
อายุเพียง ๒๒ ป
บทนํา
ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที ๖ ได้
เกิดวกฤตการณ์ต่างๆ มากมาย เช่น กบฏ ร.ศ. ๑๓๐ และ
สงครามโลกครังที ๑ เปนต้น ประกอบกับการพัฒนาทางด้านการ
ศึกษาของชาวไทย ทําให้เกิดความตืนตัวทางความคิด และความ
คิดเห็นทีแตกต่างกันในการดําเนินบ้านเมืองเปนหลายฝาย
จึงทําให้ความมันคงของบ้านเมืองสันคลอน เนืองจากภาวะดังกล่าวจึง
ทําให้กวต่างๆได้แต่งวรรณคดีปลุกใจให้เกิด ความรักชาติ และความ
สามัคคี สามัคคีเภทคําฉันท์ ซึงเปนเรองทีสอดคล้องกับสถานการณ์
ของบ้านเมืองทีเกิดขึนในขณะนัน จึงถูกแต่งขึนเพือชีความสําคัญของ
การรวมเปนนาหนึงใจเดียวกัน เพือเสรมสร้างความมันคงและความ
ปลอดภัยของบ้านเมืองให้สงบสุข
เนือเรองย่อ
พระเจ้าอชาตศัตรูแห่งแคว้นมคธ มีพระประสงค์ในการขยายอาณาจักรให้กว้างขวางกว่าเดิม
แต่ทว่ามีแคว้นวัชชีของเหล่ากษัตรย์ลิจฉว ทีเปนแคว้นทีใหญ่และเจรญกว่าแคว้นใดในสมัยนัน ผู้ได้
สามารถครอบครองแคว้นนีได้ ย่อมแสดงถึงความยิงใหญ่ของกษัตรย์องค์นัน การทําสงครามกับแคว้นไม่
ใช่เรองง่าย เนืองจากเหล่ากษัตรย์แห่งแคว้นวัชชีมีความสามัคคีสูง จึงปราบได้ยาก วัสสการพราหมณ์
ปุโรหิตทีปรกษาของพระเจ้าอชาตศัตรูกราบทูลให้ใช้อุบายในการตีแคว้นวัชชีโดย อาสาไปเปนไส้ศึกใน
แคว้นวัชชี แต่พระองค์ทรงกรวจึงเนรเทศวัสสพราหมณ์ออกไป วัสสการพราหมณ์มุ่งหน้าไปเมือง
เวสาลีเพือทําตามแผนของตนให้สําหรับ ในตลอดระยะเวลา ๓ ป วัสสการพราหมณ์สร้างความแคลงใจใน
หมู่พระกุมารจนลามไปถึงเหล่ากษัตรย์ทังหลาย เมือตีกลองประชุมก็ไม่มีวแววว่ากษัตรย์องค์ใดมาเข้า
ประชุม วัสสการพราหมณ์จึงลอบส่งข่าวไปทูลพรเจ้าอชาตศัตรู จนทําให้ยกทัพมาตีได้สําเร็จ
ตัวละคร
เหล่ากษัตรย์ลิจฉวแห่งแคว้นวัชชี

เคยเปนตัวอย่างของความสามัคคี และนับถือ
อปรหานิยธรรม โดนเน้นสามัคคีธรรมเปนหลัก ขาด
วจารณญาณและไม่ยึดถือหลักเหตุผลมี
ความระแวงและทะนงตน
วัสสการพราหมณ์จากแคว้นมคธ

เปนผู้ทีมีความฉลาดและสติปญญาทีดี มีความ
สามารถทางวาทศิลปและเล่ห์เหลียมทางวาจา สามารถ
ยุยงคนให้ไว้ใจได้เพือพลิกแพลงสถานการณ์และทีสําคัญ
คือมีความจงรักภักดีต่อพระเจ้าอชาตศัตรูและบ้านเมือง
ของตนเปนอย่างมาก
พระเจ้าอชาตศัตรูแห่งแคว้นมคธ

เปนพระราชาปกครองอยู่เมือง
ราชคฤห์แห่งแคว้นมคธ มีวัสสการ
พราหมณ์เปนทีปรกษาให้ โดยมีความ
คิดทีจะขยายอาณาจักรไปยังแคว้น
วัชชี มีความรอบคอบและมีเมตตา
คอยทํานุบํารุงเมืองให้เจรญรุ่งเรอง
จนประชาชนมีความสงบสุข
ฉากท้องเรอง
เปนเรองทีได้นํามาจากประเทศอินเดียจึงมีการแต่งบทชมต่าง
เปนการพรรณาความงดงาม เช่น บทชมเมืองราชคฤห์แห่งแคว้นมคธของพระเจ้าอชาตศัตรู

อําพนพระมนทิรพระราช สุนิวาสน์โรหาร
อัพภันตรไพจิตรและพา หิรภาคก็พึงชม
เล่ห์เลือนชะลอดุสิตฐา นมหาพิมานรมย์
มารังสฤษฏิพิศนิยม ผิจะเทียมก็เทียบทัน
สามยอดตลอดระยะระยับ วะวะวับสลับพรรณ
ช่อฟาตระการกลจะหยัน จะเยาะยัวทิฆัมพร
บทเจรจาหรอรําพึงรําพัน
กล่าวถึงการแกล้งต่อว่าของพระเจ้าอชาตศัตรูทีมีใส่วัสสการพราหมณ์ในขณะทีท้วงติงเรองการ
ออกศึก ซึงมี การกระแทกกระทันแสดงถึงอารมณ์โกรธ

“เอออุเหม่นะมึงชิช่างกระไร
ทุทาสสถุลฉะนีไฉน ก็มาเปน
ศึก บ ถึงและมึงก็ยังมิเห็น
จะน้อยจะมากจะยากจะเย็น ประการใด
อวดฉลาดและคาดแถลงเพราะใจ
ขยาดขยันมิทันอะไร ก็หมินกู”
แก่นเรอง
- การแตกความสามัคคีของหมู่คณะซึงนําไปสู่หายนะ

เหล่าโอรสของกษัตรย์ลิจฉวถูกยุแยงให้แตกกันโดยวัสสการพราหมณ์ ฝงพระเจ้า อชาตศัตรูจึงใช้


โอกาสนีในการโจมตีแคว้นวัชชี

- การรู้จักใช้สติปญญาเพือเอาชนะศัตรู โดยไม่ต้องใช้กําลัง

พระเจ้าอชาตศัตรูใช้ไส้ศึกนันคือ วัสสการพราหมณ์เข้าไปยุแยงเหล่าโอรสของกษัตรย์ ลิจฉวให้


แตกสามัคคีกัน ทําให้พระเจ้าอชาตศัตรูมีโอกาสบุกโจมตีแคว้นวัชชีได้ง่ายมากยิงขึน ซึง ง่ายกว่า
การไปบุกโจมตีแคว้นวัชชีซึงๆหน้า
แก่นเรอง
- การรู้จักเลือกใช้บุคคลให้เหมาะสมกับงานทีได้รับ จะทําให้งานสําเร็จด้วยดี

พระเจ้าอชาตศัตรูเลือกให้วัสสการพราหมณ์เปนผู้ไปยุแยงเหล่าโอรสให้แตกคอกัน ซึง วัสสการ


พราหมณ์นันเปนพราหมณ์ทีฉลาด รอบรู้ศิลปศาสตร์ และมีวาทศิลปดี

- การเอาความคิดของตนเปนใหญ่ และคิดว่าตนดีกว่าผู้อืนเสมอ ย่อมทําให้เกิด ความเสียหายต่อ


ส่วนรวม

เหล่ากษัตรย์ต่างพากันโกรธในสิงทีวัสสการณ์พราหมณ์ยุแยง โดยไม่คํานึงถึงผลทีจะเกิด ในภาย


ภาคหน้า อันนํามาสู่การถูกโจมตี
การอ่านพิจารณาการใช้
ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม
การสรรคํา
ใช้คําง่ายๆ ในการเล่าเรอง

กวใช้คําทีเรยบง่าย ทําให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจได้อย่างไม่ยากเย็น เเละทําให้ดําเนินเรองได้รวดเร็ว ดังเช่น

ราชาลิจฉว ไปมีสักองค์
ทีทรงจํานง เพือจักเสด็จไป
ต่างองค์ดํารัส เรยกนัดทําไม
ใครเปนใหญ่ใคร กล้าหาญเห็นดี
เชิญเทอญท่านต้อง ขัดข้องข้อไหน
ปฤกษาปราไส ตามเรองตามที
แต่ส่วนเราใช่ เปนใหญ่แลมี
ใจอย่างผู้ภี รุกห่อนอาจหาญ
ใช้คําง่ายๆ ในการบรรยายและพรรณนาดัวละคร

นอกจากการใช้คําทีเรยงง่ายในการเล่าเรองราวต่างๆเเล้ว กวยังสามารถบรรยายสถานการณ์เเละอธิบาย
ตัวละครให้เห็นภาพได้กระชับเเละชัดเจน ดังเช่น

ข่าวเศิกเอิกอึง ทราบถึงบัดดล
ในหมู่ผู้คน ชาวเวสาลี
แทบทุกถินหมด ชนบทบูร
อกสันขวัญหนี หวาดกลัวทัวไป
ตืนตาหน้าเผือด หมดเลีอดสันกาย
หลบลีหนีตาย วุ่นหวันพรันใจ
ซุกครอกซอกครัว ซ่อนตัวแตกไภย
เข้าดงพงไพร ทิงย่านบ้านตน
เลือกใช้คําทีเหมาะสมแก่ลักษณะของคําประพันธ์

นายชิต บุรทัตเลือกใช้ฉันท์ในการเล่า
เรองราวของวัสสการพราหมณ์เเละตัวละครต่างๆใน
เรอง โดยเลือกคําได้อย่างถูกต้องตามฉันทลักษณ์
ประเภทต่างๆ มีการใช้คําครุเเละลหุซึงเปนลักษณะ
สําคัญของฉันท์เเละยังมีคําบาล ี สันสกฤตปรากฏให้เห็น
อยู่มากตามลักษณะทัวไปของฉันท์
เลือกใช้ประเภทของฉันท์ตามอารมณ์ตอนนันๆ

วสันตดิลกฉันท์ ๑๔
กวเลือกใช้วสันตดิลกฉันท์ ๑๔ ซึงมีลีลานุ่มนวลในการเเต่งบทชมต่างๆ เพือพรรณนาภาพอัน
งดงาม เช่น บทชมความงามของเมืองราชคฤห์ในเเคว้นมคธของพระเจ้าอชาตศัตรู ดังนี

อีทิสังฉันท์ ๒๐
กวใช้อีทิสังฉันท์ ๒๐ ซึงมีลีลากระแทกกระทันแสดงอารมณ์โกรธ เช่น ตอนทีพระเจ้าอชาตศัตรู
เเสร้งบรภาษวัสสการพรามหม์ เมือเขาทัดทานเรองการศึก

อุปฏฐิตาฉันท์ ๑๑
ใช้ตอนกษัตรย์ลิจฉวแตกสามัคคีวัสสการพราหมณ์ส่งข่าวทูลพระเจ้าอชาตศัตรู
เลือกใช้ประเภทของฉันท์ตามอารมณ์ตอนนันๆ

วชชุมมาลา ฉันท์ ๘
ฉันท์นีมีลีลากระชัน คึกคัก ปรากฏเมือพระเจ้าอชาตศัตรูยกทัพมาตีแคว้นวัชชี

ภุชงคประยาดฉันท์ ๑๒
ฉันท์นีมีลีลางดงาม ปรากฏเมือวัสสการพราหมณ์เรมทําอุบายทําลายสามัคคี

วชชุมมาลาฉันท์ ๘
ฉันท์นีมีลีลากระชัน คึกคัก ปรากฏเมือพระเจ้าอชาตศัตรูยกทัพมาตีแคว้นวัชชี
เลือกใช้คําโดยคํานึงถึงเสียง

1. เล่นเสียงสัมผัสสระ

มีการเล่นเสียงสระ เช่น “ประมาณ - กาล” “อนุกรม -นิยม” ดังตัวอย่างเช่น


ล่วงลุประมาณ กาลอนุกรม
หนึง ณ นิยม ท่านทวชงค์
เลือกใช้คําโดยคํานึงถึงเสียง

2. เล่นเสียงสัมผัสพยัญชนะ

ในสามัคคีเภทคําฉันท์มีการเล่นเสียงสัมผัสพยัณชนะอย่างไพเราะ เช่น “คะเนกล – คะนึงการ” “ระวังเหือด –


ระแวงหาย” ดังตัวอย่าง
ทิชงค์ชาติฉลาดยล คเนกลคนึงการ
กษัตรย์ลิจฉววาร ระวังเหือดระแวงหาย
เลือกใช้คําโดยคํานึงถึงเสียง

3. เล่นเสียงหนักเบา

ในการเเต่งกาพย์สุรางคนางค์ 28 กวผู้ประพันธ์ได้เพิมลักษณะบังคับ ใช้คําครุสลับ


กับคําลหุให้มีเสียงสันยาวเปนจังหวะคล้ายฉันท์

สะพรบสะพรัง ณ หน้าและหลัง
ณ ซ้ายและขวา ละหมู่ละหมวด
ก็ตรวจก็ตรา ประมวญกะมา
ก็มากประมาณ
การดัดเเปลงฉันท์

นายชิต บุรทัตได้เพิมสัมผัสบังคับคําสุดท้ายของวรรคเเรกกับคําที 3 ของวรรคสองใน


ฉันท์ 11 เเละฉันท์ 12 ทําให้มีเสียงสัมผัสไฟเราะขึนเเละเปนทีนิยมเเต่งมาจนถึงปจจุบัน

เฉยดู บ รู้สึก และมินึกจะเกรงแกลน


ฤๅคิดจะตอบแทน รณทัพระงับภัย
การเรยบเรยงคํา

เรยงคํา วลี หรอประโยคทีมีความสําคัญไว้ตอนท้ายของบท

จะเห็นได้ว่าตอนช่วงกลางๆของเรองเมือขณะทีวัสสการพราหมณ์ได้
กําลังยุยงให้พระโอรสของเหล่ากษัตรย์ผิดคอและแตกสามัคคีกัน ผู้แต่งได้เลือกสรร
คํามาและได้เรยบเรยงทําให้สามารถเข้าใจใจความสําคัญได้จาก การอ่านเเค่ประโยคสุดท้าย เช่น

ทวชแถลงว่า พระกุมารโน้นขาน
ยุบลกะตูกาล เฉพาะอยู่กะกันสอง
กุมารพระองค์นัน้ ธ มิทันจะไต่ตรอง
ก็เชือ ณ คําสอน พฤฒิครูและวู่วาม

สังเกตได้ว่าถึงอ่านเพียงประโยคสุดท้ายของบท ก็ทําให้สามารถเข้าใจเน้ือหาของกลอนได้
เรยบเรยงคํา วลี หรอประโยคทีมีความสําคัญเท่าๆ กัน เคียงขนานกันไป

ต่างก็ตระหนก มนอกเต้น
ตืน บ มิเว้น ตะละผู้คน
ท่ัวบุรคา มจลาจล
เสียงอลวน อลเวงไป

จากตัวอย่างสามารถเห็นได้ว่าทุกๆคําในประโยคในกลอนข้างต้นนีมีความสําคัญเท่าๆ
กัน ซึงแสดงให้เห็นถึงความวุ่นวายความต่ืนตระหนกของประชาชนเม่ือพระเจ้าอชาต
ศัตรูยกทัพมาตียังแคว้นวัชชี
เรยบเรยงประโยคให้เนือหาเข้มข้นขึนไปตามลําดับดุจขันบันไดจนถึงขันสุดท้ายทีสําคัญทีสุด

ต่างทรงสําแดง ความแขงอํานาจ
สามัคคีขาด แก่งแย่งโดยมาน
ภูมิศลิจฉว วัชชีรัฐบาล
บ่ ชุมนุมสมาน แม้แต่สักองค์ ฯ

จากตัวอย่างสามารถเห็นได้ว่าเน้ือเรองค่อยๆมีความลําดับความสําคัญขึนเรอยๆจนไป
สําคัญท่ีสุดในตอนจบซึงในกลอนข้างต้นนีเราสามารถเห็นได้ว่าเหล่ากษัตรย์ลิจฉวต่างคนต่างแสดงอํานาจข
องตนหลังจากทีความสามัคคีได้ หมดไปซึงสิงเหล่าน้ีทําให้สุดท้ายแล้วไม่มีแม้ความร่วมมือกันอีกต่อไป ซึง
ความร่วมมือกันระหว่างกษัตรย์เหล่าน้ีเปน ปจจัยสําคัญให้แคว้นวัชชีสามารถีแตกได้ยาก
การใช้โวหาร
๑. อุปมา
- การเปรยบเทียบสิงหนึงเหมือนกับอีกสิงหนึง
- ดุจ เหมือน คล้าย ปานประหนึง เปนคําเชือม
เช่น

“แม้มากกิงไม้ ผิวใครจะใคร่ลอง
มัดกํากระนันปอง พลหักก็เต็มทน”

“กลกะกากะหวาดขมังธนู
บห่อนจะเห็นธวัชรปู สิล่าถอย”
“เมตตาทยาลุศุภกรรม อุปถัมภการุณย์
สรรเสรญเจรญพระคุณสุน ทรพูนพิบูลงาม
เปรยบปานมหรรณพนที ทะนุทีประทังความ
ร้อนกายกระหายอุทกยาม นรหากประสบเห็น
เอิบอิมกระหยิมหทยคราว ระอุผ่าวก็ผ่อนเย็น
ยังอุณหมุญจนะและเปน สุขปติดีใจ”

“เมืองท้าวสิเทียบทิพเสมอ ภพเลอสุราลัย
เมืองท้าวแหละสมบุรณไพ บุลมวลประการมา”
๒. อุปลักษณ์
- การเปรยบเทียบโดยนัย
เช่น

“หิงห้อยสิแข่งสุรยะไหน จะมิน่าชิวาลาญ”

“ลูกข่างประดาทา รกกาลขว้างไป

หมุนเล่นสนุกไฉน ดุจกันฉะนันหนอ”
๓. บุคคลวัต
เปนการสมมุติสิงต่างๆ ให้เหมือนมนุษย์

เช่น
“วัชชีผู้มีผอง สดับกลองกระหึมขาน

ทุกไท้ไปเอาภาร ณ กิจเพือเสด็จไป”
๔. อติพจน์
- เปนการกล่าวผิดไปจากทีเปนจรง
เช่น

“ตืนตาหน้าเผือด หมดเลือดสันกาย

หลบลีหนีตาย วุ่นหวันพรันใจ

ซุกครอกซอกครัว ซ่อนตัวแตกภัย

เข้าดงพงไพร ทิงย่านบ้านตน”
๕. นามนัย
- เปนการใช้ชือส่วนประกอบทีเด่นของสิงหนึงแทนสิงนันๆทังหมด
เช่น

“แม้มากผิกิงไม้ ผิวใครจะใคร่ลอง

มัดกํากระนันปอง พลหักก็เต็มทน

เหล่าไหนผิไมตร สละลี ณ หมู่ตน

กิจใดจะขวายขวน บ มิพร้อมมิเพรยงกัน”
การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรอ
คุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม
คุณค่าด้านอารมณ์
จากการอ่านวรรณคดีเภทคําฉันท์ผู้อ่านสามารถรู้สึกได้ถึงอารมณ์ต่างๆทีกวพยายามจะแสดงออกมาโดยการ
เขียน กวสามารถทําให้ผู้อ่านมีความรู้สึกคล้อยตามบทต่างๆของเรอง ตัวอย่างเช่น ทําให้ผู้อ่านรู้สึกฮึกเหิม
สงสาร และกล้าหาญ

น้อมคุณพระคเณศวเศษศิลปธร

ฃเวทางคบวร กว

เปนเจ้าแห่งวทยาวราภรณศร

สุนทรสุวาที วธาน

จากตัวอย่างข้างตนถูกนํามาจากฉากที แคว้นคธจีดทัพ เพือไปตีเมืองเวสาลี กวสามารถทําให้ผู้อ่านรู้สึกหึกกล้า


หาญแล้วคล้อยตามทําให้รู้สึกได้ถึงอารมณ์ของคนทีจะไปรบจรงๆ
คุณค่าด้านคุณธรรม
ในเรองสามัคคีเภทคําฉันท์ผู้อ่านสามารถเห็นถึงคุณค่าด้านคุณธรรมได้จากหลายๆฉากภายในตัวเรอง
ตัวอย่างแรกทีสามารถเห็นได้ชัดเจนคือความจงรักภักดีของวัสสการพราหมณ์ท่ีมีต่อพระเจ้าอชาตศัตรู
และบ้านเมืองเนืองจากวัสสการพราหมณ์ยอมเสียสละและยอมลําบาก ในการเข้าไปอยู่ในหมู่ของศัตรูเพือ
ประโยชน์ของบ้านเมืองของตนโดย ใช้ความอดทนในการเก็บความลับ เพือทีจะทําให้แผนการในการ
ทําศึกลุล่วงได้ด้วยดี ผู้อ่านยังได้รับรู้ว่าคนเราไม่ควรตัดสินใจเชือผู้อืนง่ายๆ มิฉะนันจะเปนเหมือนเมือง
เวสาลีซึงถูกตีแตกเนืองมาจากการทีพระกุมารหลงเชือคําอุบายจากวัสสการพราหมณ์นอกจากนีผู้อ่านยัง
สามารถเห็นได้ชัดเจนจากการแตกแยกในด้านควาสามัคคีของคนในเมือเวสาลี ซึงเน้นให้เห็นถึงโทษของ
การแตกความสามัคคี
คุณค่าด้านอืนๆ
คุณค่าด้านอืนๆทีสามารถเห็นได้จาก วรรณคดีเภทคําฉันท์มีหลักๆ ๒ ด้านดังนี คุณค่าทางปญญา และ คุณค่าด้าน
การใช้ภาษา ในวรรณคดีเภทคําฉันท์เราจะเห็นได้ว่า วัสสาการพราหมณ์ใช้ปญญาทีตนเองมีในการทําให้คนใน
เมืองเวสาลี มีความแคลงใจซึงกันและกัน จึงทําให้ฝายของพระกุมารแตกสามัคคีและเกิดความขุ่นเคืองกันเอง จน
สุดท้ายวัสสาการพราหมณ์ก็สามารถตีเมืองเวสาลีได้โดยอย่างง่ายดาย จากตัวอย่างนีแสดงให้เห็นถึงคุณค่าทาง
ด้านสติปญญาทีปรากฏอยู่ในเรองวรรณคดีสมามัคคีเภทคําฉันท์ โดยการใช้สติปญญาตรตรองแก้ไขปญหาต่างๆ
โดยไม่ใช้กําลังในการเข้าสู้ ในด้านคุณค่าการใช้ภาษา สามารถเห็นได้จากการทีกวใช้ฉันทลักษณ์ได้อย่างงดงาม
เหมาะสม โดยเลือกฉันท์ชนิดต่างๆมาใช้สลับกันตามความเหมาะสมกับเนือเรอง จึงเกิดความไพเราะสละสลวยยก
ตัวอย่างเช่นการทีกวเพิมสัมผัสบังคับคําสุดท้ายของวรรคแรกกับคําที๓ ของวรรคที๒ ในฉันท์ที ๑๒ ซึงสัมผัสแห
น่งนีไม่เคยมีผู้ได้ใช่มาก่อนทําให้ ฉันท์กลุ่มนีมีความไพเราะขึน
Thank you

You might also like